344 แบบทดสอบก(อนเรียน หน(วยที่ 11 ระบบไฟฟ6าสามเฟส จงเลือกคําตอบที/ถูกต้องที/สุดเพียงข้อเดียว 1. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ในการลําดับเฟสแบบบวก เฟส C จะมีเฟสเซอร์ เป็ นข้อใด ก. EC / 120° ข. EC / 0° ค. EC / -120° ง. EC / 90° จากรู ปที/ 1 ใช้สําหรับคําถามข้อ 2 – 6 I L3 C EP IP EP EL = 312 V EP IP IP I L1 A EL = 312 V B IL2 (5 + j 3) W (5 + j 3) W รู ปที/ 1 วงจรไฟฟ้า 3 เฟส ต่อแบบวาย 2. ค่าเพาเวอร์แฟคแตอร์ ในวงจรรู ปที/ 1 มีค่าเท่าใด ก. 0.6 ค. 0.866 3. แรงดันเฟส มีค่าเท่าใด ก. 120 V ค. 220 V 4. กระแสที/ไหลในสาย มีค่าเท่าใด ก. 53.46 A ค. 30.87 A 5. กําลังไฟฟ้าจริ ง มีค่าเท่าใด ก. 9.62 kW ค. 5.55 kW 6. กําลังไฟฟ้าปรากฎ มีค่าเท่าใด ก. 9.62 kVA ค. 5.55 kVA ข. 0.857 ง. 0.83 ข. 380 V ง. 180 V ข. 62.4 A ง. 17.82 A ข. 9.65 kW ง. 8.42 kW ข. 9.65 kVA ง. 8.42 kW (5 + j 3) W 345 จากรู ปที/ 2 ใช้สําหรับคําถามข้อ 7 – 10 IL EL = 220 A B EP IP IP EP L3 IL EL = 220 EP IL ZC L1 (10 + j 4)W EL = 220 ZA (10 + j 4)W L2 C รู ปที/ 2 วงจรไฟฟ้า 3 เฟส ต่อแบบเดลต้า 7. เพาเวอร์แฟคเตอร์ มีค่าเท่าใด ก. 0.80 ค. 0.92 8. แรงดันเฟส มีค่าเท่าใด ก. 120 V ค. 180 V 9. กระแสที/ไหลในสาย มีค่าเท่าใด ก. 20 A ค. 20.42 A 10. กําลังงานจริ งทัMงหมด มีค่าเท่าใด ก. 13.46 kW ค. 4.1 kW ข. 0.88 ง. 0.84 ข. 220 V ง. 380 V ข. 30 A ง. 35.37 A ข. 12.5 kW ง. 13.46 kVA ZB (10 + j 4)W 346 หน่ วยที( 11 เรื(อง ระบบไฟฟ้ าสามเฟส สาระสําคัญ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้มาจากการนําเครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส 3 วงจรมาต่อร่ วมกัน วิธีการต่อเครื/ องกําเนิดไฟฟ้า 3 เฟส มีสองแบบคือ แบบสตาร์ และ แบบเดลต้า ซึ/งการต่อทัMงสองแบบจะ ใช้คุณสมบัติของกระแสและแรงดันในสายที/ต่างกัน พรารามิเตอร์มราสําคัญของระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้แก่ แรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย (Voltage Line) แรงดันไฟฟ้าในเฟส (Phase Voltage) กระแสที/ไหลใน สาย (Line Current) และกระแสที/ไหลในเฟส (Phase Current) เนื,อหาสาระ 11.1 การกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส 11.2 การต่อเครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบวาย หรื อแบบสตาร์ 11.3 การต่อเครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบเดลต้า จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั;วไป เพื/อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้และเข้าใจในเรื/ อง 11.1 การกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส 11.2 การต่อเครื/ องกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส แบบวาย 11.3 การต่อเครื/ องกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส แบบเดลต้า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังจากเรี ยนจบบทเรี ยนนีMแล้ว ผูเ้ รี ยนควรมีความสามารถดังนีM 11.1 อธิบาย หลักการกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ได้ 11.2 วิเคราะห์ หากระแส และแรงดัน เมื/อเครื/ องกําเนิดระบบ 3 เฟส ต่อแบบวาย ได้ 11.3 วิเคราะห์ หาเพาเวอร์แฟคเตอร์ กําลังไฟฟ้าเมื/อเครื/ องกําเนิดระบบ 3 เฟส ต่อแบบวาย ได้ 11.4 วิเคราะห์ หากระแส และแรงดัน เมื/อเครื/ องกําเนิดระบบ 3 เฟส ต่อแบบเดลต้า ได้ 11.5 วิเคราะห์ หาเพาเวอร์แฟคเตอร์ กําลังไฟฟ้าเมื/อเครื/ องกําเนิดระบบ 3 เฟส ต่อแบบเดลต้า ได้ 347 หน่ วยที; 11 ระบบไฟฟ้ าสามเฟส วงจรไฟฟ้ากระแสสลับที/นกั เรี ยนได้ศึกษาในหน่วยที/ 9 และ 10 ที/ผ่านมานัMนเป็ นวงจรไฟฟ้า กระแสสลับ ระบบเฟสเดียว (Single phase system) ซึ/งเป็ นระบบไฟฟ้ากระแสสลับที/ใช้กนั ตาม สํานักงาน บ้านเรื อนและเครื/ องใช้ไฟฟ้าทัว/ ไป ระบบไฟฟ้าสาม เฟส เป็ นระบบไฟฟ้าที/ใช้กนั ในโรงงานอุตสาหกรรม เนื/องจากระบบไฟฟ้าสาม เฟส มีขอ้ ได้เปรี ยบในเรื/ องของ กําลังไฟฟ้า กล่าวคือ อุปกรณ์ เครื/ องใช้ไฟฟ้าในระบบ สามเฟส จะมีขนาดเล็กกว่า อุปกรณ์เครื/ องใช้ไฟฟ้าในระบบเฟสเดียว โดยที/ให้กาํ ลังไฟฟ้าที/เท่ากัน แต่ การส่งจ่ายไฟฟ้าในระบบสามเฟส จะต้องใช้สายส่ง – จ่ายกําลังไฟฟ้า อย่างน้อย 3 เส้น ถ้า เครื/ องกําเนิดไฟฟ้า ต่อแบบ เดลต้า แต่ ถ้าเครื/ องกําเนิดไฟฟ้าต่อแบบวาย หรื อสตาร์ จะใช้สายส่ง – จ่าย 4 เส้น 11.1 การกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส หลักการกําเนิดแรงดันไฟฟ้า 1 เฟส หรื อ 3 เฟส ใช้หลักการเดียวกัน คือ การทําให้ขดลวดตัวนํา หมุนเคลื/อนที/ตดั ผ่านสนามแม่เหล็ก แต่ในระบบสามเฟส จะใช้ขดลวด 3 ชุด เมื/อขดลวดทัMง 3 ชุดหมุน ตัดผ่านสนามแม่เหล็กจะให้เกิดแรงเคลื/อนไฟฟ้าออกมา ทีข/ Mวั A , B และ C ตามลําดับ ซึ/งเครื/ องกําเนิด ไฟฟ้าดังกล่าวหมุนทวนเข็มนาฬิกา ดังแสดงในรู ปที/ 11.1 ขดลวดแต่ละชุดวางห่างกันทํามุม 120 องศา ทางไฟฟ้า N Amplitude eA C eB eC v v 120° 120° 120° A 0° 120° 240° B ωt v S รู ปที/ 11.1 หลักการการกําเนิดแรงดันไฟฟ้าระบบ 3 เฟส เฟสเซอร์ของแรงดันไฟฟ้า เมื/อเทียบกับเฟสของขดลวด A อยู่ที/ 0 องศา เฟสของขดลวด B ล้าหลังจากขดลวด A เป็ นมุม –120 องศา และเฟสของขดลวด C ล้าหลังจากขดลวด A เป็ นมุม –240 องศา แสดงดังรู ปที/ 11.2 348 C EC C/ B/ B A/ A 120° 120° EA 120° EB รู ปที/ 11.2 ไดอะแกรมของคอลย์ทMงั 3 ชุด และเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดัน หรื อ จากรู ปที/ 11.2 สมการแรงดันชัว/ ขณะ และ สมการเฟสเซอร์ เขียนได้ดงั ต่อไปนีM หรื อ E A = EA / 0° V เมื/อ EA = 0.707 Em eA = Em sin (ω t + 0°) eB = Em sin (ω t - 120°) หรื อ EB = EB / - 120° V เมื/อ EB = 0.707 Em eC = Em sin (ω t - 240°) หรื อ EC = EC / - 240° V เมื/อ EC = 0.707 Em eC = Em sin (ω t + 120°) และ EC = EC / 120° V 11.1.1 ลําดับเฟส ลําดับเฟสก็คือ การจัดลําดับของการเกิดรู ปคลื/นแรงดันไฟฟ้าทัMง 3 เฟส จากรู ปที/ 11.1 ขดลวด ทัMง 3 ในเครื/ องกําเนิด หมุนในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกา (Counter clockwise : CCW)จะพบว่า ลําดับ รู ปคลื/นที/ปรากฏขึMน จะเป็ น A – B – C – A เรี ยกการลําดับเฟส หรื อการเกิดขึMนของแรงดันไฟฟ้า 3 เฟส แบบนีMว่า ลําดับเฟสแบบ บวก แต่ถา้ เครื/ องกําเนิดในรู ปที/ 11.2 หมุนในทิศทางตรงกันข้าม คือ ทวนเข็ม นาฬิกา (Clockwise : CW) ลําดับรู ปคลื/นที/ปรากฏขึMน จะเป็ น A – C – B – A เรี ยกลําเฟสแบบนีMว่า ลําดับเฟสแบบ ลบ การบ่งบอก ลําดับเฟสของไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส นีM ยังอาจบอกเป็ น ตัวเลข 1 , 2 , 3 หรื อ L1 , L2 และ L3 ตามที/ผใู ้ ช้กาํ หนดเป็ นข้อตกลงขึMนระหว่าผูใ้ ช้ โดยมีมาตรฐานของสี สายไฟฟ้าที/ใช้ โดยทัว/ ไป สีแดงหมายถึง เฟส A สีเหลือง (หรื อบางทีสีขาว) สําหรับเฟส B และสีนM าํ เงิน สําหรับเฟส C 11.1.2 การต่ อวงจรในไฟฟ้ าระบบ 3 เฟส การต่อขดลวดตัวนําในเครื/ องกําเนิดไฟฟ้าระบบ 3 เฟส มี 2 แบบ คือ (1) การต่อ แบบ วาย หรื อ สตาร์ ( Wye or Star , Y – conection) (2) ต่อแบบ เดลต้า (Delta , ∆ – conection) และการต่อโหลดในไฟฟ้าระบบ 3 เฟส มีการต่อใช้งาน เช่นเดียวกับการต่อ เครื/ องกําเนิด มีแบบ วาย หรื อ สตาร์ และ แบบ เดลต้า 349 11.2 การต่อเครื;องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบวาย หรื อแบบสตาร์ ไดอะแกรมของการต่อเครื/ องกําเนิด แบบวาย หรื อ แบบสตาร์ แสดงดังรู ปที/ 11.3 โดยการต่อ แบบนีM จะใช้สายส่ง – จ่ายทัMงหมด 4 เส้น โดย 3 เส้นแรกก็คือ เส้นที/ต่อมาจากขดลวด A , B และ C ตามลําดับ อีกด้านหนึ/งของแต่ละขด คือด้าน a / , b / และ c / นํามาต่อร่ วมเป็ นจุดเดียวกันแล้วต่อสาย ออกไป เรี ยกว่าสาย นิวตรอล ( Neutral : N ) แรงดันระหว่างขดลวดแต่ละชุดเทียบกับสาย นิวตรอล เรี ยกว่า แรงดันเฟส คือ E AN , EBN และ ECN c EP EC IP E CA c / b/ EP EB b C or L3 IL a EA / IP EP E CN a A or L1 IL IP E BC E AB E AN IL IN E BN B or L2 N รู ปที/ 11.3 ไดอะแกรมการต่อเครื/ องกําเนิด ( Alternator ) แบบวาย หรื อแบบสตาร์ 11.2.1 แรงดันระหว่างสายเมื;อ ต่อเครื;องกําเนิด แบบวาย หรือ แบบสตาร์ แรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย ( Line Voltage : EL ) หมายถึงแรงดันไฟฟ้าระหว่างขัMวด้าน ที/จะจ่ายไป ยังโหลด ได้แก่ แรงดันไฟฟ้า E AB , EBC และ ECA มีศกั ย์เท่ากับ 380 V เขียนแทนด้วย EL (บ่งบอก เฉพาะขนาด ส่ วนมุมตามความห่างทางไฟฟ้าของแต่ละสาย) แรงดันไฟฟ้าเฟส ( Phase Voltage : EP ) หมายถึงแรงดันไฟฟ้าที/ตกคร่ อม ขดลวดแต่ละขด ของ เครื/ องกําเนิดไฟฟ้าเทียบกับจุดต่อร่ วม (สายนิวตรอล) ได้แก่ E AN , EBN และ ECN มีศกั ย์เท่ากับ 220 V เขียนแทนด้วย EP (บ่งบอกเฉพาะขนาด ส่วนมุมตามลําดับของขดลวด) ซึ/งแรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟส ที/เท่ากับ 220 V ก็คือศักย์แรงดันไฟฟ้า 1 เฟส นัน/ เอง ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย กับ แรงดันไฟฟ้าเฟส วิเคราะห์ที/มาได้ดงั นีM พิจารณารู ปที/ 11.4 (ก) โดยใช้ กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ มาวิเคราะห์ หา EL หรื อ EAB พิจารณา รอบวงปิ ด Aaa / b / bBA จะพบว่า - EA + E B - EAB = 0 หรื อ EAB = - EA + E B 350 IB b a/ / + EA - a IA + EB -E A = E P A EA = EP 120° 0.866E P - b B C 60° + EL = E AB -E A = E P EP D EB = EP EAB 0.5E P A O EB = EP B (ก) ไดอะแกรมคอลย์ A , B (ข) เฟสเซอร์ของ แรงดัน (ค) การรวมค่าทางเวคเตอร์ รู ปที/ 11.4 การหาค่า EAB จากความสัมพันธ์ทางเฟสเซอร์ ในการหาค่า EL หรื อ EAB นัMน จะต้องพิจารณาทัMงขนาดและมุม การบวก – ลบ จึงต้องกระทํา แบบ การบวกลบ เวคเตอร์ พิจารณารู ปที/ 11.4 (ค) ใช้ทฤษฎีพิธากอรัส วิเคราะห์ และใช้สมการเชิงเส้นแก้ปัญหา พิจารณา D ACD จะได้ C A = EP cos 60° = 0.5 EP และ DC = EP sin 60° = 0.866 EP พิจารณา D OCD จะได้ EL 2 = (DC)2 + (CA+ AO)2 2 EL = (0.866) 2 + (0.5 EP + EP ) 2 EL = (0.866 EP ) 2 + (1.5 EP ) 2 EL = 3EP ……………. สมการที/ 11.1 คือ แรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย ( Line Voltage ) คือ แรงดันไฟฟ้าเฟส ( Phase Voltage ) ; EP = 220 V EL = เมื/อ EL EP 2 3 EP E BC -E B EC 30° -E A EA 30° 30° E AB EB -EC E CA รู ปที/ 11.5 แสดงเฟสเซอร์ไดอะแกรมความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันเฟสกับแรงดันระหว่างสาย 351 11.2.2 กระแสไฟฟ้าที;ไหลในสายเมื;อ ต่อเครื;องกําเนิด แบบวาย หรือ แบบสตาร์ กระแสที/ไหลผ่านขดลวดแต่ละชุด เรี ยกว่า กระแสเฟส(Phase Current : I P ) ส่ วนกระแสที/ไหล ในสายต่อระหว่างขดลวดของเครื/ องกําเนิดกับโหลด เรี ยกว่า กระแสที/สาย (Line Current : I L ) จากรู ป ที/ 11.3 ในวงจรเครื/ องกําเนิดทีต/ ่อแบบ วาย หรื อ สตาร์ ขนาดของกระแสที/สาย เท่ากับ กระแสที/เฟส ดังนัMน IL = IP ……………. สมการที/ 11.2 เมื/อ I L คือ กระแสที/ไหลในสาย (Line Current) และ I P คือ กระแสที/ไหลในเฟส (Phase Current) จากรู ปที/ 11.3 จะพบว่า กระแสไฟฟ้าที/จ่ายออกไปทัMงสามเฟส (เฟส A , B , และ C ) คือ I L ส่วนกระแส I N จะเป็ นเส้นทางกลับของผลรวมของกระแส ทีจ/ ่ายออกไป ทัMง สามเฟส ถ้าแรงดันไฟฟ้า สามเฟส นีMถูกจ่ายให้กบั โหลดสมดุลย์ จะทําให้ผลรวมของกระแสที/ไหลกลับมาในสายนิวตรอล จะมีค่า เป็ นศูนย์ 11.2.3 กําลังไฟฟ้าระบบ สามเฟส เมื;อ ต่อเครื;องกําเนิด แบบวาย หรือ แบบสตาร์ กําลังงานไฟฟ้า หรื อ กําลังไฟฟ้า ที/ทาํ ให้เกิดกําลังไฟฟ้าจริง ที/เกิดขึMนในแต่ละเฟส ก็คือ กําลังไฟฟ้า ( P ) เช่นเดียวกับ กรณี 1 เฟส นัน/ คือ P = EP I P cos q ……………. สมการที/ 11.3 เมื/อ q คือ มุมระหว่างแรงดันเฟส ( E P ) กับกระแสที/ไหลในเฟส ( I P ) หรื อ q คือมุมของอิมพีแดนซ์รวมเมื/ออยู่ในรู ป เชิงขัMว ดังนัMน กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนในวงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส จะเป็ น PT = 3 P = 3EP I P cos q ……………. สมการที/ 11.4 จากสมการที/ 11.1 และ 11.2 แทนค่า I P และ E P ลงในสมการที/ 11.4 จะได้ PT = หรื อ 3 EL I L cos q 3 PT = แต่ cos q = เมื/อ cos q ดังนัMน P S หรื อ S = 3 EL I L cos q ……………. สมการที/ 11.5 P cos q คือ เพาเวอร์แฟคเตอร์ (PF) P คือ กําลังไฟฟ้าที/ทาํ ให้เกิดงานจริ ง หรื อกําลังไฟฟ้าจริ ง : W S คือ กําลังไฟฟ้าที/ปรากฏ : VA S = 3 EL I L cos q cos q S = 3 EL I L ……………. สมการที/ 11.6 352 ซึ/ง ค่า S ในที/นM ี ก็คือ ค่าที/บอกถึง ค่าพิกดั ( rating) ของเครื/ องกําเนิด หรื อ อุปกรณ์ เครื/ องใช้ไฟฟ้า ส่วนมากเป็ นอุปกรณ์จาํ พวก มอร์เตอร์ นัน/ เอง ขณะที/ เพาเวอร์แฟคเตอร์ของระบบ 3 เฟส ที/ต่อแบบวาย หรื อ แบบสตาร์ ที/อยู่ในสภาวะสมดุลย์ จะมีค่าเท่ากับ PT 3 EL I L PF = cos q = ……………. สมการที/ 11.7 เพาเวอร์แฟคเตอร์ยงั หาได้จาก อัตราส่วนความสัมพันธ์ของ ค่าความต้านทาน กับค่าอิมพีแดนซ์ รวม ของโหลด ดังนีM PF = cos q = R Z ตัวอย่างที; 11.1 จากวงจรในรู ปที/ 11.6 ถ้าแรงดันที/เฟส มีค่า 220 V จงหาค่าแรงดันระหว่างสาย C E P = 220 V E P = 220 V EL EL A E P = 220 V EL B รู ปที/ 11.6 วงจรเครื/ องกําเนิดไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับตัวอย่างที/ 11.1 วิธีทํา จากวงจรเป็ นการต่อเครื/ องกําเนิดแบบ วาย ดังนัMน EL = 3 EP จากสมการที/ 11.1 \ EL = .....................ตอบ 3 (220 V) = 380.6 V @ 380 V ตัวอย่างที; 11.2 จากวงจรในรู ปที/ 11.7 เครื/ องกําเนิด 3 เฟสต่อแบบวาย ถ้าแรงดันระหว่างสาย แต่ละคู่ มีค่าเท่ากับ 380 V และต่อเข้ากับโหลดที/ต่อแบบวาย เช่นกันและอยู่ในภาวะสมดุลย์ ถ้าเครื/ องกําเนิด จ่าย กระแสให้โหลดเต็มที/ (full-load current) เท่ากับ 150 A ที/เพาเวอร์แฟคเตอร์เท่ากับ 0.8 จงหา (1) กระแสที/จ่ายให้โหลดเต็มที/ ต่อเฟส (2) แรงดันที/เฟส ( Phase Voltage , EP ) (3) อัตราพิกดั (rating) ของเครื/ องกําเนิด เป็ น kVA (4) กําลังไฟฟ้าที/โหลดใช้ เต็มที/ (full-load power) I L = 150 A C EP IP EP A EL = 380 V I L = 150 A IP PF = 0.8 ZP PF = 0.8 IP EP ZP B I L = 150 A ZP PF = 0.8 รู ปที/ 11.7 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับตัวอย่างที/ 11.2 353 วิธีทํา (1) กระแสที/จ่ายให้โหลดเต็มที/ ต่อเฟส .....................