Uploaded by phrinn789

การตรวจชีพจร

advertisement
การตรวจชีพจร
สถาบันการแพทย์ไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2554
ISBN 978-616-11-0831-1
การตรวจชีพจร
ที่ปรึกษา
แพทย์หญิงวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ
บรรณาธิการ
แพทย์จีนจรัส ตั้งอร่ามวงศ์
เภสัชกรหญิงเย็นจิตร เตชะดารงสิน
เจ้าของลิขสิทธิ์ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ภาพประกอบ รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย โสธนะพันธุ์
ออกแบบปก
นายถิรเดช ธเปียสวน
พิมพ์ครั้งที่ 1
สิงหาคม 2554 จานวน 1,000 เล่ม
พิมพ์ที่
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด
79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
ข้อมูลบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
จรัส ตั้งอร่ามวงศ์, เย็นจิตร เตชะดารงสิน (บรรณาธิการ)
การตรวจชีพจร—กรุงเทพมหานคร:
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, 2554. 62 หน้า ภาพประกอบ
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
ISBN 978-616-11-0831-1
ก
คำนำ
การตรวจชีพจร เป็นหนึ่งในวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคของการแพทย์
แผนจีนซึ่งประกอบด้วย 4 วิธีได้แก่ การถาม การฟัง การมองดู และการ
คลาหรือการจับชีพจร ซึ่งถือเป็นวิธีการหลักในการสืบหาเหตุแห่งการ
เกิดโรคเพื่อหาวิธีการรักษาที่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วยแต่ละคนต่อไป
การตรวจชีพจรถือได้ว่าเป็นทั้งศาสตร์และศิลปะ เพราะนอกจาก
จะต้องอาศัยความรู้และสามารถจดจาจังหวะการเต้นของชีพจรแต่ละ
ประเภทแล้ว ยังจาเป็นต้องฝึกทักษะในการตรวจจับและแยกประเภทของ
จังหวะชีพจรแต่ละชนิดให้ได้อย่างแม่นยา เพื่อผลการวินิจฉัยสาเหตุการ
เกิดโรคตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนที่ถูกต้อง ซึ่งทักษะเหล่านี้จาเป็นต้อง
ใช้เวลาสร้างสมประสบการณ์ และยังต้องได้รับการชี้แนะจากแพทย์จีน
อาวุโสที่มีความเชี่ยวชาญคอยให้คาแนะนาเพื่อความถูกต้องประกอบด้วย
ดังนั้นจึงมักหาแพทย์ที่มีชานาญในการตรวจจับชีพจรได้ไม่มาก และแพทย์
เหล่านี้มักเป็นผู้ที่มีความสามารถในการรักษาผู้ป่วยได้เหมือนปาฎิหาริย์
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เล็งเห็น
ถึงความสาคัญของศาสตร์การตรวจชีพจรที่จะมีผลต่อการวินิจฉัยแยก
กลุ่มอาการโรคตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนอย่างแม่นยา จึงได้จัดทา
หนังสือ “การตรวจชีพจร” โดยให้เป็นพื้นฐานความรู้แก่แพทย์จีน และ
แพทย์แผนปัจจุบนั ทีส่ นใจในศาสตร์ดังกล่าวไปใช้ในการรักษาอาการป่วย
ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป โดยได้รับความกรุณาจาก
แพทย์จีนจรัส ตั้งอร่ามวงศ์ ที่ได้เรียบเรียงเนื้อหา และจัดหาภาพประกอบ
ข
เพื่อง่ายในการท าความเข้าใจกั บ จัง หวะชีพ จรต่าง ๆ ซึ่ง กรมพัฒ นา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกต้องขอขอบพระคุณ แพทย์
จีนจรัส ตั้งอร่ามวงศ์ ไว้อย่างสูงมา ณ ที่นี้ด้วย กรมพัฒนาการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ “การตรวจ
ชีพจร” เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการนาไปใช้เพื่อการศึกษาและฝึกทักษะ
สาหรับแพทย์และผู้สนใจในศาสตร์การแพทย์แผนจีนอย่างกว้างขวาง
ต่อไป
(แพทย์หญิงวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ)
อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ค
สารบัญ
คานา
การตรวจชีพจรของแพทย์แผนจีน
ตาแหน่งของชีพจร
วิธีการตรวจวินิจฉัยโรคโดยการตรวจชีพจร
ลักษณะของชีพจร
ฝูม่าย (ชีพจรลอย)
ซ่านม่าย (ชีพจรลอยกระจาย)
โควม่าย (ชีพจรลอยใหญ่แต่ช่วงกลางว่างเปล่า)
เฉินม่าย (ชีพจรจม)
ฝูม่าย (ชีพจรจมลึกกว่าเฉินม่าย)
เหลาม่าย (ชีพจรจมตึงแน่น)
ฉือม่าย (ชีพจรเต้นช้า)
ห่วนม่าย (ชีพจรเต้นเชื่องช้า)
สู้ม่าย (ชีพจรเต้นเร็ว)
จี๋ม่าย (ชีพจรเต้นเร็วกว่าสู้ม่าย)
หงม่าย (ชีพจรใหญ่มีพลัง)
ซี่ม่าย (ชีพจรเล็ก)
ฉางม่าย (ชีพจรยาว)
ต่วนม่าย (ชีพจรสั้น)
ซฺวีม่าย (ชีพจรพร่องไม่มีแรง)
รั่วม่าย (ชีพจรอ่อนนุ่มและจมเล็ก)
เหวย์ม่าย (ชีพจรเล็กกว่าซี่ม่ายและอ่อนนุ่ม)
สือม่าย (ชีพจรแกร่ง)
หน้า
ก
1
1
5
7
7
8
9
10
11
11
12
13
13
14
15
16
16
17
18
19
20
21
ง
สารบัญ (ต่อ)
หฺวาม่าย (ชีพจรลื่น)
ต้งม่าย (ชีพจรสั่นสะเทือน)
เซ่อม่าย (ชีพจรฝืด)
เสียนม่าย (ชีพจรตึง)
จิ่นม่าย (ชีพจรตึงแน่น)
เก๋อม่าย (ชีพจรลอยตึง)
หรูม่าย (ชีพจรลอยอ่อน)
เจี๋ยม่าย (ชีพจรเต้นช้าและจังหวะหยุดไม่แน่นอน)
ใต้ม่าย (ชีพจรเต้นช้า มีจังหวะหยุดแน่นอน)
ชู่ม่าย (ชีพจรเต้นเร็ว มีจังหวะหยุดไม่แน่นอน)
การตรวจวิเคราะห์โรคด้วยปากังเปี้ยนเจิ้ง
กระบวนขั้นตอนทางความคิดในการเปี้ยนเจิง้
การวิเคราะห์โรคด้วยปากังเปี้ยนเจิ้ง
กลุ่มอาการภายนอก-ใน (เปี่ยว-หลี่)
กลุ่มอาการเย็น-ร้อน (หาน-เร่อ)
กลุ่มอาการแกร่ง-พร่อง (สือซฺว)ี
กลุ่มอาการอิน-หยาง
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์โรคทั้ง 8 หมวด
วิธีรักษาโรคของแพทย์แผนจีน
วิธีขับเหงื่อ (ฮั่นฝ่า)
วิธีทาให้อาเจียน (ถูฝ่า)
วิธีระบาย (เซี่ยฝ่า)
วิธีประสาน (เหอฝ่า)
หน้า
22
22
23
24
26
26
27
28
29
29
33
34
34
35
36
40
43
45
47
47
48
48
50
จ
สารบัญ (ต่อ)
วิธีให้ความอบอุ่น (เวินฝ่า)
วิธีลดความร้อน (ชิงฝ่า)
วิธีบารุง (ปู่ฝ่า)
วิธีทาให้สลาย (เซียวฝ่า)
เอกสารที่ใช้ประกอบการเรียบเรียง
หน้า
50
51
52
53
55
1
การตรวจชีพจรของแพทย์แผนจีน
การตรวจชีพจร (脉诊 ม่ายเจิ่น) มีประวัติความเป็นมายาว
นานหลายพันปีในสาธารณรัฐ-ประชาชนจีน แพทย์จีนใช้การตรวจชีพจร
เป็นการวินิจฉัยโรค และใช้หลักการรักษาโรคโดยทดลองใช้กับมนุษย์ตาม
หลักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เมื่อประมาณ 2,500 ปีก่อน มีแพทย์จีนที่มี
ชื่อเสียงท่านหนึ่งชื่อ เปี่ยนเซฺวี่ย (扁鹊) เชี่ยวชาญวิธีการวินิจฉัยโรคด้วย
การตรวจชีพจร ในสมัยจักรพรรดิหวงตี้ (黄帝) ได้แต่งคัมภีร์เน่ย์จิง《内
经》กล่าวถึง ซานปููจิ่วโฮ่ว (三部九候) คาว่า ซานปูู (三部) หมายถึง
ตาแหน่งการตรวจชีพจรของมือทั้งสองข้าง แต่ละข้างมีอยู่ 3 ตาแหน่ง
คือ ตาแหน่งชุ่น (寸) ตาแหน่งกวน (关) และตาแหน่งฉื่อ (尺) แต่ละ
ตาแหน่งใช้นิ้วกดด้วยแรงหนักเบา 3 แบบ คือ แบบลอย (浮 ฝู) แบบ
กลาง (中 จง) และแบบจม (沉 เฉิน) รวมทั้งสามตาแหน่งจึงมี 9 แบบ
เรียกว่า “ซานปููจิ่วโฮ่ว” ต่อมาสมัยราชวงศ์ฮั่น จางจ้งจิ่ง (张仲景) ได้
แต่งตาราวินิจฉัยโรคโดยสรุปว่า การวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์
แบบต้องมี 4 วิธี ประกอบด้วย การมอง ( 望 ว่าง) การถาม ( 问 เวิ่น)
การดม-ฟัง (闻 เหวิน) การตรวจชีพ จรและการคลา ( 切诊 เชี่ยเจิ่น)
ต่อมาในสมัยราชวงศ์ซีจิ้น หวางซูเ หอ (王叔和) ได้แต่งคัมภีร์ม่ายจิง
《脉经》โดยรวบรวมคัมภีร์ส มัยก่ อนราชวงศ์ ฮั่น ได้แก่ คัมภีร์เน่ย์ จ ิง
《内经》และคัมภีร์หนานจิง 《难经》แต่งโดยจางจ้งจิ่ง และฮัวถวอ
(华佗) คัมภีร์ม่ายจิงนี้ ได้แบ่งชีพจรออกเป็น 24 แบบ ซึ่งเป็นคัมภีร์
ล่าสุดที่ใช้ในการศึกษาการตรวจชีพจร คัมภีร์นี้ได้แพร่หลายไปทั่วโลก
ต่ อ มาในสมั ย ราชวงศ์ ห มิ ง หลี่ สื อ เจิ น ( 李时珍 ) ได้ แ ต่ ง คั ม ภี ร์ ผิ ง
2
หูม่ายเสฺวีย《频湖脉学》โดยได้รวบรวมความโดดเด่นของ “ม่ายเสฺวีย
《脉学》” ตั้งแต่ส มัยก่อนราชวงศ์ หมิง คัมภีร์นี้มาจากพื้นฐานของ
คัมภีร์ม่ายจิง ซึ่งมีชีพจร 24 แบบ และได้เพิ่มเติมขึ้นอีก 3 แบบ รวมเป็น
27 แบบ ซึ่งได้แต่งเป็นบทกลอนเพื่อให้ง่ายต่อการท่องจา ต่อมาแพทย์
จีนหลี่ซื่อไฉ (李士材) ได้แต่งตาราเจินเจียเจิ้งเหยี่ยน 《诊家正眼》
เพิ่มเติมชีพจรแบบ “จี๋ม่าย (疾脉)” ขึ้นอีก 1 แบบ รวมเป็น 28 แบบ
ซึ่งยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นยังมีคัมภีร์ม่ายจฺเหวียฮุ่ยเปี้ยน
《脉诀汇辩》ซึ่งแต่งโดยหลี่เอี๋ยนกัง ( 李延罡) หลังจากนั้นมีแพทย์
จีนอีกหลายท่านสนใจศึกษาการตรวจโรคด้วยการตรวจชีพจรเพื่อนาไปใช้
วินิจฉัยโรคต่าง ๆ ได้
การตรวจชีพจรต้องผ่านการเรียนรู้ศึกษาขั้นพื้นฐานตามวิธีต่าง ๆ
ต้องอาศัยประสาทสัมผัสที่ไวของนิ้ว และต้องฝึกปฏิบัติหาประสบการณ์
จากผู้เชี่ยวชาญ อีกทั้งต้องอาศัยการไตร่ตรองอย่างละเอียดถี่ถ้วนและ
หมั่นฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ เพื่อที่จะสามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้อง
1. ตาแหน่งของชีพจร
ตาแหน่งของชีพจรอยู่ที่บริเวณข้อมือด้านในทั้ง 2 ข้าง โดยวาง
นิ้วกลางที่ตาแหน่ง “กวน” ซึ่งอยู่บริเวณที่มีกระดูกข้อมือนูนขึ้นมา วาง
นิ้วชี้ถัดจากนิ้วกลางขึ้นไปทางปลายนิ้วมือของผู้ปุวยที่ตาแหน่ง “ชุ่น”
ส่วนตาแหน่ง “ฉื่อ” ให้วางนิ้วนางถัดจากนิ้วกลางค่อนไปทางต้นแขน
โดยให้วางทั้งสามนิ้วเรียงติดกัน โดยทั่วไปชีพจรจะอยู่ที่ข้อมือด้านใน
แต่ในผู้ปุวยบางรายอาจพบที่บริเวณข้อมือด้านนอก
3
尺关寸
ฉื่อ กวน ชุ่น
ภาพแสดงตาแหน่งการจับชีพจร
ชีพจรทั้ ง 3 ตาแหน่ง ของข้อมื อแต่ละข้างสามารถตรวจสอบ
อวัยวะภายในของร่างกายได้ ดังนี้
ตาแหน่ง ข้อมือ
ตาแหน่งของอวัยวะภายใน
ชุ่น
ซ้าย หัวใจ และเยือ่ หุ้มหัวใจ
ขวา ปอด และทรวงอก
กวน
ซ้าย ตับ ถุงน้าดี และกระบังลม
ขวา ม้าม กระเพาะอาหาร และบริเวณช่องท้องตัง้ แต่
ลิ้นปีไ่ ปจนถึงสะดือ
ฉื่อ
ซ้าย ไตและกระเพาะปัสสาวะ ท้องน้อยตั้งแต่ใต้สะดือ
ลงไป รวมถึงเอว และแขนขา
ขวา ไตและมิง่ เหมิน (命门) บริเวณเอวและท้องน้อย
ตั้งแต่ใต้สะดือลงไป รวมถึงแขนและขา