ตอบ I P = I L = 150 A (2) แรงดันที/เฟส EP = EL 380 V = = 219.65 @ 220 V 1.73 3 .....................ตอบ (3) อัตราพิกดั (rating) ของเครื/ องกําเนิด เป็ น kVA S = 3 EL I L S = 1.73 (380 V)(150 A) = 98,610 VA .....................ตอบ \ S = 98.61 kVA (4) กําลังไฟฟ้าที/โหลดใช้ เต็มที/ (full-load power) PT = 3 EL I L cos q PT = (1.73) (380 V) (150 A) (0.8) = 78,888 W .....................ตอบ \ PT = 78.88 kW ตัวอย่างที; 11.3 จากวงจรในรู ปที/ 11.8 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟส (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) กระแสที/จ่ายให้โหลดแต่ละตัว (4) กระแสที/ไหลในสาย N (5) กําลังไฟฟ้าจริ งที/โหลดใช้ เป็ น kW (6) กําลังไฟฟ้าที/ปรากฎ เป็ น kVA IL 3 C EP IP EP EL = 380 V EP I L1 A IP IP E P = 220 V B IL 2 (3 + j 4) W (3 + j 4) W (3 + j 4) W รู ปที/ 11.8 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับตัวอย่างที/ 11.3 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z A แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (3) 2 + (4) 2 และ Z = (9) + (16) Z = 25 = 5 W = Z B = Z C = (3 + j 4) W q = tan -1 (4 / 3) q = tan -1 (1.333) = 53.13° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก Z = 5 / 53.13° W PF = cos q .....................ตอบ 354 หรื อ PF = cos(53.13°) = 0.6 R 3W PF = = = 0.6 Z 5W (3) กระแสที/จ่ายให้โหลด จาก Z1 ดังนัMน .....................ตอบ = Z 2 = Z 3 = (3 + j 4) W = 5 / 53.13° W I L1 = E AN 220 / 0° V = = 44 / - 53.13° A Z1 5 / 53.13° W .....................ตอบ I L2 = EBN 220 / - 120° V = = 44 / - 173.13° A Z2 5 / 53.13° W .....................ตอบ I L3 = ECN 220 / 120° V = = 44 / 66.87° A Z3 5 / 53.13° W .....................ตอบ (4) กระแสที/ไหลในสาย N จากกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ I N = I L1 + I L2 + I L3 I N = (44 / - 53.13° A) + (44 / - 173.13° A) + (44 / 66.87° A) ดังนัMน แปลงให้ในรู ปแกนมุมฉาก (การบวก – ลบ ต้องทําในรู ปแกนมุมฉาก) I N = (26.4 - j 35.2) A + (-43.68 - j 5.26) A + (17.28 + j 40.46) A I N = (26.4 - 43.68 + 17.28) A + j( -35.2 - 5.26 + 40.46) A \ I N = (0) A + j(0) A = 0 A .....................ตอบ กรณีโหลดสมดุลย์ กระแสที/ไหลในสาย N จะเป็ น ศูนย์ (5) กําลังไฟฟ้าที/โหลดใช้ เป็ น kW PT = 3 EL I L cos q จากสมการ ค่ามุม q ในที/นM ีก็ คือ มุมของ อิมพีแดนซ์รวมของโหลดแต่ละตัวนัน/ เอง PT = (1.73) (380 V) (44 A) (cos 53.13°) PT = (1.73) (380 V) (44 A) (0.6) = 17,355 W \ PT = 17.35 kW .....................ตอบ (6) กําลังไฟฟ้าที/ปรากฎ เป็ น kVA S = 3 EL I L จากสมการ S = 1.73 (380 V)(44 A) = 28,925.6 VA \ S = 28.92 kVA .....................ตอบ ตัวอย่างที; 11.4 จากวงจรในรู ปที/ 11.9 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟส (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟสที/เกิดขึMนทีโ/ หลดแต่ละตัว (4) กระแสทีไ/ หลผ่านโหลดแต่ละตัว (5) กระแสไฟฟ้าที/ไหลในสาย (6) กําลังงานไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังงานไฟฟ้าทัMงหมด (8) กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฏ เป็ น kVA 355 IL C IP EP EL 380 V EP IP A IP EP EL 380 V EP IL 20 W EP EL 380 V EP 20 W 20 W IL B รู ปที/ 11.9 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสต่อแบบวาย สําหรับตัวอย่างที/ 11.4 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟส Z = ( R + j 0) W = 20 W ..................... \ Z = R = 20 / 0° W ตอบ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ PF = cos q = cos(0°) = 1 PF = R 20 W = =1 Z 20 W .....................ตอบ (3) แรงดันที/เฟสที/เกิดขึMนที/โหลดแต่ละตัว EP = EL 380 V = = 219.65 @ 220 V 1.73 3 .....................ตอบ และ EP A = 220 / 0° V ลําดับต่อไปมีขนาดเดียวกันแต่มุมล้าหลัง 120 องศา (4) กระแสที/ไหลผ่านโหลดแต่ละตัว ก็คือ I P หรื อ I L IP = EP 220 V = = 11 A RL 20 W (5) กระแสไฟฟ้าที/ไหลในสาย คือ (6) กําลังงานไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว P = EP I P cos q จากสมการ IL และ .....................ตอบ I L = I P = 11 A .....................ตอบ ; เนื/องจาก กระแสและแรงดันมีเฟสเดียวกัน .....................ตอบ 2,416 W = 2.41 kW P = (219.65 V)(11 A) cos 0° P = (219.65 V)(11 A) (1) = (7) กําลังงานไฟฟ้าทัMงหมด จากสมการ PT = 3 P = 3EP I P cos q PT = 3(219.65 V)(11 A)(1) = 7,248 W = 7.24 kW (8) กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฏ เป็ น kVA จากสมการ S = .....................ตอบ 3 EL I L .....................ตอบ จะพบว่า กําลังงานไฟฟ้าจริ ง กับ กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฏ มีค่าเท่ากัน เนื/องจาก เพาเวอร์แฟค เตอร์เท่ากับ 1 นัน/ เอง (โหลดเป็ นความต้านทานอย่างเดียว) S = (1.732) (380 V)(11 A) = 7,239 W = 7.24 kW 356 11.3 การต่อเครื;องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส แบบเดลต้ า ไดอะแกรมการต่อคอลย์ของเครื/ องกําเนิดแบบเดลต้า แสดง ในรู ปที/ 11.10 จะพบว่า ปลายสาย ด้าน a / ต่อกับปลายสายด้าน c (จุด B) ปลายสายด้าน b / ต่อกับปลายสายด้าน a (จุด A) และ ปลาย สายด้าน c / ต่อกับปลายสายด้าน b (จุด C) จุดต่อระหว่างปลาย a กับ b / จะต่อออกไปภายนอกเป็ นสาย L1 ปลายสาย b กับ c / จะต่อออกไปภายนอกเป็ นสาย L2 และจุดต่อระหว่างปลายสาย c กับ a / จะต่อ ออกไปภายนอกเป็ นสาย L3 L3 B EA a/ a EP c EC L1 b/ EP EP c/ EL A EL EL EB b L2 C รู ปที/ 11.10 แสดงไดอะแกรมการต่อคอลย์ของเครื/ องกําเนิ ดแบบ เดลต้า เมื/อพิจารณาที/สาย L1 , L2 และ L3 จะพบว่า แรงดันที/เกิดขึMนในแต่ละคอลย์ (แต่ละเฟส) ก็คือ แรงดันระหว่างสายนัน/ เอง ดังนัMนในการต่อคอลย์ของเครื/องกําเนิดแบบ เดลต้า จะได้ EP = EL ……………………สมการที/ 11.8 11.3.1 กระแสที;ไหลเมื;อต่อเครื;องกําเนิด แบบเดลต้ า เมื/อทําการวิเคราะห์วงจรเครื/ องกําเนิดที/ต่อแบบ เดลต้า ดังรู ปที/ 11.11(ก) จะพบว่ากระแสที/ไหล ในสาย (Line Current) แต่ละสายคือกระแส I L1 , I L 2 และ I L 3 จะมีค่าเท่ากับ ผลรวมของกระแสที/ ไหลในคอลย์ ทัMงสอง ที/มีทิศทางตรงกันข้าม ดังรู ปที/ 11.11(ค) จะพบว่า I L1 คือผลรวมของ I A กับ - I B IL3 IA B L3 A EA IC IB IC L1 I L1 