4
ตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ ทั้ง 3 ตาแหน่งนี้สามารถตรวจลักษณะการ
เต้นของชีพจรได้ 3 แบบ คือ
(1) แบบลอย (浮 ฝู) เป็นการสัมผัสชีพจรโดยใช้ปลายนิ้วสัมผัส
เพียงเบา ๆ จะพบการเต้นของชีพจร
(2) แบบกลาง (中 จง) เป็นการสัมผัสชีพจรโดยใช้ปลายนิ้วสัมผัส
กดลงจนถึงระดับกล้ามเนื้อโดยไม่ลึกและไม่ตื้นจนเกินไป จะพบการเต้น
ของชีพจร
(3) แบบจม (沉 เฉิน) เป็นการสัมผัสชีพจรโดยใช้ปลายนิ้วกด
แรงจนใกล้จะถึงกระดูก จะพบการเต้นของชีพจร
ผิวหนัง
浮 ลอย
ชีพจรเต้นอยู่ส่วนบน
中 กลาง
ชีพจรเต้นอยู่ส่วนกลาง
沉 จม
ชีพจรเต้นอยู่ส่วนลึก
กระดูก
ภาพแสดงระดับการเต้นของชีพจรที่ตรวจพบในแต่ละระดับ
指压
แรงกดของนิ้ว
เบา
กลาง
หนัก
ภาพแสดงแรงกดของนิ้วในแต่ละระดับ
5
ถึงแม้แพทย์จีนได้สะสมประสบการณ์มากมายจากการตรวจชีพจร
โดยการกาหนดตาแหน่งของอวัยวะแบบนี้ แต่ตามหลักวิทยาศาสตร์ยังต้อง
มีการศึกษาวิจัยให้มากขึ้น
2. วิธีการตรวจวินิจฉัยโรคโดยการตรวจชีพจร
แพทย์จีนที่ทาการตรวจวินิจฉัยโรคโดยวิธีนี้ ต้องอาศัยสมาธิและ
จิตใจที่สงบนิ่ง กาหนดลมหายใจเข้าออกสม่าเสมออย่างเป็นธรรมชาติ
โดยนิ้วมือที่สัมผัสชีพจรของผูป้ ุวยต้องมีจังหวะการกดเบาหนักและแรงที่
ถูกต้อง
การตรวจชีพจรจาเป็นต้องให้ผปู้ วุ ยนั่งพักสักครู่ เพื่อให้จิตใจสงบ
ก่อนและไม่มีสงิ่ ใดมารบกวน จึงจะส่งผลให้ตรวจพบชีพจรที่แท้จริงได้มาก
ขึ้น ในระหว่างการตรวจชีพจร ให้ผู้ปุวยนั่งตัวตรงในท่าที่สบาย ยื่นแขน
ออกมาในลัก ษณะหงายฝุามื อ ขึ้น โดยวางแขนบนโต๊ะให้อยู่ในระดับ
เดียวกับตาแหน่งหัวใจ ในการวินิจฉัยโรคแต่ละครั้งควรใช้เวลาไม่ต่ากว่า
1 นาที เพื่อให้แพทย์จีนมีเวลาวินิจฉัยการเปลี่ยนแปลงของชีพจร
ลักษณะชีพจรของคนปกติ คือ การหายใจเข้าออกแต่ละครั้ง
ชีพจรจะเต้น 4~5 ครั้ง หรือ 72~80 ครั้ง/นาที ตาแหน่งชีพจรจะอยู่ที่
กึ่งกลาง ไม่ลอย ไม่จม ไม่ยาว ไม่สั้น จังหวะการเต้นสม่าเสมอ ราบรื่น มี
แรงสม่าเสมอทั้งตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ เมื่อใช้นิ้วกดจมลงหาชีพจรก็ยังมี
ชีพจรเต้นอยู่
ในการตรวจชีพ จร แพทย์จีนจะวางนิ้วมื อห่างกั นแค่ไหนนั้น
ขึ้นอยู่กับแขนของผู้ปุวยว่ายาวหรือสั้นและนิ้วมือของแพทย์จีนเล็กหรือ
ใหญ่ ถ้าแขนของผู้ปุวยยาวหรือนิ้วมือของแพทย์จีนเล็ก ให้วางนิ้วทั้ ง
6
สามห่างกันเล็กน้อย ถ้าแขนของผู้ปุวยสั้นหรือนิ้วมือของแพทย์จีนใหญ่
ให้วางนิ้วทั้งสามชิดกันเล็กน้อย ส่วนผู้ปุวยเด็กไม่สามารถแบ่งออกเป็น
3 ตาแหน่งเหมือนกรณีทั่ว ๆ ไป แพทย์จีนต้องทาการตรวจชีพจรโดยใช้
นิ้วสัมผัสเพียง 1 นิ้ว อาจเป็นนิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วชี้ก็ได้
แพทย์จีนที่ทาการตรวจชีพจร ต้องวางนิ้วมือทั้งสามคว่าลงเพื่อ
สัมผัสหาชีพจรของผูป้ ุวย โดยลักษณะการสัมผัสแบ่งออกเป็น 7 วิธี ดังนี้
(1) แบบยก (จฺหวีฝ่า 举法) คือ วิธีการที่แพทย์จีนใช้นิ้วมือกด
เพียงเบา ๆ เพื่อสัมผัสการเต้นของชีพจร วิธีนี้เรียกว่า การสัมผัสชีพจร
แบบลอย
(2) แบบกด (อั้นฝ่า 按法) คือ วิธีการที่แพทย์จีนใช้นิ้วมือกด
โดยใช้แรงมากกว่าแบบยก กดจนถึงเส้นเอ็นหรือใกล้กับกระดูกเพื่อสัมผัส
การเต้นของชีพจร วิธีนี้เรียกว่า การสัมผัสชีพจรแบบจม อีกวิธีหนึ่งที่
แพทย์จีนใช้นิ้วกดโดยใช้แรงปานกลาง กดจนถึงกล้ามเนื้อ เพื่อสัมผัส
การเต้นของชีพจร วิธีนี้เรียกว่า การสัมผัสชีพจรแบบกลาง
(3) แบบหา (สฺวินฝ่า 寻法) คือ วิธีการที่แพทย์จีนใช้นิ้วมือกด
โดยใช้แรงตั้งแต่เบาจนถึงหนักเพื่อหาชีพจรทั้งข้อมือด้านซ้ายและขวา
โดยกดทั้ งตาแหน่ง ชุ่น กวน ฉื่อ พร้อ มกั น แล้วสลับ กันหาชีพจรที ล ะ
ตาแหน่ง จนกระทั่งพบตาแหน่งที่ชีพจรเต้นชัดเจนที่สุด
(4) แบบเคลื่อน (สฺวินฝ่า 循法) คือ วิธีก ารที่แพทย์จีนใช้นิ้ว
มือกดหาการเคลื่อ นไหวไปมา ทั้ งขึ้นและลงไปตามแนวแขน เพื่อดูว่า
การเต้นของชีพจรเป็นลักษณะยาวหรือสั้น แกร่งหรือพร่อง
(5) แบบถูไปมา (ทุยฝ่า 推法) คือ วิธีการที่แพทย์จีนใช้นิ้วมือ
สัม ผั ส ถู ไ ปมาตามแนวเส้ น ของชี พ จร โดยสั ม ผั ส เพีย งเบา ๆ เพื่ อ ดู
ลักษณะการเต้นของชีพจรว่าเร็วหรือช้า มีแรงมากหรือน้อย
7
(6) แบบกดรวม (จ่งอั้นฝ่า 总按法) คือ การที่แพทย์จีนใช้นิ้ว
มือกดแรงหรือเบาพร้อมกัน ทั้งสามนิ้ว หรือกดแต่ละนิ้วแรงต่างกันใน
ตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ เพื่อ ดูลัก ษณะการเต้นของชีพจรว่าลอยหรือจม
หรือมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
(7) แบบสัมผัสทีละจุด (ตันเจิ่น 单诊) คือ วิธีการที่แพทย์จีน
ใช้นิ้วมือกดสัมผัสสลับกันเพียงครั้งละ 1 นิ้ว โดยกดทีละจุดในตาแหน่ง
ชุ่น กวน ฉื่อ เพื่ อ สัม ผัส การเต้นของชีพ จรในแต่ล ะตาแหน่ง ว่ามี ก าร
เปลี่ยนเเปลงอย่างไร
3. ลักษณะของชีพจร
ลักษณะของชีพจรทั้งหมดแบ่งออกเป็น 28 แบบ แต่ละแบบใช้
ประกอบการวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ดังนี้
(1) ฝูม่าย (浮脉): ชีพจรลอย
ลักษณะของชีพจร: การเต้นของชีพจรอยู่ใกล้กับผิวหนังด้านบน
เหมือนไม้เบาลอยบนผิวน้า เมื่อใช้นิ้วสัมผัสชีพจรเบา ๆ ก็สามารถพบ
การเต้นของชีพจรได้ แต่ถ้ากดแรงกลับไม่พบ
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปุวยโรคที่เกิดจาก
ภายนอก หรือหยางพร่องภายใน แต่ความร้อนเทียมลอยอยู่ภายนอก
ดังนี้
1) ถ้าผู้ปุวยถูกสภาวะอากาศภายนอกมากระทบ อาจก่อให้เกิด
โรคต่าง ๆ ได้ เพราะภูมิต้านทานต่อสู้กับแรงกระทบภายนอก ฉะนั้นชีพจร
ก็จะลอย
2) คนปกติ เมื่อสัมผัสอากาศร้อน ทาให้หยางชี่ลอยขึ้น ชีพจร
จะลอยและเร็ว
8
3) ผู้ปุวยโรคเรื้อรัง ร่างกายอ่อนแอ ชีพจรจะลอยไม่มีแรง
4) ผู้ปุวยหนักจนหยางชี่จะหลุดลอย ชีพจรจะลอยไม่มีแรงยึด
เหนี่ยว
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรลอย
ผิวหนัง
กระดูก
การเต้นของชีพจรเบา
เหมือนไม้เบาลอยบนผิวน้า
ภาพแสดงฝู่ม่าย
(2) ซ่านม่าย (散脉): ชีพจรลอยกระจาย
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรลอยใหญ่ ไม่มแี รง แตกกระจาย กดแรง
จะไม่พบชีพจร จังหวะการเต้นไม่สมา่ เสมอ เดีย๋ วมีแรง เดีย๋ วไม่มแี รง เปรียบ
เหมือนดอกเหมยลอยอยู่ในอากาศ
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวกับพลังชี่ที่สูญเสียไป
มาก สารจาเป็นในอวัยวะภายใน (脏腑 จั้งฝูุ) ใกล้จะหมดสิ้น ผู้ปุวยที่มี
การเต้นของชีพจรในลักษณะนี้มักจะมีอาการโรคหนักเรื้อรัง
9
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชีพจรลอยกระจาย
กระดูก
ภาพแสดงซ่านม่าย
(3) โควม่าย (芤脉): ชีพจรลอยใหญ่แต่ช่วงกลางว่างเปล่า
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรลอยใหญ่แต่ช่วงกลางว่างเปล่า การ
สัมผัสชีพจรจะรู้สึกเหมือนกดหลอดของต้นหอม นิ้วสัมผัสแล้วชีพจรจะ
ลอยใหญ่นุ่ม กดแรงลงไปรู้สึกพบเพียงผนังหลอดเลือด
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้ส่วนมากมักพบในผู้ปุวยที่ตก
เลือดเฉียบพลัน สูญเสียเลือดและน้าในร่างกาย ทาให้เลือดในร่างกาย
ลดลงอย่างมากและในหลอดเลือดมีเลือดไม่เพียงพอ ทาให้รู้สึกเหมือน
หลอดเลือดว่างเปล่า หรือเกิดจากร่างกายเสียน้ามาก เช่น อาเจียนหรือ
ท้องเสียอย่างรุนแรง ทาให้เลือดขาดน้าหล่อเลี้ยง อินของเลือดไม่สามารถ
ควบคุมหยางชี่ หยางชี่จะหลุดลอยกระจาย
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชีพจรลอยใหญ่
ช่วงกลางว่างเปล่า
กระดูก
ภาพแสดงโควม่าย
10
(4) เฉินม่าย (沉脉): ชีพจรจม
ลักษณะชีพจร: เมื่อใช้นิ้วสัมผัสชีพจรเบา ๆ จะไม่พบ ต้องกด
ลึกใต้บริเวณเส้นเอ็นจึงจะพบการเต้นของชีพจร
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปวุ ยกลุ่มอาการโรค
ที่เ กิ ดอยู่ภายในเป็นหลัก หากการเต้นของชีพจรจมและมี แรงมั ก จะ
เกี่ยวกับโรคแกร่ง ถ้าอวัยวะตันทั้ง 5 (五脏 อู่จั้ง) กับอวัยวะกลวงทั้ง 6
(六腑 ลิ่วฝูุ) พร่องหรืออ่อนแอ ชีพจรจะจมและไม่มีแรง
คนที่ร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ก็สามารถพบชีพจรจม
ได้ เช่น คนอ้วนมีกล้ามเนื้อไขมันหนา ชีพจรจะอยู่ลึก หรืออาจขึ้นกับ
สภาพภูมิอากาศ เช่น คนในประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มักจะมีชีพจร
จม นอกจากนี้ยังมีคนที่มี ชีพจรทั้ง 2 ข้างจมเล็ก แต่ร่างกายไม่มี โรค
เรียกว่า “ลิ่วอินม่าย (六阴脉)” พบได้มากในคนที่ไม่ออกกาลังกาย ซึ่ง
ถือว่าเป็นชีพจรของคนปกติ
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชีพจรจม
กระดูก
ภาพแสดงเฉินม่าย
11
(5) ฝูม่าย (伏脉): ชีพจรจมลึกกว่าเฉินม่าย
ลักษณะชีพจร: ชีพจรจมลึกกว่าเฉินม่าย ต้องใช้นิ้วกดถึงบริเวณ
กระดูก การจับหาชีพจรลักษณะนี้เป็นการสัมผัสได้ยาก คล้ายกับหลบซ่อน
อยู่ บางครั้งไม่ชัดเจน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปุวยโรคที่เกิดจาก
กลุ่มอาการภายใน หรือ เกิดจากโรคที่ทาให้ร่างกายเจ็บปวดอย่างรุนแรง
หรือ โรคลมชัก หมดสติ
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชุ่น
ชีพจรจมลึก
กระดูก
ชีพ
ภาพแสดงฝูม่าย
จรจมตึง
(6) เหลาม่าย (牢脉): ชีพจรจมตึงแน่น
แน่น
ลักษณะชีพจร: ชีพจรจมแน่นใหญ่ ตึงและยาว ใช้นิ้วแตะเบา ๆ
จะไม่เจอการเต้นของชีพจร กดลึกจึงจะเจอชีพจรแข็งด้านอยู่กับที่
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปวุ ยโรคกลุม่ อาการ
เย็นภายในที่มสี าเหตุจาก การอุดกั้น ทาให้ชี่และเลือดไหลเวียนไม่สะดวก
ในเลือดมีของเสียมาก เก็บสะสมเป็นเวลานาน ก่อตัวเป็นก้อน เช่น เป็น
เนื้องอก หรือเป็นไส้เลื่อน
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชุ่น
12
ชีพจรจมตึงแน่น
กระดูก
ภาพแสดงเหลาม่าย
ชีพ
จรจมตึง
(7) ฉือม่าย (迟脉): ชีพจรเต้นช้า
แน่น
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรเต้นช้า การหายใจเข้าออก 1 ครั้งจะ
มีการเต้นของชีพจร 3~4 ครั้ง (น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที) โดยพบได้ทั้ง 3
ระดับ ซึ่งบ่งบอกโรคที่แตกต่างกัน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปวุ ยที่เป็นโรคเย็นที่
มีสาเหตุจากความเย็นปิดกั้น ทาให้หยางชี่ติดขัด การไหลเวียนไม่คล่อง
ร่างกายขาดความอบอุ่น ถ้าชีพจรเต้นช้ามีแรง จะเกี่ยวกับโรคกลุ่มอาการ
เย็นแกร่ง ถ้าชีพจรเต้นช้าไม่มีแรงจะเกี่ยวกับโรคกลุ่มอาการเย็นพร่อง
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอาการโรคที่พบได้อีก คือ โรคร้อนซ่อนภายใน
หยางชี่ถูกปิดกั้นไม่กระจาย เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ ลาไส้อักเสบ
ความร้อนอุดกั้นภายใน ธาตุแข็งถ่ายไม่ออก แน่นท้อง มือเท้าเย็น ชีพจร
เต้นช้า และยังพบได้ในภาวะปกติของนักกีฬา ซึ่งชีพจรจะเต้นช้าอย่าง
สม่าเสมอ หรือคนปกติเมื่อนอนหลับ ชีพจรก็จะเต้นช้าเช่นกัน
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นช้า
ภาพแสดงฉือม่าย
(8) ห่วนม่าย (缓脉): ชีพจรเต้นเชื่องช้า
13
ลักษณะชีพจร: ชีพจรเต้นเชื่องช้าเป็นจังหวะ พบได้ทั้ง 3 ระดับ
ซึ่งบ่งบอกโรคที่แตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1) ชีพจรเต้นเชื่องช้าเป็นจังหวะอย่างสม่าเสมอ การหายใจเข้า
ออก 1 ครั้ง เต้น 4 ครั้ง (60~70 ครั้ง/นาที) ลักษณะของชีพจรแบบนี้ถือ
ว่าเป็นชีพจรที่ปกติ
2) ชีพจรเต้นเชื่องช้าเป็นจังหวะและอ่อนไม่มีแรง ส่วนมากพบใน
ผู้ปุวยที่เป็นโรคเกี่ยวกับ ม้ามพร่อง ชี่กับเลือดไม่เพียงพอ ชีพจรดังกล่าว
เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากความชื้นปิดกั้น ทาให้หยางชี่ติดขัด เลือดไหลเวียน
ช้าลง
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นเชื่องช้า
ภาพแสดงห่วนม่าย
(9) สู้ม่าย (数脉): ชีพจรเต้นเร็ว
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรเต้นเร็ว การหายใจเข้าออก 1 ครั้ง
ชีพจรเต้น 5~6 ครั้ง (มากกว่า 90 ครั้ง/นาที) โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่ง
บ่งบอกโรคที่แตกต่างกัน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้ส่วนมากมักพบในผู้ปุวยโรค
เกี่ยวกับความร้อนสูง (อาจพบอาการพร่องในผู้ปุวยบางราย) แบ่งเป็น 2
แบบ คือ
1) ถ้าชีพจรเต้นเร็วมีแรง จะเกี่ยวข้องกับโรคร้อนแกร่ง ความร้อน
จะสูงจัด
14
2) ถ้าชีพจรเต้นเร็วไม่มีแรง จะเกี่ยวข้องกับโรคร้อนเทียม
ในกรณีของคนปกติระหว่างออกกาลัง กาย หรือจิตใจอารมณ์
แปรเปลี่ยน ตื่นเต้น ชีพจรจะเต้นเร็ว การหายใจเข้าออก 1 ครั้ง ชีพจร
จะเต้นเร็วประมาณ 6 ครั้ง (ประมาณ 110 ครั้ง/นาที ) ส่วนเด็กทารก
การหายใจเข้าออก 1 ครั้ง ชีพจรจะเต้นประมาณ 7 ครั้ง (120 ครั้ง /
นาที) ซึ่งถือว่าเป็นปกติ
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นเร็ว
ภาพแสดงสูม้ ่าย
(10) จี๋ม่าย (疾脉): ชีพจรเต้นเร็วกว่าสู้มา่ ย
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรลักษณะนี้จะเต้นเร็วกว่าสู้ม่าย การ
หายใจเข้าออก 1 ครั้ง ชีพจรเต้นมากกว่า 7 ครั้ง โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ
ซึ่งบ่งบอกโรคที่แตกต่างกัน
การวินิจฉัย: ชีพจรลักษณะนี้ส่วนมากพบในผู้ปุวยโรคที่เกิดจาก
หยางแกร่ง ความร้อนขึ้นสูงมาก ทาให้สูญเสียอินชี่ (ธาตุน้า) ถ้าชีพจร
พร่องอ่อนไม่มีแรง แสดงว่าหยางชี่ของร่างกายจะสูญสิ้นไป
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้น
เร็วกว่าสู้ม่าย
ภาพแสดงจี๋มา่ ย
(11) หงม่าย (洪脉): ชีพจรใหญ่มีพลัง
15
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรลอยกว้างใหญ่ มาแรงไปอ่อน มาใหญ่
ไปยาว
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้ส่วนมากเกี่ยวกับความร้อนใน
ร่างกายสูงมาก ทาให้หลอดเลือดขยาย ถ้าผู้ปุวยเป็นโรคเรื้อรังและพบ
ลักษณะการเต้นของชีพจรลอยใหญ่ แสดงว่าโรคนั้นจะเป็นหนักขึ้นใน
กรณีที่อากาศร้อน คนที่ร่างกายแข็งแรงปกติอาจตรวจพบชีพจรลอยใหญ่
และเต้นสม่าเสมอ
2 มม.
การเต้นของชีพจรขึ้นและลงทั้งสูงใหญ่และยาว
ชุน่
กวน
ความกว้างของชีพจรใหญ่กว่าปกติ
ฉื่อ
จังหวะการเต้นขึ้น ชีพจรจะแรงใหญ่มีพลังมาก
จังหวะการเต้นลง ชีพจรจะอ่อนเบาเล็กน้อย
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นเลยตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ
ภาพแสดงหงม่าย
(12) ซี่ม่าย (细脉): ชีพจรเล็ก
16
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรเล็กเหมือนเส้นไหมหรือเส้นด้ายการ
สัมผัสรู้สึกถึงการเต้นชัดเจน ถึงแม้ว่ากดลงไปก็ยังสัมผัสได้ไม่ขาดหาย
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้ส่วนมากเกี่ยวข้องกับโรคที่เกิด
จากชี่และเลือดพร่อง ดังนี้
1) ทั้งชี่และเลือดพร่อง เป็นโรคปุวยเรื้อรังทาให้ร่างกายอ่อนแอ
2) ร่างกายอ่อนแอและกระทบความหนาวเย็น ทาให้หลอดเลือด
หดตัว ตึงแน่น มีอาการเจ็บปวดตามร่างกาย ชีพจรจึงตึงเล็กแน่น
3) ความชื้นอุ ดกั้นหลอดเลือ ด ท าให้ชี่และเลือดไหลเวียนไม่
สะดวก มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อชีพจรจึงเล็กและเชื่องช้า
2 มม.
ความกว้างของชีพจรเล็กกว่าปกติ
ภาพแสดงซีม่ ่าย
(13) ฉางม่าย (长脉): ชีพจรยาว
ลักษณะชีพจร: เมื่อใช้นิ้วสัมผัสชีพจรแล้ว ชีพจรจะเต้นยาวเลย
ตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ
การวินิจฉัย โรค: ชีพ จรลัก ษณะนี้ส่วนมากเกี่ ยวข้องกั บ กลุ่ม
อาการของโรคหยางแกร่ง หรือกลุ่มอาการร้อนแกร่งปะทะกับภูมิต้านทาน
โรคแกร่งซึ่งมีความแกร่งทั้งคู่ ทาให้ชีพจรยาว ถ้าชีพจรใหญ่ยาวและเร็ว
17
แสดงว่าพิษร้อนอยู่ภายในมาก อย่างไรก็ตามชีพจรยาวก็ยังพบได้ในคนปกติ
เช่น คัมภีร์ซู่เวิ่น《素问》 ม่ายเอี้ยวจิงเหวย์ลุ่น《脉要精微论》กล่าว
ว่า “ชีพจรยาวก็คือชี่แกร่ง ในคนปกติที่มีชี่และเลือดแข็งแกร่ง พลังชี่ของ
ร่างกายจะเต็มเปี่ยมและพลังชี่ของชีพจรมีส่วนเกิน ทาให้ ชพี จรเต้นเกิน
ตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ และชีพจรมีลักษณะยาว อ่อนนุ่ม เต้นสม่าเสมอ มี
พลัง แสดงว่าร่างกายแข็งแรง ส่วนในผู้สูงอายุที่ร่างกายแข็งแรงปกติ ถ้า
ชีพจรที่ตาแหน่งฉื่อของมือทั้งสองข้างยาวและลื่นแกร่ง ส่วนมากจะอายุ
ยืนยาว ฉะนั้นชีพจรยาวก็จะเกีย่ วกับชี่และเลือดเต็มอิ่ม พลังชี่หมุนเวียน
ไม่มีการติดขัด”
ชุน่
กวน
ฉื่อ
ชีพจรเต้นเลย
ตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ
ภาพแสดงฉางม่าย
(14) ต่วนม่าย (短脉): ชีพจรสั้น
ลักษณะชีพจร: การเต้นของชีพจรจะสั้นกว่าปกติ ปรากฏอยู่ที่
ตาแหน่งชุ่นและกวน ส่วนมากจะไม่พบที่ตาแหน่งฉื่อ
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวข้องกับพลังชี่ในร่างกาย
ที่ผิดปกติ
1) ถ้าสั้นมีแรง จะเกี่ยวกับ ชี่ตีบ ลิ่ม เลือดอุดกั้ น หรืออาหาร
ตกค้าง ทาให้ชี่และเลือดไหลเวียนติดขัด
18
2) ถ้าสั้นไม่มีแรง จะเกี่ยวกับพลังชี่สูญเสีย ทาให้พลังชี่ไม่มีแรง
ผลักดันการหมุนเวียนของเลือด
ความยาวของชีพจรไม่ถึงตาแหน่งฉื่อ
ชุน่
กวน
ฉื่อ
ภาพแสดงต่วนม่าย
(15) ซฺวีม่าย (虚脉): ชีพจรพร่องไม่มีแรง
ลักษณะของชีพจร: การเต้นของชีพจรจะอ่อนนุ่มมาก เมื่อใช้
นิ้วกดเบา การเต้นของชีพจรจะไม่มีแรง ถ้ากดแรง การเต้นของชีพจร
จะว่างเปล่า ซฺวีม่ายเกี่ยวข้องกับชีพจรทั้งหลายที่ไม่มีแรง ซึ่งแบ่งเป็น 2
แบบ ได้แก่
1) ชีพจรใหญ่ไม่มีแรง เช่น โควม่าย ซ่านม่าย เป็นต้น
2) ชีพจรเล็กไม่มีแรง เช่น หรูม่าย รั่วม่าย เหวย์ม่าย เป็นต้น
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้ จะเกี่ยวข้องกับกลุ่มอาการชี่
และเลือดพร่อง ถ้าเต้นช้าไม่มีแรง จะเกี่ยวกับหยางพร่อง ถ้าเต้นเร็วไม่
มีแรง จะเกี่ยวกับอินพร่อง
พร่องไม่มีแรง
ปกติ
การเคลื่อนไหวของชีพจรต่าและอ่อน
2 มม.
ความกว้างของชีพจรเล็กกว่าปกติ
19
ชุน่
กวน
ฉื่อ
ความยาวของชีพจร
ไม่ถึงตาแหน่งฉื่อ
ความยาวของชีพจรไม่ถึงตาแหน่งฉื่อ
หายใจ 1 ครั้ง
ลักษณะของชีพจรเต้นอ่อนนุ่ม
ภาพแสดงซฺวีมา่ ย
(16) รั่วม่าย (弱脉): ชีพจรอ่อนนุ่มและจมเล็ก
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรทั้งอ่อนนุ่มและจมเล็ก ต้องใช้นิ้วกด
แรงลึกจึงจะพบการเต้นของชีพจร เล็กไม่มีแรง
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปุวยโรคที่เกี่ยวกับ
หยางชี่พร่อง หรืออาจจะพร่องทั้งชี่และเลือด เพราะเลือดในหลอดเลือด
ไม่เพียงพอ การผลักดันหยางชี่ไม่มีแรง ส่วนมากพบในผู้ปุวยโรคที่เกี่ยวกับ
กลุ่มอาการพร่อง ปุวยเรื้อรังมานาน
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชุ่น
20
ภาพแสดงรั่วม่าย
(17) เหวย์ม่าย (微脉): ชีพจรเล็กกว่าซี่มา่ ยและอ่อนนุ่ม
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรเล็กกว่าซี่ม่ายและอ่อนนุ่ม ไม่มีแรง
บางครั้งสัมผัสได้ บางครั้งสัมผัสไม่ได้
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวข้องกับสภาวะอินหยาง
ชี่และเลือดพร่องมาก ๆ พลังขับเคลื่อนไม่มีแรง หรือโรคปุวยเรื้อรังมานาน
ภูมิต้านทานต่า พลังชี่ใกล้จะหมดสิ้น ถ้าเป็นภาวะวิกฤต มักจะเกี่ยวข้อง
กับหยางชี่หมดอย่างเฉียบพลัน
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชีพจรเล็กกว่า
ซี่ม่ายและ
อ่อนนุ่ม
ชุ่น
กระดูก
2 มม.