EC EB -I B = I P EC 120° IL 2 L2 C (ก) ไดอะแกรมของคอลย์ IB EB 120° 120° IA EA I L1 = I L 60° 120° IA = IP IB = IP (ข) เฟสเซอร์ของแรงดันและกระแส (ค) เฟสเซอร์ของกระแสในสาย ( I L ) รู ปที/ 11.11 แสดงความสัมพันธ์และการวิเคราะห์กระแสที/ไหลในสาย 357 จากรู ปที/ 11.11(ก) พิจารณาที/จุด A ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้ I A = I L1 + I B I L1 = I A - I B หรื อ การบวก – ลบไฟฟ้ากระแสสลับต้องพิจารณาทัMงขนาดและทิศทาง(มุม) ด้วย ดังนัMน I L1 = I A + (- I B ) นัน/ คือ ผลรวมทางเฟสเซอร์ของ กระแส I A และ วาดรู ปใหม่ได้ ดังรู ปที/ 11.12 IB พิจารณารู ปที/ 11.11(ค) เมื/อทําการวิเคราะห์ หา B D -I B = I P O IP 60° IA = IP 0.866I P A 0.5I P C รู ปที/ 11.12 แสดงการวิเคราะห์กระแสที/ไหลในสาย (Line Current) จากรู ปที/ 11.12 ใช้ทฤษฎีพิธากอรัส วิเคราะห์และใช้วิธีของสมการเชิงเส้นแก้ปัญหา ที/ D ACD จะได้ CA = I P cos 60° = 0.5I P และ DC = I P sin 60° = 0.866 I P และเมื/อพิจารณาที/ D OCD จะพบว่า 2 I L = (DC) 2 + (CA + AO)2 IL 2 = (0.866) 2 + (0.5 I P + I P ) 2 IL = (0.866 I P ) 2 + (1.5 I P ) 2 IL = 3I P 2 ……………. สมการที/ 11.9 เมื/อ I L คือ กระแสที/ไหลในสาย (Line Current) และ I P คือ กระแสที/ไหลในเฟส (Phase Current) จากรู ปที/ 11.11(ก) และ 11.11(ข) สมการแรงดันชัว/ ขณะ และ สมการเฟสเซอร์ เขียนได้ดงั ต่อไปนีM eA = Em sin (ω t + 0°) หรื อ E A = EA / 0° V เมื/อ EA = 0.707 Em eB = Em sin (ω t - 120°) หรื อ EB = EB / - 120° V เมื/อ EB = 0.707 Em eC = Em sin (ω t - 240°) หรื อ EC = EC / - 240° V เมื/อ EC = 0.707 Em หรื อ eC = Em sin (ω t + 120°) และ EC = EC / 120° V จะพบว่า เหมือนกันกับ กรณีการต่อคอลย์ของเครื/ องกําเนิด แบบ วาย IL = 3 IP IL 358 11.3.2 กําลังไฟฟ้าระบบ สามเฟส เมื;อ ต่อเครื;องกําเนิด แบบเดลต้า กําลังงานไฟฟ้าที/ทาํ ให้เกิดงานจริ ง หรื อกําลังไฟฟ้าจริ ง ที/เกิดขึMนในแต่ละเฟส มีค่าเช่นเดียวกันกับ กําลัง งานไฟฟ้า ที/เกิดขึMนในวงจร 1 เฟส คือ P = EP I P cosq เมื/อ q คือ มุมระหว่างแรงดันเฟส ( E P ) กับกระแสที/ไหลในเฟส ( I P ) ดังนัMน กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนในวงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส จะเป็ น PT = 3 P = 3EP I P cos q ในทางปฏิบตั ิ นิยมวัดค่าแรงดันระหว่างสาย และค่ากระแสที/ไหลในสาย จากความสัมพันธ์ และ EP = EL IL = ดังนัMน PT = 3EL ´ หรื อ PT = แต่ cos q = เมื/อ cos q ดังนัMน P S หรื อ IP = IL 3 IL ´ cos q 3 3 EL I L cos q หรื อ 3 IP S = ; เช่นเดียวกันกับกรณีของ การต่อแบบ วาย P cos q คือ เพาเวอร์แฟคเตอร์ (PF) P คือ กําลังไฟฟ้าที/ทาํ ให้เกิดงานจริ ง หรื อกําลังไฟฟ้าจริ ง : W S คือ กําลังไฟฟ้าที/ปรากฏ : VA 3 EL I L cos q cos q S = ; เช่นเดียวกันกับกรณีของ การต่อแบบ วาย ขณะที/ เพาเวอร์แฟคเตอร์ของระบบ 3 เฟส ที/ต่อแบบ เดลต้า จะเท่ากับ S = 3 EL I L PF = cos q = PT 3 EL I L ; เช่นเดียวกันกับกรณีของ การต่อแบบ วาย สรุ ป สูตรที/เกี/ยวข้องกับ กําลังไฟฟ้าในวงจรระบบ 3 เฟสนัMนไม่ว่าจะต่อแบบ วาย หรื อ เดลต้า จะมีลกั ษณะเหมือนกัน ตัวอย่างที; 11.5 จากวงจรในรู ปที/ 11.13 เครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบ 3 เฟส ต่อแบบ เดลต้า จงหา ค่ากระแสที/ไหลในสาย และ ค่าแรงดันระหว่างสาย IL3 L3 B I A = 10 A A E P = 220 V I L1 I B = 10 A I C = 10 A E P = 220 V E P = 220 V IL 2 C EL L1 EL EL L2 รู ปที/ 11.13 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสต่อแบบเดลต้า สําหรับตัวอย่างที/ 11.5 359 วิธีทํา (1) กระแสที/ไหลในสาย เมื/อเครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า คือ IL = 3 IP .....................ตอบ \ I L = (1.732) (10 A) = 17.32 A (2) ค่าแรงดันระหว่างสาย เมื/อเครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า คือ EL = EP .....................ตอบ \ EL = EP = 220 V ตัวอย่างที; 11.6 จากวงจรในรู ปที/ 11.14 เครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบ 3 เฟส ต่อแบบ เดลต้า ถ้าแต่ละเฟส จ่ายกระแสให้โหลด เต็มที/ เท่ากับ 40 A ที/แรงดันเฟส 220 V ขณะทีโ/ หลดมีเพาเวอร์แฟค เตอร์ 0.866 จงหา (1) กระแสที/ไหลในสาย (2) แรงดันระหว่างสาย (3) กําลังงานไฟฟ้าที/เครื/ องกําเนิดจ่ายเป็ น kVA (4) กําลังงานไฟฟ้าจริ งที/เครื/ องกําเนิดจ่ายเป็ น kW IL3 I P = 40 A B E P = 220 V EL A IP IP I L1 ZC L1 PF = 0.866 EL EL E P = 220 V E P = 220 V L3 IL 2 ZA ZB PF = 0.866 PF = 0.866 L2 C รู ปที/ 11.14 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสต่อแบบเดลต้า สําหรับตัวอย่างที/ 11.6 วิธีทํา (1) กระแสที/ไหลในสาย เมื/อเครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า คือ IL = .....................ตอบ \ I L = (1.732) (40 A) = 69.28 A (2) แรงดันระหว่างสาย เมื/อเครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า คือ EL 3 IP = EP .....................ตอบ \ EL = EP = 220 V (3) กําลังงานไฟฟ้าที/เครื/ องกําเนิดจ่ายเป็ น kVA จากสมการ S = (1.732)(220 V)(69.28 A) ดังนัMน S = 3 EL I L .....................ตอบ \ S = 26,398.45 VA = 26.39 kVA (4) กําลังงานไฟฟ้าจริ งที/เครื/ องกําเนิดจ่ายเป็ น kW จากสมการ PT PT = (1.732)(220 V) (69.28 A) (0.866) ดังนัMน \ PT = 22,861.05 W = 22.86 kW = 3 EL I L cos q .....................ตอบ 360 ตัวอย่างที; 11.7 จากวงจรในรู ปที/ 11.15 เครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบ 3 เฟส ต่อแบบ เดลต้า ต่อเข้ากับ โหลดสมดุลย์ ค่า (50 + j 30) W จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลผ่านโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสในสาย (6) กําลังงานไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW (7) กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฏ เป็ น kVA IL L3 EL = 220 A B EP IP IP EP IL EL = 220 EP ZC L1 (50 + j 30)W EL = 220 IL ZA L2 (50 + j 30)W ZB (50 + j 30)W C รู ปที/ 11.15 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสต่อแบบเดลต้า สําหรับตัวอย่างที/ 11.7 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก ZT = (50 + j 30) W แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z T = (50) 2 + (30) 2 และ ZT = (2,500) + (900) ZT = 3,400 = 58.31W q = tan -1 (30 / 50) q = tan -1 (0.6) = 30.96° @ 31° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ Z T = 58.31 / 31° W PF = cos q PF = cos(53.13°) = 0.857 R 50 W PF = = = 0.857 Z 58.31W EP = (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลผ่านโหลดแต่ละเฟส IP = (5) กระแสในสาย จากสมการ .....................ตอบ IL = .....................