ชีพจรเล็กมากกว่าปกติ
ภาพแสดงเหวย์มา่ ย
ชีพจร
(18) สือม่าย (实脉): ชีพจรแกร่ง
จมตึง
ลักษณะของชีพจร: การเต้นของชีพจรเต็มอิแน่
่มมีนแรงและมีพลังไม่
ว่าจะกดเบาหรือกดแรง สือม่ายเกี่ยวข้องกับชีพจรทั้งหลายที่มีแรง
21
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวข้องกับโรคแกร่ง ดังนี้
1) ผู้ปุวยโรคแกร่งและภูมิ ต้านทานไม่พร่อง ภูมิต้านทานกั บ
สาเหตุของโรคจะต่อต้านกัน ทาให้ชี่และเลือดพุ่งแรง ชีพจรจะแน่น
2) ถ้าชีพจรลอยและแรง ส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับโรคร้อนแกร่ง
3) ถ้าชีพจรจมช้าและแกร่ง จะเกี่ยวข้องกับโรคเย็นแกร่ง
4) ถ้ามีอาการปุวยเป็นระยะเวลานาน จะพบชีพจรแบบนี้ส่วนมาก
อาการจะหนัก เกี่ยวกับหยางชี่จะหลุดลอย แต่ทั้งนี้ต้องวินิจฉัยควบคู่ไป
กับอาการอื่น ๆ ด้วย
5) ชีพจรแกร่งสามารถพบได้ในคนปกติ โดยมีลักษณะการเต้น
สม่าเสมอ แกร่ง นุ่มนวล แสดงว่ามีพลังชี่มากกว่าคนปกติทั่วไป ทาให้
หลอดเลือดเต็มอิ่ม พลังชี่แข็งแกร่ง ตาแหน่งชุ่น กวน ฉื่อ ที่มือทั้ง 2 ข้าง
จะแกร่งและใหญ่เรียกว่า “ลิ่วหยางม่าย (六阳脉)” ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษ
2 มม.
ชีพจรแน่นใหญ่
ภาพแสดงสือม่าย
(19) หฺวาม่าย (滑脉): ชีพจรลื่น
ความกว้างของชีพจรใหญ่
22
ลักษณะของชีพจร: การเต้นของชีพจรราบรื่นไม่ติดขัด เมื่อใช้
นิ้วสัมผัสแล้วจะลื่นเหมือนสัมผัสไข่มุก โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่งบ่งบอก
โรคที่แตกต่างกัน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวข้องกับโรคที่มีเสมหะ
อาหารไม่ย่อยตกค้าง ความร้อนแกร่งต่าง ๆ มีไข้สูงกระทบกับเลือด
ทาให้ก ารหมุนเวียนของเลือ ดเร็วกว่าปกติ ถ้าพบหฺวาม่ายในหญิงวัย
เจริญพันธุ์ที่มรี ่างกายปกติและประจาเดือนขาด อาจแสดงว่ากาลังตั้งครรภ์
ได้ ถ้าชีพจรลื่นและช้า เต้นสม่าเสมอ ส่วนมากเป็นชีพจรปกติของวัยรุ่น
หายใจ 1 ครั้ง
การไหลเวียนของชีพจรลื่น
ชีพจรลื่นเหมือนสัมผัสไข่มุก
ภาพแสดงหฺวาม่าย
(20) ต้งม่าย (动脉): ชีพจรสั่นสะเทือน
ลักษณะของชีพจร: ส่วนมากพบการเต้นของชีพจรที่ตาแหน่ง
กวน มีทั้งชีพจรลื่น เร็ว สั้น ชีพจรทั้ง 3 อย่างปรากฏพร้อมกัน โดยพบ
ได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่งบ่งบอกโรคที่แตกต่างกัน คัมภีร์ม่ายจิง《脉经》กล่าว
ว่า “ต้งม่ายพบเฉพาะที่ตาแหน่งกวน ไม่พบที่ตาแหน่งชุ่นและตาแหน่ง
ฉื่อ เปรียบเหมือน เมล็ดถั่วเขียวที่เต้นสั่นสะเทือนในชีพจร”
23
การวินิจฉัยโรค: ส่วนมากจะพบในผู้ปวุ ยทีเ่ คยประสบเหตุการณ์
ที่ตกใจสุดขีด กลัวสุดขีด หรือร่างกายเจ็บปวดมาก ๆ ส่งผลให้ชี่แตกซ่าน
การบาดเจ็บภายในหรือร่างกายถูกกระทบกระเทือน จะเกี่ยวกับชี่ตีบ
อินกับหยางปะทะกันก่อให้เกิดผลตามมา
ชุ่น
กวน
ฉื่อ
ชุน่
กวน
ฉื่อ
ภาพแสดงต้งม่าย
(21) เซ่อม่าย (涩脉): ชีพจรฝืด
ลักษณะชีพจร: ชีพจรทั้งเล็กและช้า ไปมาฝืดไม่ราบรื่น ชีพจร
เต้นแรงไม่สม่าเสมอ เมื่อใช้นิ้วสัมผัสจะรู้สึกฝืดเหมือนกับใช้ใบมีดเล็กไป
ขูดไม้ไผ่
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้เกี่ยวข้องกับร่างกายสูญเสีย
อสุจิ เลือดน้อย เสมหะหรืออาหารตกค้างภายใน ชี่ตีบ ลิ่มเลือดอุดกั้น
ต่าง ๆ ถ้าชีพจรฝืดมีแรง จะเกี่ยวข้องกับโรคแกร่ง ถ้าชีพจรฝืดไม่มีแรง
จะเกี่ยวข้องกับโรคพร่อง
24
หายใจ 1 ครั้ง
การเต้นของชีพจรช้าเล็กและสั้น ไม่ราบรื่น
ภาพแสดงเซ่อม่าย
ฝืดเหมือนมีดขูดไม้ไผ่
(22) เสียนม่าย (弦脉): ชีพจรตึง
ลักษณะชีพจร: การเต้นของชีพจรจะตึงและยาวเหมือนสัมผัส
สายขิม เมื่อใช้นิ้วสัมผัสจะพบได้ง่ายและชัดเจนเป็นเส้นตรง
การวินิจฉัยโรค:
1) ผู้ปุวยโรคตับ โรคถุงน้าดี โรคเจ็บปวดต่าง ๆ หรือมีเสมหะ
กับสารน้าตกค้างในร่างกาย
2) ผู้ปุวยโรคเกี่ยวกับกลุ่มอาการเส้นลมปราณตับ มีสาเหตุเกิด
จากสภาวะความหนาวหรือความร้อนกระทบกับตับ หรือมีเสมหะสะสม
อยู่ภายใน อารมณ์ทั้งเจ็ดไม่ปกติ หรือความเจ็บปวดต่าง ๆ ทั้งหมดนี้ทาให้
ชี่ของตับไม่สามารถผ่อนคลาย การกระจายและระบายไม่คล่อง ระบบชี่
ของตับไม่ครอบคลุมเส้นเลือด เส้นเอ็นจะตึงแน่น ชี่กับเลือดไม่เ ก็บกัก
การหดขยายของหลอดเลือดไม่ปกติ ทาให้พลังขับเคลื่อนโดนรัดแน่น
เกิดชีพจรตึงแน่นขึ้นมา
3) โรคที่ร้ายแรง จะพบชีพจรตึง เหมือนจับอยู่บนคมมีด เมื่อใช้
นิ้วสัมผัสจะรู้สึกทั้งคมและแข็งแสดงว่าเว่ย์ชี่ (胃气) ใกล้จะหมดสิ้น
25
4) การเปลี่ยนแปลงของฤดูก าล จะมี ส่วนเกี่ ยวข้องกั บ การ
เปลี่ยนแปลงของชีพจร เช่น ปลายฤดูหนาว หยางชี่กาลังจะลอยขึ้น
เมื่อถึงต้นฤดูใบไม้ผลิ จึงพบชีพจรตึงในคนปกติ สาเหตุเกิดจากอากาศ
เปลี่ยนแปลง
5) ถ้าพบในวัยกลางคนที่ร่างกายแข็งแรง ชีพจรตึงถือว่าเป็นปกติ
ส่วนในผู้สูงอายุชีพจรจะมีลักษณะตึงแข็ง เพราะอสุจิและเลือดจะเสื่อม
พร่องตามธรรมชาติ ในกรณีนี้ก็ถือว่าเป็นปกติ แพทย์จีนจูตันซี (朱丹
溪) กล่าวไว้ว่า “ชีพจรขาดสารน้าก็ไม่อ่อนนุ่ม ถ้าอายุเลย 40 ปีขึ้นไป
อินชี่จะเหลือเพียงครึ่งเดียว เพราะเหตุนี้เมื่อคนเราอายุมากขึ้น อสุจิและ
เลือดจะลดน้อยลง หลอดเลือดขาดสารน้าหล่อเลี้ยง ทาให้ความอ่อนนุ่ม
ของชีพจรน้อยลงหรือ แข็งด้านขึ้น เหล่านี้ล้วนเกิดจากสภาพร่างกาย
เสื่อมถอยไปตามธรรมชาติ”
6) ชีพจรตึง ลื่น อ่อน เบา และเป็นเส้นตรง มักพบในคนปกติ
หรือผู้ปุวยที่เป็นโรคไม่ร้ายแรง
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเป็นเส้นตรง
ตึงเหมือนสัมผัสสายขิม
ภาพแสดงเสียนม่าย
26
(23) จิ่นม่าย (紧脉): ชีพจรตึงแน่น
ลักษณะชีพจร: ชีพจรตึงแน่นกระชั้นเหมือนเชือกหมุนเป็นเกลียว
เมื่อใช้นิ้วกดทั้งซ้ายและขวาเหมือนมีแรงต้านกลับ ตึงและมีแรงมากกว่า
เสียนม่าย โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่งบ่งบอกโรคที่แตกต่างกัน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลัก ษณะนี้ มักเป็นโรคกลุ่มอาการเย็น
แกร่ง เนื่องจากความเย็นกระทบกับร่างกาย ท าให้หลอดเลือดหดตัว
เส้นหลอดเลือดแน่นหนากระชั้นมากขึ้น ก่อให้เกิดอาการเจ็บปวด ปวด
เมื่อย อาหารไม่ย่อยตกค้าง
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นตึงแน่นกระชั้นเหมือนเชือกหมุนเป็นเกลียว
ภาพแสดงจิ่นม่าย
(24) เก๋อม่าย (革脉): ชีพจรลอยตึง
ลักษณะของชีพจร: การเต้นของชีพจรจะลอยตึงแน่น เมื่อกด
แรงช่วงกลางจะว่างเปล่า ช่วงนอกแข็งเปรียบเหมือนความตึงของหนัง
กลอง เมื่อใช้นิ้วสัมผัสชีพจรแล้ว มีความรู้สึกว่าชีพจรตึงแน่นมากคล้าย
กับเสียนม่าย แต่พอกดแรงลงไปถึงหลอดเลือด ส่วนกลางจะว่างเปล่า
หลอดเลือด จะแข็งกว่าโควม่าย
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปุวยภาวะไตพร่อง
จิงและเลือดพร่อง อสุจิไม่เก็บกัก ภูมิต้านทานไม่แข็งแรง มักจะพบใน
27
ผู้ปุวยที่ขาดเลือด เสียเลือด สูญเสียอสุจิมาก สตรีตกเลือด สตรีมีครรภ์
แท้งบุตร หรือประจาเดือนมามาก
หายใจ 1 ครั้ง
ผิวหนัง
ชีชุพ่นจรลอยตึงแน่น
กระดูก
ภาพแสดงเก๋
อม่าย
ชีพจร
ความตึงเปรียบเหมือนหนังกลอง
(25) หรูม่าย (濡脉): ชีพจมตึ
จรลอยอ่
ง อน
แน่อนนนุ่มเล็กไม่มีแรง เหมือนกับเกสร
ลักษณะชีพจร: ชีพจรลอยอ่
ดอกไม้ลอยอยู่บนน้า ใช้นิ้วสัมผัสเบา ๆ จะมีชีพจรเต้น กดหนักเกินไป
จะไม่ชัดเจน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักพบในผู้ปุวยกลุ่มอาการพร่อง
ร่างกายอ่อนแอ ความชื้นอุดกั้น ส่วนมากจะพบในสตรีที่มีประจาเดือน
มาก ตกเลือด เลือ ดไหลไม่ ห ยุด หรือ กะปริดกะปรอย เหน็ดเหนื่อย
อ่อนเพลียง่าย ในเพศชายที่สูญเสียอสุจิมาก หรือท้องเสียเรื้อรัง ชี่พร่อง
เหงื่อออกง่าย เหนื่อยหอบ หายใจสั้น
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรลอยอ่อนนุ่ม
เล็กไม่มีแรง
ผิวหนัง
28
ภาพแสดงหรูม่าย
(26) เจี๋ยม่าย (结脉): ชีพจรเต้นช้าและจังหวะหยุดไม่แน่นอน
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรจะเต้นช้ากว่าปกติ ไม่สม่าเสมอ เต้น
แล้วหยุด จัง หวะไม่แน่นอน โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่ง บ่ง บอกโรคที่
แตกต่างกัน
การวินิจฉัย โรค: ชีพ จรลัก ษณะนี้มั ก เกี่ ยวกั บ อินแกร่ง ชี่ตีบ
เพราะชี่กับเลือดคั่งและเสมหะหรืออาหารตกค้าง ความเย็นปิดกั้นระบบ
เส้นลมปราณ ( 经络 จิง ลั่ว) ท าให้พ ลัง หยางชี่ ของหัวใจถูก ปิดกั้ นเลือด
ไหลเวียนไม่คล่อง การเต้นของชีพจรจะช้าและฝืดแต่มีพลัง ถ้าชี่พร่อง
กับเลือดน้อย ทาให้ก ารเต้นของชีพจรช้าฝืดไม่มี แรง มีจังหวะหยุดไม่
แน่นอน
หายใจ 1 ครั้ง
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นช้า
จังหวะหยุดไม่แน่นอน
ภาพแสดงเจี๋ยม่าย
(27) ใต้ม่าย (代脉): ชีพจรเต้นช้า มีจังหวะหยุดแน่นอน
29
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรเต้นช้าและอ่อน ชีพจรอ่อนกว่าเจี๋ย
ม่าย มีจังหวะหยุดแน่นอนและนานกว่า บางครั้งเต้นอ่อน บางครั้งเต้น
เร็ว หรือเต้นช้าไม่ สม่ าเสมอ โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่ง บ่ง บอกโรคที่
แตกต่างกัน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวข้องกั บจั้งชี่ ( 脏气)
คือ พลังชี่ของอวัยวะตันภายใน (จั้ง) ทั้ง 5 อ่อนแรงมาก ชี่กับเลือดพร่อง
ทาให้ม่ายชี่ (脉气) หมุนเวียนไม่สม่าเสมอ มีการหยุดเต้นสักพัก แล้วจึง
กลับมาเต้นใหม่ สามารถพบในผู้ปุวยโรคเหน็บชา อาการเจ็บปวดต่าง ๆ
เกี่ยวกับอุบัติเหตุบอบช้า หรือเกี่ยวกับอารมณ์ทั้งเจ็ดแปรเปลี่ยนอย่าง
มาก เหตุของโรคต่าง ๆ เหล่านี้ทาให้ชี่ปิดกั้น การหมุนเวียนของเลือด
ติดขัด หากพบเจี๋ยม่ายหรือใต้ม่าย โรคเหล่านี้ส่วนมากจะพบในผู้ปุวยที่
มีความผิดปกติของหัวใจ
ชีพจรเต้นช้า
แล้วหยุด
มีจังหวะแน่นอน
หายใจ 1 ครั้ง
หายใจ 1 ครั้ง
ภาพแสดงใต้มา่ ย
(28) ชู่ม่าย (促脉): ชีพจรเต้นเร็ว มีจังหวะหยุดไม่แน่นอน
ลักษณะของชีพจร: ชีพจรเต้นเร็วกว่าปกติ ไม่สม่าเสมอ เต้น
แล้วหยุด จังหวะหยุดไม่แน่นอน โดยพบได้ทั้ง 3 ระดับ ซึ่งบ่งบอกโรคที่
แตกต่างกัน
การวินิจฉัยโรค: ชีพจรลักษณะนี้มักเกี่ยวข้องกับโรคความร้อน
กับหยางชี่แกร่ง เป็นสาเหตุของโรคหยางแกร่งรุนแรง พลังความร้อนเผา
30
ผลาญมาก ผลักดันให้เลือดวิ่งเร็ว ทาให้อินชี่ของเลือดน้อยลง ชี่ในหัวใจ
ถูกทาลาย เลือดไหลเวียนติดขัดไม่สามารถเชื่อมต่อกัน ชีพจรจะเต้นเร็ว
มีแรงแล้วหยุด และจังหวะหยุดเต้นไม่แน่นอน
อีกประเภทหนึ่งคือ จั้งชี่กับอินชี่สูญเสีย ทาให้อ่อนแอมาก พลัง
แห่งชีวิตใกล้จะสูญสิ้น ทาให้การหมุนเวียนของชี่และเลือดติดขัด ชีพจร
จะเต้นเร็วไม่มีแรง หยุดไม่สม่าเสมอ
หายใจ 1 ครั้ง
ชีพจรเต้นเร็ว
เต้นแล้วหยุด จังหวะ
หยุดไม่แน่นอน
ภาพแสดงชูม่ ่าย
ภาพแสดงชูม่ ่าย
หายใจ 1 ครั้ง
31
เภสัชยราชา ซุนซือเหมี่ยว〈孙思邈〉
ต้าอีจิงเฉิง《大医精诚》
32
“การจะเป็นแพทย์จีนที่ ยิ่งใหญ่นั้น สิ่งที่จะต้องมีคือ การมีจิตใจเมตตา
กรุณาและมีหลักการที่สูงส่ งต่อวิชาชีพแพทย์จีน มีความตั้งใจจริง และรับผิดชอบ
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ให้ลึกซึ้งถึงแก่นแท้ของแพทย์จีน เพราะการแพทย์นั้นเป็น
เรื่องละเอียดอ่อนต้องศึ กษาให้ร อบรู้ ทุกด้าน ไม่ ใช่เป็นเพียงการรับรู้แบบผิวเผิ น
จะต้ องมี ความจริ ง ใจ ตั้ ง ใจศึ กษาและรั บ ผิ ด ชอบอ่ อนน้ อมถ่ อมตนโดยไม่ คิ ด ว่ า
ตนเองเก่งแต่เพียงผู้เดียว หมั่นหาความรู้เพิ่มเติม ซื่ อสัตย์ต่อวิชาชีพ เพื่อช่วยให้
ผู้ป่วยพ้นจากโรคภัยไข้เจ็บโดยไม่มีจิตใจแอบแฝงเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน
เวลารักษาโรค จะต้องมีจิตที่แน่วแน่ มีสมาธิ ไม่คิดเรื่องอื่นใด โดยตั้งใจที่
จะช่วยเหลือคนไข้ให้พ้นทุกข์จากโรคภัยไข้เจ็บ หากมีคนไข้มาขอให้รักษาจะต้องรักษา
โดยไม่มีข้อแม้ใดๆ ถึง ฝนตกฟ้าร้อง อากาศหนาวเย็นหรื อร้อน ทั้ง กลางวั น และ
กลางคืน ร่างกายหิวโหยอ่อนเพลียเพียงใดก็ตาม ก็ต้องไป ไม่กลัวว่าตัวเองจะเสี่ยง
อันตราย ไม่ บ่ายเบี่ยง ไม่คานึง ถึงฐานะ ไม่ ว่าเป็นมิตรหรือศัตรู หรื อเชื้อชาติใ ด
ต้องคิดว่าทุกคนนั้นเท่าเทียมกันหมด ดูแลรักษาคนไข้ทุกคนให้เหมือนกับญาติมิตร
ของตน ถ้าปฏิบัติตนได้ตามที่กล่าวมานี้ก็จะเป็นแพทย์จีนที่ประเสริฐอย่างยิ่ง”
เภสัชยราชา ซุนซือเหมี่ยว〈孙思邈〉
แปลโดย แพทย์จีนทรงคุณวุฒิ จรัส ตั้งอร่ามวงศ์
แพทย์จีน ธีรวัฒน์ ตั้งอร่ามวงศ์
33
การวิเคราะห์โรคด้วยปากังเปี้ยนเจิ้ง
โรค (病 ปิ้ง) หมายถึง รูปแบบของอาการเจ็บป่วยที่มีการดาเนิน
ไปตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นลักษณะภาพรวมในกลุ่มคนที่เ จ็บ ป่วยด้วยโรค
เดียวกัน นอกจากอาการเจ็บป่วยที่ แสดงออกทางคลินิก จะมีรูปแบบ
พื้นฐานอาการเดียวกัน เรายังสามารถคาดการณ์ล่วงรู้ถึงอาการเจ็บป่วย
ที่ แสดงออกในแต่ล ะช่ว งเวลาของพยาธิส ภาพที่ ก าลัง ดาเนินไปหรื อ
ย้อนกลับ สิ่งนี้เองที่แพทย์จีนนามาใช้วินิจฉัย (เปี้ยนเจิ้ง) หรือ วิเคราะห์
กลุ่มอาการเพื่อเป็นแนวทางการรักษา
การเปี้ยนเจิ้งของแพทย์จีนมักเน้นเหตุปัจจัยก่อโรคกับปฏิกิริยา
ของร่างกายที่ตอบสนองต่อโรคในขณะนั้น ๆ จึงเป็นที่มาของ “โรคชนิด
เดียวกัน แต่รักษาต่างกัน” เพราะปฏิกิริยาตอบสนองต่อโรคของแต่ละคน
ต่างกัน โรคต่างชนิดกันวิธีการรักษาเป็นแบบเดียวกัน เพราะปฏิกิริยา
ตอบสนองต่อโรคมีกลไกการดาเนินของโรคแบบเดียวกัน หากเราเข้าใจก็
จะทราบว่าทาไม “โรคต่างชนิดกันจึงมีกลุ่มอาการเดียวกัน ” และ “โรค
ชนิดเดียวกันจึงมีกลุ่มอาการต่างกันได้”
เปี้ยนเจิ้ง (辩证) หรือ การวินิจฉัยแยกกลุ่มอาการ เป็นกระบวน
ทางความคิดในการวินิจฉัยให้ทราบถึงกลุ่มอาการที่ครบถ้วนของอาการ
เจ็บป่วย โดยจะต้องอาศัยทฤษฎีพื้นฐานของศาสตร์การแพทย์แผนจีน
เป็นแนวทางชี้นาเพื่อให้ได้มาถึงข้อมูล (อาการทางคลินิก) แล้วทาการ
วิเคราะห์ ประมวล ก่อนจะตัดสินมูลฐานของอาการป่วย ณ เวลานั้น ๆ
ว่าตาแหน่งของโรค สาเหตุของโรค และคุณลักษณะของโรค ให้ออกมา
เป็นชื่อกลุ่มอาการป่วยด้วยอาการชนิดใด
34
กระบวนขัน้ ตอนทางความคิดในการเปี้ยนเจิ้ง
(1) ต้องใช้การตรวจพื้นฐาน 4 ประการ (四诊 ซื่อเจิ่น) เก็บ
รวบรวมข้อมูลทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับอาการเจ็บป่วย ณ เวลานั้น
(2) จับประเด็นหลัก (กลุ่มอาการหลัก อาการรอง อาการร่วม)
ที่เ กี่ยวข้องโดยใช้แนวทางชี้นาจากทฤษฎีความรู้พื้นฐานแพทย์จีนมา
วิเคราะห์ประมวลเพื่อเปี้ยนเจิ้ง
(3) เลือกใช้วิธีการเปี้ยนเจิ้งชนิดต่าง ๆ เช่น การวินิจฉัยแยก 8
กลุ่มอาการหลัก (八纲辨证 ปากังเปี้ยนเจิ้ง)
(4) พิจารณาจากอาการหลักของผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ เพื่อหา
ตาแหน่งของโรคโดยอาศัยการวินิจฉัยแยกกลุ่มอาการอวัยวะภายใน ( 脏
腑辨证 จั้งฝู่เปี้ยนเจิ้ง)
การวิเคราะห์โรคด้วยปากังเปี้ยนเจิ้ง (八钢辨证)
ปากังเปี้ยนเจิ้ง เป็นการแยกกลุ่มอาการที่ซับซ้อนให้ดูง่ายขึ้นโดย
วิเคราะห์จากหลักทั้งแปด ได้แก่ อิน-หยาง นอก-ใน เย็น-ร้อน พร่อง-แกร่ง
แม้อาการจะสลับซับซ้อน แต่ถ้าใช้หลักทั้งแปดนี้ จะสามารถแยกแยะได้ว่า
- ตาแหน่งอยู่ที่ไหน (นอก-ใน: 表里 เปี่ยวหลี)่
- โรคมีลกั ษณะอย่างไร (เย็น-ร้อน: 寒热 หานเร่อ)
- สภาพร่างกายเป็นอย่างไร (แกร่ง-พร่อง: 虚实 ซฺวีสือ)
- อาการเจ็บป่วยนั้นจัดเป็นกลุ่มของอินหรือกลุ่มหยาง (อินหยาง 阴阳)
ในกรณีวิเคราะห์โรคจากหลักทั้งแปดจะแบ่งกลุ่มอาการเป็นคู่
ดังนี้
35
(1) กลุ่มอาการภายนอก-ใน (表里 เปี่ยว-หลี่) เป็นการวินิจฉัย
แยกว่าบริเวณที่เป็นโรคมีความตื้นลึกเพียงใด โดยส่วนนอกและส่วนใน
ของร่างกายเป็น 2 สิ่งที่ตรงกันข้ามกันตามทฤษฎีอิน-หยาง กลุ่มอาการ
นอก-ใน เป็นการแสดงถึงความลึกของโรค (ตาแหน่งของโรค) ทิศทางของ
การดาเนินโรค (ในออกสู่นอกหรือนอกเข้าสูใ่ น) และอาการหนักหรือเบา
1) กลุ่มอาการภายนอก (表证 เปี่ยวเจิ้ง) เกิดจากสาเหตุ
ภายนอก (邪气 เสียชี่) โดยเฉพาะจากอากาศทั้ง 6 กระทบร่างกาย พบ
ได้บ่อยในระยะต้น ๆ ของโรค มีอาการฉับ พลันหรือระยะเจ็บ ป่วยสั้น
อาการที่แสดงออก ได้แก่ กลัวหนาวหรือกลัวลม มีไข้ตัวร้อนพร้อมกับมี
ฝ้าบางที่ลนิ้ และชีพจรลอย อาจมีปวดศีรษะ หรือปวดกล้ามเนื้อ มีน้ามูก
ไอ คอแห้ง เจ็บคอ โดยระยะนี้เว่ย์ชี่ (卫气 ภูมิต้านทาน) บริเวณผิวกาย
ยังสามารถปะทะเสียชี่ได้อยู่
2) กลุ่มอาการภายใน (里证 หลี่เจิ้ง) เกิดจากสาเหตุ 3 ประการ
คือ กลุ่มอาการภายนอกที่รักษาไม่หาย หรือไม่ได้ขจัดเสียชี่ออกไป ทาให้
โรคเข้าสู่ภายใน หรือเสียชี่ภายนอกรุนแรงเข้าสู่อวัยวะภายในโดยตรง หรือ
เกิดจากอารมณ์ทั้ง 7 ภายในร่างกาย หรือการกินอาหารผิดสุขลักษณะ