ตอบ EL = 220 V .....................ตอบ EP 220 V = = 3.77 A Z 58.31W .....................ตอบ 3 IP I L = (1.732) (3.77 A) = 6.53 A (6) กําลังงานไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cosq PT = (1.732)(220 V) (6.53 A) (0.857) ดังนัMน .....................ตอบ 361 .....................ตอบ \ PT = 2,132.38 W = 2.13 kW (7) กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฏ เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L ดังนัMน S = (1.732)(220 V)(6.53 A) .....................ตอบ \ S = 2,488.19 VA = 2.48 kVA ตัวอย่างที; 11.8 จากวงจรในรู ปที/ 11.16 เครื/ องกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ระบบ 3 เฟส ต่อแบบ เดลต้า ต่อเข้ากับ โหลดสมดุลย์ ความต้านทานอย่างเดียว ค่า 20 W จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันดันที/โหลดแต่ละตัว(หรื อแรงดันที/เฟส) (4) กระแสที/ไหลผ่านโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสในสาย (6) กําลังงานไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW (7) กําลังงานไฟฟ้าที/จ่ายให้โหลด เป็ น kVA IL EL = 380 A B EP IP IP EP L3 IL 20 W EL = 380 EL = 380 EP ZC L1 IL ZA 20 W ZB 20 W L2 C รู ปที/ 11.16 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสต่อแบบเดลต้า สําหรับตัวอย่างที/ 11.8 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z A = แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (20) 2 + (0) 2 และ Z = (400) + (0) Z = 400 = 20 W Z B = Z C = (20 + j 0) W q = tan -1 (0 / 20) q = tan -1 (0) = 0° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ Z = 20 / 0° W .....................ตอบ PF = cos q PF = cos(0°) = 1 R 20 W PF = = =1 Z 20 W .....................ตอบ (3) แรงดันดันที/โหลดแต่ละตัว(หรื อแรงดันที/เฟส) EP = EL = 380 V .....................ตอบ 362 (4) กระแสที/ไหลผ่านโหลดแต่ละเฟส IP = (5) กระแสในสาย จากสมการ IL = EP 380 V = = 19 A Z 20 W .....................ตอบ 3 IP .....................ตอบ I L = (1.732) (19 A) = 32.9 A (6) กําลังงานไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW PT = 3 EL I L cos q จากสมการ PT = (1.732)(380 V) (32.9 A) (1) ดังนัMน \ PT = 21,653.46 W = 21.65 kW (7) กําลังงานไฟฟ้าที/จ่ายให้โหลด เป็ น kVA S = 3 EL I L จากสมการ S = (1.732)(380 V)(32.9 A) ดังนัMน \ S = 21,653.46 VA = 21.65 kVA จะพบว่า S = P เนื/องจากเพาเวอร์แฟคเตอร์ เท่ากับ หนึ/ง ( PF .....................ตอบ .....................ตอบ = 1) ตัวอย่างที; 11.9 มอเตอร์สามเฟส ต่อแบบวาย ต้องการกระแส 20 A ต่อขัMว (terminal) ถ้าแรงดันระหว่าง สายมีค่า 380 V และเพาเวอร์แฟคเตอร์เท่ากับ 0.8 ล้าหลัง จงหาค่ากําลังงานไฟฟ้า ที/มอเตอร์ตอ้ งใช้ วิธีทํา จากโจทย์ สรุ ปได้ว่า แรงดันระหว่างสาย EL = 380 V และ I P = I L = 20 A จากสมการ PT = 3 EL I L cos q PT = (1.732)(380 V) (20 A) (0.8) ดังนัMน \ PT = 10,530 W = 10.53 kW .....................ตอบ ตัวอย่างที; 11.10 เครื/ องกําเนิดสามเฟส ต่อแบบเดลต้า ขณะจ่ายโหลดเต็มที/ (full-load) มีกระแสไหลใน แต่ละเฟสเท่ากับ 10 A ที/แรงดัน 220 V และเพาเวอร์แฟคเตอร์เท่ากับ 0.8 ล้าหลัง จงหา (1) แรงดันระหว่างสาย (2) กระแสที/ไหลในสาย (3) กําลังงานไฟฟ้าทัMงหมดเป็ น kW (4) กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฎเป็ น kVA วิธีทํา (1) แรงดันระหว่างสาย EL = EP = 220 V .....................ตอบ (2) กระแสที/ไหลในสาย .....................ตอบ I L = 3 I P = (1.732) (10 A) = 17.32 A (3) กําลังงานไฟฟ้าทัMงหมด PT = 3 EL I L cosq = (1.732)(220 V) (17.32 A) (0.8) .....................ตอบ \ PT = 5,279.69 W = 5.28 kW (4) กําลังงานไฟฟ้าที/ปรากฏ S = 3 EL I L = (1.732)(220 V)(17.32 A) \ S = 6,599.61 VA = 6.6 kVA .....................ตอบ 363 สรุปสาระสำคัญ เครื/ องกําเนิดไฟฟ้า 3 เฟส ประกอบด้วย ขดลวดตัวนํา 3 ชุด แต่ละชุดวางตัวห่างกัน 120° ไฟฟ้า ระบบ 3 เฟสมีขอ้ ดีกว่าระบบ 1 เฟส คือ ใช้ลวดตัวนําทองแดงที/มีขนาดเล็กกว่า และยังให้กาํ ลังไฟฟ้า คงที/ เครื/ องกําเนิดไฟฟ้า ที/ต่อขดลวดแบบวาย หรื อ สตาร์ จะมีคา่ กระแสที/ไหลในเฟสเท่ากันกับ กระแสที/ไหลในสาย ( I P = I L ) แต่แรงดันที/สายมากกว่าแรงดันที/เฟส อยู่ 3 เท่า (VL = 3 VP ) เครื/ องกําเนิดไฟฟ้า ที/ต่อขดลวดแบบเดลต้า จะมีค่ากระแสที/ไหลในสายเท่ามากกว่า กระแสที/ ไหลในเฟสอยู่ 3 เท่า ( I L = 3I P ) และแรงดันที/สายเท่ากันกับแรงดันที/เฟส (VL = VP ) โหลดสมดุล หมายถึง โหลดที/มี อิมพีแดนซ์เท่ากันทัMง 3 เฟส กําลังไฟฟ้า ของ เครื/ องกําเนิดที/ต่อแบบ วาย หรื อ สตาร์ และแบบเดลต้า มีสูตรในการคํานวณ เหมือนกัน ในแต่ละเฟส เป็ นกรณีเดียวกับ 1 เฟส คือ P = EP I P cosq และทัMง 3 เฟส คือ PT = 3 P = 3EP I P cosq หรื อ PT = 3 EL I L cosq ส่วนกําไฟฟ้าที/ปรากฏ คือ S = 3 EL I L เพาเวอร์แฟคเตอร์ หา หรื อคํานวณได้จากสมการ PF = cosq เมื/อ q เป็ นมุมระหว่างกระแส และแรงดัน ที/ปรากฏที/โหลด หรื อ หา เพาเวอร์แฟคเตอร์ได้จากความสัมพันธ์ของ อัตราส่วน ของ ค่า ความต้านทาน กับค่าอิมพีแดนซ์รวม ของโหลด คือ PF เพียงอย่างเดียวจะได้ PF =1 = R Z แต่ถา้ โหลดมีเฉพาะค่าความต้านทาน 364 แบบฝ@กหัด หน(วยที่ 11 ระบบไฟฟ6าสามเฟส 1. จากวงจรในรู ปที/ 11.17 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟส ในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันทีโ/ หลด (แรงดันเฟส) (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA ตอบ (1) 22.36 / 26.56° W (2) 0.89 (3) 220 V (4) 9.38 A (5) 9.38 A (6) 5.48 kW (7) 6.16 kVA IL EP IP EP EP IP IP ZP3 380 V IL 380 V 380 V IL (20 + j10) W (20 + j10) W ZP1 ZP 2 (20 + j10) W รู ปที/ 11.17 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อ 1 2. จากวงจรในรู ปที/ 11.18 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย จ่ายกระแสให้โหลดได้เต็มที/เท่ากับ 120 A และต่อ เข้ากับโหลดที/มีค่า PF = 0.866 จงหา (1) แรงดันระหว่างสาย (2) กระแสที/จ่ายให้โหลดเต็มที/ต่อเฟส (3) กําลังไฟฟ้าที/โหลดใช้เต็มที/ เป็ น kW (4) อัตราพิกดั ของเครื/ องกําเนิด เป็ น kVA ตอบ (1) 207.84 V (2) 120 A (3) 37.4 kW (4) 43.19 kVA IL 120 V IP 120 V IP 120 V IP ZP3 EL IL EL EL PF = 0.866 ZP1 IL PF = 0.866 ZP 2 PF = 0.866 รู ปที/ 11.18 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 2 3. จากวงจรในรู ปที/ 11.19 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย ในขณะจ่ายกําลังให้โหลดมีกระแสไหลในเฟส 10 A ที/แรงดันต่อเฟส เท่ากับ 220 V และ ค่า PF ที/โหลดเท่ากับ 0.85 จงหา (1) แรงดันทีข/ Mวั ของเครื/ องกําเนิด (2) กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนต่อเฟส (3) กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนทัMงหมด ตอบ (1) 381 V (2) 1.87 kW (3) 5.6 kW 365 IL 220 V 10 A 220 V 10 A 220 V 10 A ZP3 EL EL EL PF = 0.85 PF = 0.85 IL ZP1 ZP 2 PF = 0.85 IL รู ปที/ 11.19 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 3 4. จากวงจรในรู ปที/ 11.20 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุล จงหา (1) อิมพีแดนซ์ตอ่ เฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA ตอบ (1) 11.66 / 31° W (2) PF = 0.857 (3) 220 V (4) 18.86 A (5) 18.86 A (6) 3.55 kW (7) 10.62 kW (8) 12.41 kVA IL EP IP EP EP IP IP ZP3 380 V IL 380 V 380 V IL (10 + j 6) W (10 + j 6) W ZP1 (10 + j 6) W ZP 2 รู ปที/ 9.20 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 4 5. จากวงจรในรู ปที/ 11.21 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุล จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าทีโ/ หลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดที/จ่ายให้โหลด เป็ น kVA ตอบ (1) 14.42 / 33.66° W (2) 0.83 (3)180 V (4)12.48 A (5)12.48 A (6) 1.86 kW (7) 5.59 kW (8) 6.73 kVA I L IP EP EP EP IP IP ZP3 312 V IL 312 V 312 V IL (12 + j 8) W ZP1 (12 + j 8) W รู ปที/ 11.21 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 5 (12 + j 8) W ZP 2 366 6. จากวงจรในรู ปที/ 11.22 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) กระแสที/ไหลในสาย (2) แรงดันระหว่างสาย (3) กําลังไฟฟ้าที/เครื/ องกําเนิดจ่าย เป็ น kVA (4) กําลังไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW (5) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว ตอบ (1) 51.96 A (2) 220 V (3) 19.79 kVA (4) 16.23 kW (5) 5.41 kW I P = 30 A B EL A E P = 220 V I P = 30 A IP ZC IL PF = 0.82 EL E P = 220 V E P = 220 V EL IL ZA IL ZB PF = 0.82 PF = 0.82 C รู ปที/ 11.22 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 6 7. จากวงจรในรู ปที/ 11.23 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดที/จ่ายให้โหลด เป็ น kVA ตอบ (1) 17 / 28° W (2) 0.88 (3)120 V (4) 7.05 A (5) 12.21 A (6) 744.48 W (7) 2.23 kW (8) 2.53 kVA IP A B EP IP EP IP EP EL 120 V EL 120 V IL ZC IL (15 + j 8) W EL 120 V ZA IL C (15 + j 8) W ZB (15 + j 8) W รู ปที/ 11.23 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 7 8. จากวงจรในรู ปที/ 11.24 โหลดสมดุลต่อแบบเดลต้า ถ้ากระแสที/ไหลในสายเท่ากับ 10 A จงหา (1) แรงดันที/เฟส (f R ) (2) กระแสที/ไหลในแต่ละเฟส (3) ความต้านทานโหลด ตอบ (1) 220 V (2) 2.88 A (3) 76.4 W 367 IL = 5A E L = 220 V RB IL = 5A E L = 220 V RA RC IL = 5A รู ปที/ 11.24 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 8 9. จากวงจรในรู ปที/ 11.25 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทที/ปรากฎ เป็ น kVA ตอบ (1) 9.43 / 32° W (2) 0.84 (3) 220 V (4) 23.33 A (5) 40.39 A (6) 4.31 kW (7) 12.92 kW (8) 15.39 kVA E , VR , VCI , VL P A B EP IP IP EP EP EL 220 V IL EL 220 V ZC (8 + j 5) W IL EL 220 V ZB ZA IL (8 + j 5) W (8 + j 5) W C รู ปที/ 9.25 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 9 10. จากวงจรในรู ปที/ 11.26 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทที/ปรากฎ เป็ น kVA ตอบ (1) 10.77 / - 21.8° W (2) 0.92 (3) 220 V (4) 20.42 A (5) 35.37 A (6) 4.13 kW (7) 12.39 kW (8) 13.47 kVA IP EL 220 V EP IP EP IP EP EL 220 V IL ZC (10 - j 4) W IL EL 220 V ZA (10 - j 4) W IL รู ปที/ 11.26 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 10 ZB (10 - j 4) W 368 แบบทดสอบหลังเรียน หน(วยที่ 11 ระบบไฟฟ6าสามเฟส จงเลือกคําตอบที/ถูกต้องที/สุดเพียงข้อเดียว 1. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ในการลําดับเฟสแบบบวก เฟส C จะมีเฟสเซอร์ เป็ นข้อใด ก. EC / 0° ข. EC / 120° ค. EC / -120° ง. EC / 90° จากรู ปที/ 1 ใช้สําหรับคําถามข้อ 2 – 6 I L3 C EP IP EP EL = 312 V EP IP IP I L1 A EL = 312 V B IL2 (5 + j 3) W (5 + j 3) W รู ปที/ 1 วงจรไฟฟ้า 3 เฟส ต่อแบบวาย 2. ค่าเพาเวอร์แฟคแตอร์ ในวงจรรู ปที/ 1 มีค่าเท่าใด ก. 0.6 ค. 0.857 3. แรงดันเฟส มีคา่ เท่าใด ก. 180 V ค. 220 V 4. กระแสที/ไหลในสาย มีค่าเท่าใด ก. 53.46 A ค. 17.82 A 5. กําลังไฟฟ้าจริ ง มีค่าเท่าใด ก. 8.42 kW ค. 5.55 kW 6. กําลังไฟฟ้าปรากฎ มีค่าเท่าใด ก. 9.65 kVA ค. 5.55 kVA ข. 0.866 ง. 0.83 ข. 380 V ง. 120 V ข. 62.4 A ง. 30.87 A ข. 9.65 kW ง. 9.62 kW ข. 9.62 kVA ง. 8.42 kW (5 + j 3) W 369 จากรู ปที/ 2 ใช้สําหรับคําถามข้อ 7 – 10 IL EL = 220 A B EP IP IP EP IL EL = 220 EP IL C L3 ZC L1 (10 + j 4)W EL = 220 ZA (10 + j 4)W L2 รู ปที/ 2 วงจรไฟฟ้า 3 เฟส ต่อแบบเดลต้า 7. เพาเวอร์แฟคเตอร์ มีค่าเท่าใด ก. 0.80 ค. 0.84 8. แรงดันเฟส มีค่าเท่าใด ก. 120 V ค. 220 V 9. กระแสที/ไหลในสาย มีค่าเท่าใด ก. 35.37 A ค. 20.42 A 10. กําลังงานจริ งทัMงหมด มีค่าเท่าใด ก. 13.46 kW ค. 12.5 kW ข. 0.88 ง. 0.92 ข. 180 V ง. 380 V ข. 30 A ง. 20 A ข. 4.1 kW ง. 13.46 kVA ZB (10 + j 4)W 370 เอกสารอCางอิง บุญเรื อง วังศิลาบัตร. (2555). วงจรไฟฟ้ ากระแสตรงและกระแสสลับ. นนทบุรี : บริ ษทั ธนภัทร(2006) พริM นติMง จํากัด พันศักดิf พุฒิมานิตพงศ์. (2546). วงจรไฟฟ้ า 2 . กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริ มอาชีวะ. มงคล ทองสงคราม. (2540). ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า 2. กรุ งเทพฯ : หจก. วี.เจ.พริM นติMง. มงคล ทองสงคราม. (2542). พื,นฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ และไฟฟ้า 2. กรุ งเทพฯ : บริษทั รามาการพิมพ์ จํากัด. ไมตรี วรวุฒิจรรยากุล. (2554). ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า เล่ ม 3. กรุ งเทพฯ : บริษทั ส.เอเซียเพรส (1989) จํากัด สายัณต์ ชื/นอารมณ์. (2557). คณิตศาสตร์ อิเล็กทรอนิกส์ . กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริ มอาชีวะ. ศรี ศกั ดิf น้อยไร่ ภูม.ิ (2557). วงจรไฟฟ้ ากระแสสลับ. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริ มวิชาการ. อดุลย์ กัลยาแก้ว. , ประพันธ์ พิพฒั นสุข. (2546). วงจรไฟฟ้ า 2 . กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริ ม อาชีวะ. Benjamin Zeines. Electric circuit analysis., Bombay. Reston Publishing Co. INC. 1979. Charles K. Alexander Matthew N.O. Sadiku. Fundamentals of Electric Circuits. Second Edition Singapore. McGraw-Hill. 2004. Thomas L. Floyd. Principles of Electric Circuits Conventional Current Version. 7th. Ed. New Jersey. Prentice-Hall. 2003. 