หรือทางานหนัก พักผ่อนไม่เพียงพอ การเจ็บป่วยภายในมีผลต่ออวัยวะ
ภายใน ชี่ เลือด ไขกระดูก ทาให้การทางานผิดปกติไป อาการทั่วไปที่พบ
ได้แก่ ไข้ตัวร้อน (มากกว่า 39 องศาเซลเซียส) หงุดหงิด กระสับกระส่าย
ขาดสติสัมปชัญญะ กระหายน้า ปวดท้อง ท้องผูก หรือท้องเสีย อาเจียน
ปัสสาวะสีเข้มและน้อย อาจหมดสติ ลิ้นมีฝ้าเหลืองหนา ชีพจรจม หากมี
อาการหนาว หรือไข้อย่างใดอย่างหนึ่ง จะเป็นกลุ่มอาการหลี่เจิ้งซึ่งเกิดจาก
ความผิดปกติขึ้นที่อวัยวะภายใน การดาเนินโรคจะค่อยเป็นค่อยไปและ
หายช้า
36
ตารางที่ 1 ความแตกต่างระหว่างกลุ่มอาการภายนอกและกลุ่มอาการ
ภายใน
กลุ่มอาการ
อาการ
การดาเนินโรค
ลิ้นฝ้า
ชีพจร
กลุ่มอาการภายนอก
ไข้ตัวร้อน กลัวหนาว
ระยะเริ่มต้น สั้น ๆ
ลิ้นฝ้าบาง
ลอย
กลุ่มอาการภายใน
ไข้ หรือหนาว อย่างใดอย่างหนึ่ง
ช่วงปลาย ๆ ของโรคนาน
ฝ้ามีการเปลีย่ นแปลง
จม
3) กลุ่มอาการกึ่งนอกกึ่งใน (半表里 ปั้นเปี่ยวปั้นหลี่) เป็น
กลุ่มอาการจากภายนอกเข้าสู่ภายใน แต่ไม่ได้เข้าสู่ภายในทีเดียว หรือ
จากภายในสู่ภายนอกก็ได้ในลักษณะก้ากึ่ง เกิดจากเจิ้งชี่ (正气) แข็งแรง
แต่ไม่สามารถขับเสียชี่ออกไปจากร่างกายได้ และเสียชี่ก็ไม่สามารถเข้าสู่
ภายในร่างกายได้เช่นกัน อาการที่พบ ได้แก่ ร้อน ๆ หนาว ๆ ไม่สบายตัว
ปวดเสียดแน่นชายโครง อึดอัดที่ทรวงอกและลิ้นปี่ เบื่ออาหาร อาเจียน
คอแห้ง ตามัว เช่น โรคมาลาเรีย และกลุ่มอาการเส้าหยาง (少阳)
(2) กลุ่มอาการเย็น-ร้อน (寒热 หาน-เร่อ) เป็นการแสดงออก
จากพื้นฐานของร่างกาย และภาวะของอิน-หยางที่แกร่งหรือพร่อง ความ
เย็น เกิดจากความเย็นกระทา ทาให้หยางในร่างกายเสื่อม สาเหตุจาก
ความเย็นจากภายนอกมากระทา หรือการรับประทานอาหารที่มีรสเย็น
เกินไป หรือหยางภายในร่างกายพร่อง ความร้อนสาเหตุจากความร้อน
ภายนอกมากระทา หรืออินในร่างกายพร่องหรืออ่อนแอลง การวินิจฉัย
ไม่สามารถแยกอันใดอันหนึ่งได้จะต้องดูอาการทั้งหมดก่อนโดยดูในเรื่อง
ความเย็น-ความร้อน กระหายน้าและกลุ่มอาการความเย็น-ความร้อนอื่น ๆ
37
แขนขาทั้งสี่ข้าง การขับถ่าย ลิ้นและฝ้าบนลิ้น รวมทั้งชีพจร สรุปได้ดัง
ตารางที่ 2
ตารางที่ 2 สาเหตุและอาการของกลุม่ อาการความเย็นและความร้อน
กลุ่มอาการความเย็น
สาเหตุ ความเย็นภายนอก (เย็นแกร่ง)
หยางภายในพร่อง (เย็นพร่อง)
อาการ กลัวหนาว ชอบอุ่น ปากไม่มี
รสชาติ ไม่กระหายน้า สีหน้า
ซีดไม่มีสีเลือด แขนขาเย็น
ชอบนอน นอนขดตัว อุจจาระ
เหลว ปัสสาวะใสมีปริมาณ
มาก
ลิ้นและฝ้า ลิ้นซีด ฝ้าขาวชื้น
ชีพจร ตึงและช้า
กลุ่มอาการความร้อน
ความร้อนภายนอก (ร้อนแกร่ง)
อินภายในพร่อง (ร้อนพร่อง)
ไข้ตัวร้อน ชอบความเย็น กระหาย
น้าเย็น หน้าแดง ตาแดงไอเป็น
เลือด เลือดกาเดาออก น้ามูกข้น
เหลือง ไวต่อความรู้สึก อยู่ไม่สุข
กระสับกระส่าย แขนขาอุ่น
ท้องผูก ปัสสาวะน้อยข้น
ลิ้นแดง ฝ้าน้อยสีเหลือง
เร็ว
นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการเย็นและร้อน
ดังนี้คือ เกิดพร้อมกัน เปลี่ยนจากหนาวไปร้อน หรือร้อนไปหนาว เมื่อโรค
ถึงระยะร้ายแรง มีร้อนแท้เย็นเทียม หรือเย็นแท้ร้อนเทียมเกิดพร้อมกัน
มีร้อนด้านบน เย็นด้านล่างพบได้บอ่ ย อาการร้อนด้านบน ได้แก่ ปอดเกิด
การไอ มีเสมหะเหลือง เจ็บคอ กระหายน้า อยากดื่มน้าเย็น อาการเย็น
ด้านล่าง ได้แก่ ปวดท้องซึ่งอาการดีขึ้นโดยใช้ความอบอุ่นและถ่ายเหลว
กลุ่มอาการร้อนบนเย็นล่าง หรือเย็นบนร้อนล่าง เป็นอาการ
เจ็บป่วยทีแ่ สดงอาการออกตรงข้ามกัน แต่เกิดในเวลาเดียวกัน มักบ่งบอก
38
ให้ทราบถึงกลไกของโรคมีการดาเนินโรคที่ต่างกัน ซึ่งหากบนเย็นล่างร้อน
หมายถึง อินมีมากส่วนบนและหยางมีมากในส่วนล่าง เมื่อบนร้อนล่างเย็น
เป็นกลไกก็กลับตรงข้ามกัน
เกิดการเปลี่ยนแปลงระหว่างเย็นและร้อน
1) เย็นเป็นร้อน ได้แก่ เสียชี่ที่เป็นความเย็นกระทบร่างกาย
เกิดอาการเย็นนอก มีอาการกลัวหนาว และหากร่วมกับมีไข้ ปวดเมื่อย
ไม่มีเหงื่อ ลิ้นมีฝ้าขาว และชีพจรลอยตึง และหากโรคกาเริบเข้าสู่ร่างกาย
อาการของความเย็นจะหายไป เกิดมีอาการไข้ และกลุ่มอาการความร้อน
เช่น ไวต่อความรู้สึกกระหายน้า ฝ้าสีเหลือง
2) ร้อนเป็นเย็น ได้แก่ ผู้ป่วยก าลังมี ไข้สูง เหงื่อออกมาก
กระหายน้า ไวต่อความรู้สกึ ชีพจรเต้นเร็ว ต่อมามีอาการแขนขาเย็นเฉียบ
และซีด ชีพจรจมช้า การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ขึ้นกับกาลังของเสียชี่และ
เจิ้งชี่ว่าปัจจัยใดจะแกร่งหรือพร่องกว่ากัน ก่อให้เกิดอาการผิดปกติขึ้น
3) เย็นและร้อนเทียม การแยกเทียมและแท้ให้สังเกตจาก
การเต้นของชีพจร แรงหรืออ่อน ลิ้นซีดหรือแดง ฝ้าชื้นหรือแห้ง กระหาย
น้าหรือไม่ ต้อ งการดื่ม น้าเย็นหรือ น้าอุ่ น มีอาการร้อนที่ ห น้าอก-ท้ อง
หรือไม่ ปัสสาวะสีเข้มหรือใส ผู้ป่วยหนาวใช้ผ้าห่มหรือไม่
39
ตารางที่ 3 แสดงอาการและสาเหตุของกลุม่ อาการร้อนภายในเย็นเทียม
ภายนอกและกลุ่มอาการเย็นภายในร้อนเทียมภายนอก
ร้อนภายในเย็นเทียมภายนอก
อาการ มือเท้าเย็น แต่มีความร้อนใน
หน้าอก ไม่กลัวหนาว แต่กลัว
ร้อน กระหายน้าเย็น ไวต่อ
ความรู้สึก คอแห้ง กลิ่นหายใจ
แรง ปัสสาวะน้อยและข้น
ท้องผูก
สาเหตุ ร้อนแกร่งถูกกักอั้นอยู่ภายใน
ขวางไม่ให้หยางชี่ออกสู่ภายนอก
ลิ้นและฝ้า ลิ้นแดงมีฝ้า
ชีพจร
จมและแรง
เย็นภายในร้อนเทียมภายนอก
ไข้ หน้าแดง กระหายน้า ชอบ
อุ่นกลัวหนาว ต้องการห่มผ้า
และดื่มน้าอุ่น ปัสสาวะใส
อุจจาระอ่อน
อินแกร่งภายในขับดันหยางชี่
ออกสู่ภายนอก
ลิ้นซีดฝ้าขาว
ลอยและอ่อน
นอกจากนี้ สามารถนาความสัมพันธ์เปี่ยว-หลี่ (นอก-ใน) และ
หาน-เร่อ (เย็น-ร้อน) มาร่วมวิเคราะห์บอกคุณสมบัติและตาแหน่งของ
โรคได้ ดังนี้
1) กลุ่มอาการเย็นภายนอก ( 表寒证 เปี่ยวหานเจิ้ง) เกิด
จากปัจจัยภายนอกความเย็นมากระทา มีอาการไข้ตัวร้อนและกลัวหนาว
เวลาเดียวกัน แต่กลัวหนาวมากกว่า ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ไม่มี
เหงื่อ ลิ้นฝ้าขาวบางและชื้น ชีพจรลอยตึง
2) กลุ่มอาการเย็นภายใน (里寒证 หลี่หานเจิ้ง) เกิดจาก
ปัจจัยภายนอกความเย็นเข้าสู่ภายในโดยตรง (ภาวะแกร่ง) หรือปัจจัย
ภายในพร่อง หยางชี่ในร่างกายไม่พอ ร่วมกับมีอาการของอวัยวะภายใน
40
ผิดปกติด้วย มีอาการตัวเย็น มือเท้าเย็น ใบหน้าขาวซีด ปากจืด ไม่กระหาย
น้า ถ้าดื่มน้าเป็นน้าอุ่น ชอบอยู่นิ่ง ๆ ไม่ค่อ ยพูด ปัสสาวะมากและใส
ถ่ายเหลว ลิ้นซีด ฝ้าขาวชุ่มชื้น ชีพจรจมช้า
3) กลุ่มอาการร้อนภายนอก (表热证 เปี่ยวเร่อเจิ้ง) เกิดจาก
ปัจจัยภายนอกความร้อนมากระทา มีอาการไข้ตัวร้อนมากกว่ากลัวหนาว
หรือกลัวลม ปวดศีรษะ มีเหงื่อ ลิ้นสีแดงบริเวณปลาย ๆ หรือขอบ ๆ ฝ้า
อาจจะเหลืองหรือไม่ก็ได้ ชีพจรลอยเร็ว
4) กลุ่มอาการร้อนภายใน (里热证 หลี่เร่อเจิ้ง) เกิดจาก
ปัจจัยภายนอกความร้อนเข้าสู่ภายในโดยตรง (ภาวะแกร่ง ) หรือปัจจัย
ภายนอกประเภทอื่นเข้าสู่ภายในแล้วแปรสภาพเป็นความร้อนภายหลัง
หรือเกิดจากปัจจัยภายในพร่อง คือ อินภายในร่างกายไม่พอ เกิดความ
ร้อนขึ้นภายใน มีอาการไข้ตัวร้อน หน้าแดง กระหายน้า ชอบดื่มน้าเย็น
กระสับกระส่าย จิตใจไม่สงบ พูดมาก ปัสสาวะสีเข้ม ท้องผูก ลิ้นแดง ฝ้า
เหลือง ชีพจรเร็ว
(3) กลุ่มอาการแกร่ง-พร่อง (虚实 สือซฺวี) เป็นการสะท้อนถึง
เจิ้งชี่และเสียชี่ที่ต่อสู้กัน มีความแข็งแรงหรืออ่อนแอเป็นผลให้เกิดโรค
และความรุนแรงของโรค
1) กลุ่มอาการพร่อง (虚证 ซฺวีเจิ้ง) เกิดจากเจิ้งชี่ไม่พอหรือ
อ่อนแอ เสียชี่อาจมากหรือน้อยก็ได้ สาเหตุจากทุนกาเนิดไม่เพียงพอ (ไต)
หรือทุนที่สองผิดปกติ เกิดจากการรับประทานอาหารทีไ่ ม่ถูกต้อง อารมณ์
ทั้ง 7 มากระทา การทางานหนักมากเกินไป หรือสบายมากเกินไป หรือมี
เพศสัมพันธ์มากเกินไป หรือป่วยเรื้อรังหรือเสียเลือด-น้ามากเกินไป ทาให้
เกิดการไม่สมดุลของชี่ เลือด และของเหลวในร่างกาย
41
2) กลุ่มอาการแกร่ง (实证 สือเจิ้ง) เกิ ดจากเจิ้งชี่มี ม าก
แข็งแรง ส่วนเสียชี่ก็มีม าก ทาให้ เกิดการต่อสู้รุนแรง สาเหตุจากเสียชี่
จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม หรือโรคระบาด แมลงหรือสัตว์
ใหญ่ทาร้าย
เนื่องจากกลุ่มอาการแกร่ง-พร่องมีความสัมพันธ์กับอินหยาง ชี่
เลือด ของเหลวในร่างกาย และอวัยวะภายใน อาการทางคลินิกจึงมีความ
หลากหลายไม่ ส ามารถบอกได้แน่ นอน แต่ก็ พอที่ จ ะจ าแนกเพื่อเป็ น
แนวทางได้ดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4 แสดงลักษณะแสดงของกลุม่ อาการพร่องและแกร่ง
กลุ่มอาการพร่อง
ผอมมาก หายใจอ่อน ไม่อยาก
พูด ซีด ใจสั่น หายใจตื้น นอน
ไม่หลับ ความจาไม่ดี เหงื่อออก
เองและออกตอนกลางคืน
ขับถ่ายกลางคืนมาก อาการ
ปวดหายเมื่อกด
กลุ่มอาการแกร่ง
อาการ
ไข้ตัวร้อน หรือหนาวอย่างเดียว
เวียนศีรษะ อยู่ไม่สขุ พูดจาเพ้อ
เจ้อ เสียงก้อง มีชวี ิตชีวา เสียง
หายใจหยาบใหญ่ หายใจหอบ
ลึก ปอดและท้องขยายและแน่น
อาการปวดรุนแรงขึ้นเมื่อกด
ท้องผูกและปวดเบ่ง ปัสสาวะ
ลาบาก
ลิ้นและฝ้า ลิ้นแห้ง ไม่มีฝ้าหรือมีฝา้ เล็กน้อย ลิ้นหยาบ ฝ้าหนาและเหนียว
ชีพจร
พร่อง ไม่มีแรง
แกร่ง มีแรง
นอกจากนี้ ยัง มี ความสัม พั นธ์ร ะหว่างความพร่องและความ
แกร่งอื่น ๆ
42
ผลแทรกซ้อนของพร่องและแกร่ง บางครั้งอาการพร่องและแกร่ง
จะผลัดกันเด่นหรือมีพร้อม ๆ กัน ต้องแยกให้ออกว่าขณะนั้นอาการนั้น
เป็นของพร่องหรือแกร่งเด่น และให้การรักษาอะไรก่อน-หลัง-พร้อมกัน
การเปลี่ยนไปมาระหว่างพร่องและแกร่ง บางครั้งเสียชี่ค่อย ๆ
ลดความรุนแรงลง แต่เจิ้งชี่ยังไม่มีการทดแทนจากการรักษาที่ช้า ทาให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงจากแกร่งเป็นพร่อง เช่น ร้อนแกร่ง (ไข้ กระหายน้า
เหงื่อออก และชีพจรเร็วลอย) ถ้าเป็นอยู่เวลานาน และมีการใช้น้าของ
ร่างกายไปมาก ทาให้เกิดอาการพร่องตามมา ทาให้ผ่ายผอม ซีด เสียง
เบา มีฝ้าน้อยหรือไม่มีเลย และมีชีพจรเล็ก
ตารางที่ 5 แสดงลักษณะอาการของกลุ่มอาการแกร่งแท้พร่องเทียม และ
กลุ่มอาการพร่องแท้แกร่งเทียม
กลุ่มอาการแกร่งแท้พร่องเทียม
ขี้หนาว มือเท้าเย็น ชีพจรจม
เล็กและช้า เสียงปกติ หายใจลึก
มีอาการตึงแน่นในท้อง ท้องผูก
กลุ่มอาการพร่องแท้แกร่งเทียม
อาการ
อาการตึงปวดในท้อง อาการ
ปวดจะดีขึ้นในบางเวลา (ถ้า
แกร่งจะปวดตลอด) เมื่อกดแล้ว
ก็ไม่ได้ปวดแต่อาจทาให้ดขี ึ้น
ลิ้นและฝ้า ลิ้นแดง ฝ้าเหลือง ตัวลิ้นดูหยาบ ลิ้นซีดขาว อ้วนและอ่อนนุ่ม
ชีพจร
จมช้า แต่มแี รง
อ่อนเล็กจม ไม่มีแรง
ในกรณีพร่อง เจิ้งชี่ที่มีน้อยจะทาให้เกิดความผิดปกติของหน้าที่
ของอวัยวะบางชนิด ทาให้เกิดพยาธิสภาพภายในขึ้น ส่งผลให้เกิดอาการ
แกร่งหลายแบบ ซึ่งความแกร่งที่เกิดจากพื้นฐานความพร่องนี้ บางครั้ง
เรียกว่า ความพร่องซึ่งมีผลแทรกซ้อนเป็นความแกร่ง เช่น ชี่ของม้ามและ
43
ปอดพร่อง ทาให้เกิดความผิดปกติของการขนส่งและการเปลี่ยนแปลง
การกระจายลงทาให้เกิดพยาธิสภาพภายในขึ้น ได้แก่ เสมหะเกิดการคั่ง
ของเลือดและของเสียและความชื้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จัดเป็นลักษณะแกร่ง
(4) กลุ่มอาการอิน-หยาง (阴阳) เป็นการวิเคราะห์แบบหยาบ ๆ
ในภาพรวมว่า อาการเจ็บป่วยนั้นเป็นกลุม่ อิน เพื่อให้ง่ายในการสืบค้นว่า
โรคอยู่ภายนอกหรือภายใน ลักษณะอาการแกร่งหรือพร่อง กลุ่มอาการ
เย็นหรือร้อน
1) กลุ่มอาการอิน (阴证 อินเจิ้ง) พบในกลุ่มอาการภายใน
กลุ่มอาการความเย็น และกลุ่มอาการพร่อง ลักษณะเด่นคือ สีหน้าหมอง
คล้าไม่สดใส เสินไม่สดชื่น ปวดเมื่อยตัว ชอบนอน ปลายมือปลายเท้าเย็น
ขี้หนาว อ่อนเพลีย เสียงไม่มีพ ลัง เบื่ออาหาร ทานได้น้อย ปากจืด ไม่
กระหายน้า ปัสสาวะมากและใส อุจจาระเหลว ท้องเสีย ลิ้นซีดขาว อ้วน
และอ่ อ นนุ่ ม ชี พ จรจม ช้ า เล็ ก อ่ อ น ฝื ด แสดงถึง การท างานหรื อ
ประสิทธิภาพของอวัยวะเสื่อมถอยลง
2) กลุ่มอาการหยาง (阳证 หยางเจิ้ง) พบในกลุ่ม อาการ
ภายนอก กลุ่มอาการความร้อน และกลุ่มอาการแกร่ง ลักษณะเด่นคือ สี
หน้าแดง ตัวร้อน ปลายมือปลายเท้าอุ่น หงุดหงิดง่าย กระสับกระส่าย
กระวนกระวาย เสินไม่ สงบ หรือคลุ้ม คลั่ง เสียงพูดดัง หายใจดัง และ
หยาบ ไอหอบ เสมหะมาก กระหายน้ามาก ท้ อ งผูก และมี ก ลิ่นแรง
ปัสสาวะสีเข้มและน้อย ลิ้นแดง ฝ้าเหลือง (ถ้ารุนแรงฝ้าแห้ง ) ลิ้นมีตุ่ม
หนาม ชีพจรใหญ่ ลอย เร็ว และลื่น แสดงถึงภาวการณ์ตื่นตัวมาก ไม่อยู่
นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาก อาการดังกล่าวข้างต้น เป็นอาการโดยรวม ๆ
44
ตารางที่ 6 แสดงลักษณะอาการของกลุม่ อินพร่องและกลุ่มหยางพร่อง
สาเหตุ
อาการ
อินพร่อง
อินและจินไม่เพียงพอไปควบคุม
หยาง จนเกิดความร้อน กลาย
เป็นร้อนพร่อง
ผ่ายผอม ปากคอแห้ง วิงเวียน
ตาลาย ใจสั่น นอนไม่หลับ ร้อน
ทั้ง 5 ร้อนเป็นเวลา เต้าฮั่น
แก้มแดง
ลิ้นและฝ้า ลิ้นแดง มีฝา้ น้อย
ชีพจร
ชีพจร เล็ก เร็ว แต่ไม่ค่อยมีแรง
หยางพร่อง
หยางในร่างกายไม่เพียงพอ ไม่
สามารถควบคุมอินได้ เกิดความ
เย็น เป็นเย็นพร่อง
ไม่กระตือรือร้น อ่อนเพลีย ไม่มี
แรง ไม่ค่อยพูด ขี้หนาว ตัวเย็น
ปากจืด ไม่กระหายน้า ถ้าดื่มน้า
ก็เป็นน้าอุ่น สีหน้าซีดขาว
ปัสสาวะใสออกมาก อุจจาระเหลว
ลิ้นซีดขาว ฝ้าบาง
ชีพจรจม ช้า และไม่มีแรง
ตารางที่ 7 แสดงลักษณะอาการของกลุม่ หยางดับและกลุ่มอินดับ
อาการ
หยางดับ
เหงื่อออกเม็ดใหญ่ รสจืดและใส
ตัวเย็น ปลายมือปลายเท้าเย็น
เซื่องซึมไม่ค่อยตอบสนอง ลม
หายใจรวยริน สีหน้าซีดขาว
ลิ้นและฝ้า ลิ้นซีดขาวและชุ่มชื้น
ชีพจร
เล็กมาก
อินดับ
เหงื่อออกเม็ดใหญ่ รสเค็ม และ
มันเหนียวเหมือนไขมุก ตัวอุ่น
กระวนกระวาย กระสับกระส่าย
ขี้ร้อน กระหายน้ามาก ผิวหนัง
แห้งเหีย่ ว หน้าแดง ริมฝีปาก
แดงจัด ปัสสาวะน้อย
ลิ้นแดงและแห้ง
เล็กเร็ว เร็วมาก
45
นอกจากนี้ เมื่ออินและหยางภายในร่างกายพร่องลงมาก ๆ ถึง
ขีดสุดก่อให้เกิดกลุ่มอาการดังนี้คือ กลุ่มอาการหยางดับเป็นการเสื่อมลง
ถึงขีดสุดของหยางในร่างกาย กลุ่มอาการอินดับเป็นภาวการณ์ที่ของเหลว
ในร่างกายสูญเสียมากจนถึงขีดสุด
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์โรคทั้ง 8 หมวด
(1) มีอาการร่วมกัน หมายถึง มีกลุ่มอาการที่ไม่ตรงข้ามกัน 2
ถึง 3 กลุ่ม อาการปรากฏในเวลาเดียวกัน เช่น กลุ่มร้อนภายนอก กลุ่ม
เย็นภายนอก กลุ่มร้อนภายใน กลุ่มเย็นภายนอก กลุ่มร้อนภายใน กลุ่ม
เย็นภายใน กลุ่มพร่องภายใน (อาจเป็นกลุ่มร้อนพร่องภายใน หรือ เย็น
พร่องภายใน) กลุ่มแกร่งภายใน (กลุ่มร้อนแกร่งภายใน หรือเย็นแกร่ง
ภายใน)
(2) มีกลุ่มอาการที่ตรงข้ามกันปะปนผสมกันอยู่ในเวลาเดียวกัน
เช่น มีทั้งเย็นและร้อนปนกัน
(3) มีลักษณะอาการแปรเปลี่ยนไปมา โดยภายใต้เงื่อนไข ณ
เวลาหนึ่ง กลุ่มอาการที่ปรากฏอยู่นั้นจะเปลี่ยนไปในทิศทางตรงกันข้าม
เช่น จากกลุ่มภายนอกเปลี่ยนเป็นกลุ่มอาการภายใน กลุ่ม อาการเย็น
เปลี่ยนเป็นกลุ่มอาการร้อน เป็นต้น โดยมักเกิดจากเงื่อนไขบางประการ
ดังที่กล่าวไว้แล้ว เช่น ปริมาณกาลังของเสียชี่และเจิ้งชี่ในเวลานั้น สภาพ
พื้นฐานของร่างกาย การรักษาและดูแลพยาบาล เป็นต้น
46
หมอเทวดา เปี่ยนเชฺวยี่
หมอคนแรกทีเ่ ริ่มวิชาจับชีพจร
55
เอกสารที่ใช้ประกอบการเรียบเรียง
1. จรัส ตั้งอร่ามวงศ์, วราภรณ์ ตั้งอร่ามวงศ์, ธีรพงศ์ ตั้งอร่ามวงศ์, สุณี
จีระจิตสัมพันธ์. ศาสตร์การแพทย์แผนจีน. วารสารการแพทย์แผน
ไทยและการแพทย์ทางเลือก 2547; 2 (3): 64-74.
2. จรัส ตั้งอร่ามวงศ์, วราภรณ์ ตั้งอร่ามวงศ์, ธีรพงศ์ ตั้งอร่ามวงศ์, สุณี
จีระจิตสัมพันธ์. ศาสตร์การแพทย์แผนจีน. ตอนที่ 1 การตรวจชีพจร.
กรุงเทพมหานคร: ร้านพุ่มทอง, 2549.
3. จรัส ตั้งอร่ามวงศ์. ศาสตร์การตรวจชีพจร. [เอกสารแปลเพื่อการ
จัดท าฐานข้อ มู ล ศาสตร์ก ารแพทย์แผนจีน]. นนทบุรี: สถาบั น
การแพทย์ไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กรมพัฒนาการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, 2551.
4. โกวิท คัมภีรภาพ. ทฤษฎีพื้นฐานการแพทย์แผนจีน. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท นิวไวเต็ก จากัด, 2544.
5. วิทิต วัณนาวิบูล , สุร เกี ยรติ อาชานานุภาพ (กองบรรณาธิการ).
ทฤษฎีแพทย์จีน. พิ มพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิม พ์
หมอชาวบ้าน, 2540.
6. ลื อ ชา วนรั ต น์ , ทั ศ นี ย์ ฮาซาไนน์ , เย็ น จิ ต ร เตชะด ารงสิ น
(บรรณาธิการ). ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพมหานคร: สานักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2551.