371 ภาคผนวก - เฉลยแบบทดสอบก(อนเรียนและหลังเรียน - เฉลยแบบฝ@กหัดทCายหน(วย 372 เฉลยแบบทดสอบก(อนเรียนและหลังเรียน 1. ก 8. ข 1. ข 8. ค 2. ข 9. ง เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่ วยที; 11 3. ง 4. ค 5. ง 6. ก 10. ข 7. ค 2. ค 9. ก เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่ วยที; 11 3. ก 4. ง 5. ก 6. ข 10. ค 7. ง 373 เฉลยแบบฝ@กหัด หน(วยที่ 11 ระบบไฟฟ6าสามเฟส 1. จากวงจรในรู ปที/ 11.17 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุล จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟส ในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันทีโ/ หลด (แรงดันเฟส) (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA IL EP IP EP ZP3 380 V EP (20 + j10) W IL 380 V IP ZP1 ZP 2 (20 + j10) W 380 V IP (20 + j10) W IL รู ปที/ 11.17 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อ 1 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z P = แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (20) 2 + (10) 2 Z = และ Z A = Z B = Z C = (20 + j10) W = (400) + (100) 500 = 22.36 W q = tan -1 (10 / 20) q = tan -1 (0.5) = 26.56° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ .....................ตอบ Z = 22.36 / 26.56° W PF = cos q PF = cos(26.56°) = 0.89 R 20 W PF = = = 0.89 Z 22.36 W .....................ตอบ (3) แรงดันทีโ/ หลด (แรงดันเฟส) EP = EL 380 V = = 219.65 @ 220 V 1.73 3 .....................ตอบ EP 220 V = = 9.38 A ZP 22.36 W .....................ตอบ (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส IP = (5) กระแสที/ไหลในสาย IL = IP = (6) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ .....................ตอบ 9.38 A PT = PT = (1.73) (380 V) (9.38 A) (0.89) 3 EL I L cos q 374 .....................ตอบ \ PT = 5,488.1 W = 5.48 kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L S = 1.73 (380 V)(9.38 A) = 6,166.4 VA .....................ตอบ \ S = 6.16 kVA 2. จากวงจรในรู ปที/ 11.18 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย จ่ายกระแสให้โหลดได้เต็มที/เท่ากับ 120 A และต่อ เข้ากับโหลดที/มีค่า PF = 0.866 จงหา (1) แรงดันระหว่างสาย (2) กระแสที/จ่ายให้โหลดเต็มที/ต่อเฟส (3) กําลังไฟฟ้าที/โหลดใช้เต็มที/ เป็ น kW (4) อัตราพิกดั ของเครื/ องกําเนิด เป็ น kVA IL 120 V IP 120 V IP 120 V IP ZP3 EL IL PF = 0.866 EL EL ZP1 IL PF = 0.866 ZP 2 PF = 0.866 รู ปที/ 11.18 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 2 วิธีทํา (1) แรงดันระหว่างสาย EL = 3 EP = (2) กระแสที/จ่ายให้โหลดเต็มที/ต่อเฟส I L = I P (3) กําลังไฟฟ้าที/โหลดใช้เต็มที/ เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cosq (1.732)(120 V) = 207.84 V = 120 A .....................ตอบ .....................ตอบ PT = (1.73) (207.84 V) (120 A) (0.866) .....................ตอบ \ PT = 37,409 W = 37.4 kW (4) อัตราพิกดั ของเครื/ องกําเนิด เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L = (1.732) (207.84 V)(120 A) \ S = 43.19 kVA = 43,197.46 VA .....................ตอบ 375 3. จากวงจรในรู ปที/ 11.19 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย ในขณะจ่ายกําลังให้โหลดมีกระแสไหลในเฟส 10 A ที/แรงดันต่อเฟส เท่ากับ 220 V และ ค่า PF ที/โหลดเท่ากับ 0.85 จงหา (1) แรงดันทีข/ Mวั ของเครื/ องกําเนิด (2) กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนต่อเฟส (3) กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนทัMงหมด IL 220 V 10 A 220 V IL PF = 0.85 EL 10 A 220 V ZP3 EL EL 10 A PF = 0.85 ZP1 ZP 2 PF = 0.85 IL รู ปที/ 11.19 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 3 วิธีทํา (1) แรงดันทีข/ Mวั ของเครื/ องกําเนิด EL = .....................ตอบ 3 EP = (1.732)(220 V) = 381 V (2) กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนต่อเฟส จากสมการ P = EP I P cos q P = (220 V)(10 A) (0.85) = 1,870 W .....................ตอบ \ P = 1.87 kW (3) กําลังไฟฟ้าที/เกิดขึMนทัMงหมด จากสมการ PT = 3 EL I L cos q PT = (1.732) (381 V) (10 A) (0.85) = 5,609 W .....................ตอบ \ PT = 5.6 kW 4. จากวงจรในรู ปที/ 11.20 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุล จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA IL IP EP EP EP IP IP ZP3 380 V IL 380 V 380 V IL (10 + j 6) W ZP1 (10 + j 6) W (10 + j 6) W ZP 2 รู ปที/ 9.20 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 4 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z P = Z A = ZB = ZC แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (10) 2 + (6) 2 = (100) + (36) Z = 136 = 11.66 W = (10 + j 6) W 376 และ q = tan -1 (6 / 10) q = tan -1 (0.6) = 31° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ (3) แรงดันที/เฟส .....................ตอบ Z = 11.66 / 31° W PF = cos q PF = cos(31°) = 0.857 R 10 W PF = = = 0.857 Z 11.66 W EP = .....................ตอบ EL 380 V = = 219.65 @ 220 V 1.73 3 .....................ตอบ (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส IP = EP 220 V = = 18.86 A ZP 11.66 W .....................ตอบ (5) กระแสที/ไหลในสาย I L = I P = 18.86 A (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว จากสมการ P = EP I P cosq .....................ตอบ P = (220 V)(18.86 A) (0.857) = 3,555.8 W .....................ตอบ \ P = 3.55 kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cos q PT = (1.73) (380 V) (18.86 A) (0.857) .....................ตอบ \ PT = 10,625.57 W = 10.62 kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L S = (1.732) (380 V)(18.86 A) = 12,412.89 VA .....................ตอบ \ S = 12.41 kVA 5. จากวงจรในรู ปที/ 11.21 เครื/ องกําเนิดต่อแบบวาย และต่อเข้ากับโหลดสมดุล จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าทีโ/ หลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดที/จ่ายให้โหลด เป็ น kVA IL IP EP EP EP IP IP ZP3 312 V IL 312 V 312 V IL (12 + j 8) W ZP1 (12 + j 8) W รู ปที/ 11.21 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 5 (12 + j 8) W ZP 2 377 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z P = Z A = ZB = ZC แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (12) 2 + (8) 2 = (144) + (64) Z = และ = (12 + j8) W 208 = 14.42 W q = tan -1 (8 / 12) q = tan -1 (0.666) = 33.66° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ (3) แรงดันที/เฟส .....................