47
วิธีรักษาโรคของแพทย์แผนจีน
วิธีการรักษาโรคของแพทย์แผนจีนมีหลายวิธี ซึ่งแต่ละวิธีล้วนมี
จุดเด่นในตัวเอง จากประสบการณ์อันยาวนานของแพทย์แผนจีน ทําให้
การรักษาโรคค่อย ๆ เป็นระบบมากขึ้น โดยทั่วไปวิธีการรักษาโรคของ
การแพทย์แผนจีน แบ่งเป็น 8 วิธี ดังนี้
1. วิธีขับเหงื่อ (汗法 ฮั่นฝ่า)
วิธีขับเหงื่อ คือ การรักษาโรคด้วยยาที่ไปขจัดสาเหตุของโรคที่
ส่วนนอกของร่างกายให้ออกไปจากร่างกายทางเหงื่อ ส่วนมากใช้รักษา
กลุ่มอาการ หรือโรคที่เกิดจากสาเหตุภ ายนอกของร่างกาย แบ่งเป็น 2
วิธี คือ
(1) วิธีขับเหงื่อด้วยยาที่มีรสเผ็ดและมีคุณสมบัติเป็นยาร้อน
ใช้รักษากลุ่มอาการโรคภายนอกของร่างกายที่เกิดจากลมและความเย็น
ซึ่งมีอาการกลัวหนาว มีไข้ต่ํา ๆ ปวดศีรษะ และปวดเมื่อยตัว
(2) วิธีขับเหงื่อด้วยยาที่มีรสเผ็ดและมีคุณสมบัติเป็นยาเย็ น
ใช้รักษากลุ่มอาการ หรือโรคที่มีสาเหตุจากภายนอกของร่างกายที่เกิด
จากลมและความร้อน ซึ่งมีอาการไข้สูง เจ็บคอ และกระหายน้ํา
การเสียเหงื่อมากจะทําให้สญ
ู เสียอินและชี่ไปด้วย การรักษาโรค
โดยวิธีขับเหงื่อจึงต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยที่มีอินพร่อง ชี่พร่อง
และ/หรือเลือดพร่อง ดังนั้นห้ ามใช้วิธีขับเหงื่อในผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการ
ภายในของร่างกายที่มีโรคหัวใจล้มเหลวและในผู้ป่วยที่มีร่างกายอ่อนแอ
มาก
48
อนึ่ง การใช้ยารสเผ็ดร้อนต้องไม่ให้มากเกินไป และต้องปรับชนิด
และขนาดของยาขับเหงื่อให้เหมาะสมกับลักษณะดินฟ้าอากาศในเขต
ร้อนด้วย
2. วิธีทาให้อาเจียน (吐法 ถูฝ่า)
วิธีทําให้อาเจียน คือ การรักษาโดยการขับเสมหะ น้ําลายที่คั่ง
อุดตันอยู่ในลําคอหรือทรวงอกออกจากร่างกายทางปาก ใช้รักษาผู้ที่
อาหารไม่ย่อยหรือรับประทานสารพิษเข้าไป
วิธีการรักษาโดยทําให้อาเจียนเป็นการรักษาโรคฉุกเฉิน จึงควร
ใช้เมื่อจําเป็นจริง ๆ เท่านั้น เพราะการอาเจียนทําให้สูญเสียอินและชี่
การอาเจียนทําให้เกิดการเปลีย่ นแปลงเฉียบพลันของความดันใน
ทรวงอกและท้อง จึงห้ามใช้วิธีกระตุ้นให้อาเจียนในผู้ป่วยโรคความดัน
โลหิตสูง หลอดเลือดแข็งตัว หลอดเลือดโป่งพอง โรคกระเพาะอาหาร
เป็นแผล วัณโรคปอดที่ มี เ ลือดออกง่าย หญิง มี ครรภ์ นอกจากนี้ควร
พิจ ารณาด้วยความระมั ดระวัง หากต้องใช้กับ ผู้ป่วยโรคหัวใจ และผู้ที่
ร่างกายอ่อนแอมาก
3. วิธีระบาย (下法 เซี่ยฝ่า)
วิธีระบาย คือ การขับสิ่งที่คั่งค้างอยู่ในกระเพาะอาหารและลําไส้
ได้แก่ อาหารที่ไม่ย่อย อุจจาระที่แข็ง ความเย็นคั่ง เลือดคั่ง หรือเสมหะ
และของเหลวคั่ง โดยการขับออกจากร่างกายทางทวารหนัก มี 4 วิธี คือ
(1) วิธีระบายด้วยยาที่มีคุณสมบัติเป็นยาเย็น เป็นการระบาย
ด้วยยารสขมเย็นหรือเค็มเย็นเป็นหลัก ร่วมกับยาที่ช่วยไหลเวียนลมปราณ
ส่วนมากใช้รักษากลุ่มอาการภายในของร่างกายที่เกิดจากความร้อนใน
49
ระบบลมปราณ กลุ่มอาการความร้อนชื้น หรือความร้อนคั่งในกระเพาะ
อาหารและลําไส้ กลุ่มอาการไฟเพิ่มสูงที่มีอาการเลือดออกง่าย อาหาร
เป็นพิษ และการรับประทานสารพิษ
(2) วิธีระบายด้วยยาที่มีคุณสมบัติเป็นยาอุ่น เป็นการระบาย
ด้วยยารสเผ็ดและอุ่นเป็นยาหลัก ร่วมกับยาระบายอื่น ๆ ยาจะช่วยเพิ่ม
การไหลเวียนของเลือด เพิ่มการบีบตัวของทางเดินอาหาร และเพิ่มการ
ย่อยอาหาร ใช้รักษากลุ่มอาการหยางของม้ามและกระเพาะอาหารพร่อง
รักษาความเย็นสะสมในกระเพาะอาหารและลําไส้ ซึ่งมีอาการท้องอืด
ปวดเย็นในท้อง ท้องผูก และมือเท้าเย็น
(3) วิธีระบายด้วยยาช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นในลาไส้เป็นหลัก
จะใช้ร่วมกับยาช่วยให้ลมปราณไหลเวียน ทําให้อุจจาระนุ่มขับถ่ายออก
ได้ง่าย ใช้รักษาอาการท้องผูกในผู้ป่วยที่ท้องผูกเป็นประจํา หรือท้องผูก
ในระยะฟื้นไข้ห ลังคลอด ผู้สูง อายุ ผู้ที่ มีร่างกายอ่อนแอ หรือผู้ที่เ ป็น
ริดสีดวงทวารหนัก
(4) วิธีระบายด้วยยาขับน้าออกจากลาไส้อย่างรุนแรง เป็น
การขับน้ําที่คั่งภายในร่างกาย เช่น น้ําในปอด ท้องมาน ยาจะทําให้ถ่าย
ท้องอย่างรุนแรง จึงควรใช้ในผู้ที่มีร่างกายแข็งแรงเท่านั้น
วิธีระบาย ส่วนมากใช้รักษากลุ่มอาการภายในของร่างกายหรือ
ความผิดปกติของทางเดินอาหาร ถ้ามีกลุ่มอาการโรคภายนอกร่วมด้วย
หรือเป็นกลุ่มอาการกึ่งภายนอกกึ่งภายใน ก็ควรรักษาไปพร้อมกัน มิฉะนั้น
โรคจะลุกลามจากภายนอกเข้าสู่ภายในแล้วทําลายลมปราณ ทําให้โรค
เป็นมากขึ้น วิธีนี้เป็นวิธีกําจัดสาเหตุของโรคที่ค่อนข้างรุนแรงและรวดเร็ว
50
มีผลข้างเคียง คือ ทําให้อินพร่อง จึงควรนํามาใช้เมื่อจําเป็นเท่านั้น และ
ควรใช้ด้วยความระมัดระวังในผู้ที่มีอิ นพร่อง ชี่พร่อง หญิงมีครรภ์ และ
หญิงมีระดู
4. วิธีประสาน (和法 เหอฝ่า)
วิธีประสาน คือ วิธีรักษาโรคโดยการปรับความผิดปกติให้พอดี
ทําให้อิน-หยางกลับมาอยู่ในสมดุล ช่วยเสริมลมปราณต้านทานโรคและ
ขจัดลมปราณก่อโรค ทําให้ร่างกายกลับเป็นปกติ ใช้รักษาความผิดปกติ
ของเลือดและลมปราณของอวัยวะภายใน กลุ่ม อาการกึ่ง ภายนอกกึ่ ง
ภายใน กลุ่มอาการร้อนปนเย็น ในทางคลินิก วิธีปรับสมดุลใช้บรรเทา
กลุ่มโรคซ่าวหยาง (少阳病) ปรับสมดุลตับและม้าม (ระบายตับ บํารุง
ม้าม) ปรับสมดุลตับกับกระเพาะอาหาร (สงบตับ ปรับกระเพาะอาหาร)
ปรับสมดุลกระเพาะอาหารกับลําไส้
5. วิธีให้ความอบอุ่น (温法 เวินฝ่า)
วิธีให้ความอบอุ่น คือ การรักษาโรคโดยการให้ความอบอุ่น ขับ
ไล่ความเย็นในอวัยวะภายในและเส้นลมปราณ แบ่งเป็น 3 วิธี คือ
(1) วิธีให้ความอบอุ่นจงเจียวเพื่อขับไล่ความเย็น เป็นการให้
ความอบอุ่นเพื่อกระตุ้นการทํางานของม้ามและกระเพาะอาหารให้สร้าง
ความร้อนขับไล่ความเย็น ใช้รักษากลุ่มอาการภายในที่เกิดจากความเย็น
เพราะหยางของม้ามและกระเพาะอาหารพร่อง การทํางานของม้ามและ
กระเพาะอาหารลดลง
(2) วิธีให้ความอบอุ่นเสริมหยาง ใช้รักษาอาการหยางชี่ของ
หัวใจและไตพร่อง
51
(3) วิธีให้ความอบอุ่นเส้นลมปราณขับไล่ความเย็น ส่วนมาก
ใช้รักษาอาการไหลเวียนเลือดและลมปราณติดขัดเนื่องจากความเย็นใน
เส้นลมปราณ ทําให้มีอาการปวดข้อ เคลื่อนไหวไม่สะดวก ซึ่งความอบอุ่น
จะช่วยขับไล่ความเย็น ทําให้เลือดและลมปราณไหลเวียนสะดวกขึ้น จึง
ช่วยบรรเทาอาการปวด
ห้ามใช้วิธีให้ความอบอุ่นรักษากลุ่มอาการของโรคร้อนจัด ร้อน
แท้เย็นเทียม กลุ่มอาการร้อนที่มีอาการเลือดออกง่าย และต้องใช้ยาที่มี
คุณสมบัติร้อนรุนแรงด้วยความระมัดระวังในหญิงมีครรภ์
6. วิธีลดความร้อน (清法 ชิงฝ่า)
วิธีลดความร้อน คือ การรักษากลุ่มอาการภายในของร่างกายจาก
สาเหตุความร้อนและไฟ โดยระบายความร้อนและดับไฟ ยาที่ใช้ระบาย
ความร้อนมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ลดอาการอักเสบ และลดไข้ ใช้รักษา
กลุ่มอาการภายในของร่างกายจากความร้อน ดังนี้
- ระยะที่ความร้อนเข้าสู่ระบบลมปราณ
- ระยะที่ความร้อนเข้าสู่ระบบอิ๋งและระบบเลือด
- กลุ่มอาการไฟและพิษไฟในอวัยวะภายใน ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อ
แบคทีเรีย
- กลุ่มอาการร้อนพร่อง
ห้ามใช้วิธีลดความร้อนรักษาอาการเย็น กลุ่มอาการเย็นพร่อง
กลุ่มอาการเย็นแท้ร้อนเทียม
52
ยาลดความร้อนส่วนมากมีคุณสมบัติหนาวเย็น ถ้ารับประทาน
นานเกินไปจะกระทบต่อการทํางานของม้ามและกระเพาะอาหาร ทําให้
มีอาการเบื่ออาหาร
ถ้าเป็นกลุ่มอาการร้อนชื้น ควรใช้ยาลดความร้อนควบคู่กับยา
ระบายความชื้น ถ้าความร้อนจัดจะไปทําลายอิน ควรให้ยาเสริมอิ นร่วม
ด้วย ถ้าเป็นอาการร้อนและท้องผูกควรให้ยาระบายอุจจาระด้วย
7. วิธีบารุง (补法 ปูฝ่ ่า)
วิธีบํารุง คือ การรักษาโรคด้วยการหล่อเลี้ ยง เสริมบํารุงชี่และ
เลือด และอิน-หยาง ของร่างกาย ใช้รักษากลุ่มอาการพร่องอ่อนแอของ
อวัยวะภายใน ชี่และเลือด และอิน-หยาง แบ่งเป็น 4 วิธี คือ
(1) การบารุงชี่ โดยทั่วไปหมายถึงบํารุงชี่ของม้ามและปอด ใช้
รักษากลุ่มอาการชี่พร่อง บางครั้งก็ใช้รักษากลุ่มอาการเลือดพร่องโดยใช้
ควบคู่กับยาบํารุงเลือด
(2) การบารุงเลือด ใช้รักษากลุ่มอาการเลือดพร่อง
(3) การบารุงหยาง มักใช้รักษากลุ่มอาการหยางไตพร่อง หรือ
หยางของม้ามพร่อง
(4) การบารุงอิน คือ บํารุงสารจําเป็น เลือด และของเหลวใน
ร่างกาย
การใช้ยาเสริมบํารุง ต้องคํานึงถึงการทําหน้าที่ย่อยอาหารของ
ม้ามและกระเพาะอาหาร ถ้าม้ามและกระเพาะอาหารอ่อนแอ จะต้องใช้
ยากระตุ้นการทํางานของม้ามและกระเพาะอาหารก่อน หรือให้ยาเสริม
บํารุงควบคู่กับยากระตุ้นการทํางานของม้ามและกระเพาะอาหาร
53
วิธีเสริม บํารุงจะใช้ต่อ เมื่อร่างกายมีภูมิคุ้มกันบกพร่องชัดเจน
ถ้าอาการลมปราณต้านทานโรคพร่องไม่มาก แต่สาเหตุที่ก่อโรคยังไม่ได้
รับ การแก้ไข ให้ใช้วิธีขจัดสาเหตุที่ทํ าให้เ กิดโรคก่ อน หรือใช้วิธีเ สริม
ลมปราณต้านทานโรคควบคู่กับการขจัดสาเหตุก่อโรค
การเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงมีภูมิต้านทานโรค ไม่สามารถ
อาศัยยาเสริมบํารุงเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัยปัจจัยอื่น ๆ เช่น รับประทาน
อาหารที่มีคุณค่า ออกกําลังกายสม่ําเสมอ ปรับสมดุลจิตใจและอารมณ์
เป็นต้น
8. วิธีทาให้สลาย (消法 เซียวฝ่า)
วิธีทําให้สลาย คือ การสลายการคั่งหรือการสะสมของชี่และเลือด
เสมหะ น้ํา หรือก้อน โดยการปรับการไหลเวียนของชี่ ระบายการคั่งของ
เลือด ขับความชื้นทางปัสสาวะ เร่งการย่อยอาหาร ขับเสมหะ สมานแผล
ฝี แบ่งเป็น 6 วิธี คือ
(1) การปรับการไหลเวียนของชี่ให้เป็นปกติ ได้แก่
- การกระตุ้นการไหลเวียนของชี่ ใช้รักษาชี่ติดขัดในตับ ม้าม และ
กระเพาะอาหาร
- การปรับให้ลมปราณไหลเวียนลงล่างตามปกติ ใช้รักษากลุ่ม
อาการชี่ล อยสวนขึ้นข้างบนในปอด กระเพาะอาหาร และตับ รัก ษา
อาการหอบหืด อาเจียน สะอึก หรือกระวนกระวาย
(2) การเพิ่มการไหลเวียนเลือด เป็นการระบายเลือดคั่ง คลาย
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดและอวัยวะต่าง ๆ รักษาความผิดปกติ
54
ของระดู การอักเสบเรื้อรัง โรคหลอดเลือดหัวใจ กระดูกหัก ฟกช้ํา ตับ
ม้ามโต
(3) การขับความชืน้ ออกทางปัสสาวะด้วยยาขับปัสสาวะ ควร
ใช้ด้วยความระมัดระวังในผู้ที่มีอินพร่อง แนวทางการใช้ยาขับปัสสาวะ
ทางคลินิก มี 4 วิธี คือ
- การขับปัสสาวะให้ไหลคล่อ ง ส่วนมากใช้รักษาโรคทางเดิน
ปัสสาวะอักเสบหรือนิ่วในทางเดินปัสสาวะที่มีอาการปวดแน่นท้องน้อย
ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะมีสเี หลืองเข้ม
- การขับปัสสาวะลดอาการบวมน้ํา เป็นการขับน้ําที่คั่งในร่างกาย
จากโรคหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง ภาวะทุพโภชนาการ
- ขับปัสสาวะร่วมกับการระบายความร้อน ใช้รักษากลุ่มอาการ
ร้อนชื้น
- การให้ความอบอุ่นและขั บปัสสาวะ ใช้รักษากลุ่มอาการเย็น
ชื้นที่เกิดจากหยางม้ามหรือหยางไตพร่อง
(4) การขับเสมหะที่คั่งอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ส่วนมาก
ใช้รักษาโรคทางเดินหายใจ และยังใช้รัก ษาโรคทางเดินอาหาร ระบบ
ไหลเวียนเลือด และระบบประสาท
(5) การเร่งการย่อยอาหารที่คั่งค้าง ด้วยยาที่ช่วยกระตุ้นการ
ทําหน้าที่ย่อยอาหารของกระเพาะอาหารและลําไส้ ใช้รักษากลุ่มอาการ
อาหารไม่ย่อยที่มีอาการอาเจียน เรอ ท้องเดิน
(6) การสลาย หรือสมานแผล ฝี ที่ผิวหนังและอวัยวะภายใน
มีห ลายวิธี ขึ้นกั บลักษณะของแผล ฝี ปฏิกิ ริยาของร่างกาย และการ
วินิจฉัยแยกกลุ่มอาการ
Download