ตอบ Z = 14.42 / 33.66° W PF = cos q PF = cos(33.66°) = 0.83 R 12 W PF = = = 0.83 Z 14.42 W EP = .....................ตอบ EL 312 V = = 180.13 @ 180 V 1.732 3 .....................ตอบ EP 180 V = = 12.48 A ZP 14.42 W .....................ตอบ (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส IP = I L = I P = 12.48 A (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว จากสมการ P = EP I P cosq .....................ตอบ P = (180 V)(12.48 A) (0.83) = 1,846.51 W .....................ตอบ \ P = 1.86 kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cos q PT = (1.732) (312 V) (12.48 A) (0.83) .....................ตอบ \ PT = 5,597.5 W = 5.59 kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L S = (1.732) (312 V)(12.48 A) = 6,735 VA \ S = 6.73 kVA .....................ตอบ 6. จากวงจรในรู ปที/ 11.22 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) กระแสที/ไหลในสาย (2) แรงดันระหว่างสาย (3) กําลังไฟฟ้าที/เครื/ องกําเนิดจ่าย เป็ น kVA (4) กําลังไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW (5) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว 378 I P = 30 A B EL A E P = 220 V I P = 30 A IP ZC IL PF = 0.82 EL E P = 220 V E P = 220 V EL IL ZA IL C ZB PF = 0.82 PF = 0.82 รู ปที/ 11.22 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 6 วิธีทํา (1) กระแสที/ไหลในสาย I L = 3I P = (1.732)(30 A) = 51.96 A (2) แรงดันระหว่างสาย EL = EP = 220 V (3) กําลังไฟฟ้าที/เครื/ องกําเนิดจ่าย เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L .....................ตอบ .....................ตอบ S = (1.732) (220 V)(51.96 A) = 19,789.83 VA .....................ตอบ \ S = 19.79 kVA (4) กําลังไฟฟ้าจริ งทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ 3 EL I L cos q PT = PT = (1.732) (220 V) (51.96 A) (0.82) .....................ตอบ \ PT = 16,235.04 W = 16.23 kW (5) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว จากสมการ P = EP I P cos q P = (220 V)(30 A) (0.82) = 5,412 W .....................ตอบ \ P = 5.41 kW 7. จากวงจรในรู ปที/ 11.23 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดที/จ่ายให้โหลด เป็ น kVA IP A B EP IP EP IP EP EL 120 V EL 120 V IL ZC IL (15 + j 8) W EL 120 V ZA IL C ZB (15 + j 8) W (15 + j 8) W รู ปที/ 11.23 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 7 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z P = Z A = ZB = ZC แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (15) 2 + (8) 2 = (225) + (64) Z = 289 = 17 W = (15 + j8) W 379 และ q = tan -1 (8 / 15) q = tan -1 (0.533) = 28° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก .....................ตอบ Z = 17 / 28° W PF = cos q PF = cos(28°) = 0.88 R 15 W PF = = = 0.88 Z 17 W หรื อ (3) แรงดันที/เฟส EP = (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส IP = .....................ตอบ EL = 120 V .....................ตอบ EP 120 V = = 7.05 A ZP 17 W .....................ตอบ (5) กระแสที/ไหลในสาย I L = 3I P = (1.732)(7.05 A) (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว จากสมการ P = EP I P cosq = 12.21 A .....................ตอบ P = (120 V)(7.05 A) (0.88) = 744.48 W .....................ตอบ (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cos q PT = (1.732) (120 V) (12.21 A) (0.88) .....................ตอบ \ PT = 2,233.19 W = 2.23 kW (8) กําลังไฟฟ้าทัMงหมดทีจ/ ่ายให้โหลด เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L S = (1.732) (120 V)(12.21 A) = 2,537.72 VA .....................ตอบ \ S = 2.53 kVA 8. จากวงจรในรู ปที/ 11.24 โหลดสมดุลต่อแบบเดลต้า ถ้ากระแสที/ไหลในสายเท่ากับ 10 A จงหา (1) แรงดันที/เฟส (2) กระแสที/ไหลในแต่ละเฟส (3) ความต้านทานโหลด IL = 5A E L = 220 V RB IL = 5A E L = 220 V RA RC IL = 5A วิธีทํา (1) แรงดันที/เฟส รู ปที/ 11.24 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 8 (2) กระแสที/ไหลในแต่ละเฟส EP = EL = 220 V IP = IL 5A = = 2.88 A 1.732 3 .....................ตอบ .....................ตอบ 380 (3) ความต้านทานโหลด RP = R = EP 220 V = = 76.4 W IP 2.88 A .....................ตอบ 9. จากวงจรในรู ปที/ 11.25 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทที/ปรากฎ เป็ น kVA IP A B EP IP IP EP EP EL 220 V IL (8 + j 5) W EL 220 V I L EL 220 V ZA IL C ZC (8 + j 5) W ZB (8 + j 5) W รู ปที/ 9.25 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 9 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z P แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (8) 2 + (5) 2 Z = และ = Z A = Z B = Z C = (8 + j 5) W = (64) + (25) 89 = 9.43 W q = tan -1 (5 / 8) q = tan -1 (0.625) = 32° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ .....................ตอบ Z = 9.43 / 32° W PF = cos q PF = cos(32°) = 0.84 R 8W PF = = = 0.84 Z 9.43 W (3) แรงดันที/เฟส EP = (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส IP = .....................ตอบ EL = 220 V .....................ตอบ EP 220 V = = 23.33 A ZP 9.43 W .....................ตอบ I L = 3I P = (1.732)(23.33 A) = (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว จากสมการ P = EP I P cosq 40.39 A .....................ตอบ P = (220 V)(23.33 A) (0.84) = 4,311.38 W .....................ตอบ \ P = 4.31 kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cos q 381 PT = (1.732) (220 V) (40.39 A) (0.84) .....................ตอบ \ PT = 12,927.77 W = 12.92 kW (8) กําลังไฟฟ้าทที/ปรากฎ เป็ น kVA จากสมการ S = 3 EL I L S = (1.732) (220 V)(40.39 A) = 15,390.2 VA .....................ตอบ \ S = 15.39 kVA 10. จากวงจรในรู ปที/ 11.26 เครื/ องกําเนิดต่อแบบเดลต้า และต่อเข้ากับโหลดสมดุลย์ จงหา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส (5) กระแสที/ไหลในสาย (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW (8) กําลังไฟฟ้าทที/ปรากฎ เป็ น kVA IP EL 220 V EP IP EP IL EL 220 V IP (10 - j 4) W IL EL 220 V EP ZC ZA (10 - j 4) W IL ZB (10 - j 4) W รู ปที/ 11.26 วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟส สําหรับแบบฝึ กหัดข้อที/ 10 วิธีทํา (1) อิมพีแดนซ์ต่อเฟสในรู ปเชิงขัMว จาก Z P = แปลงให้อยู่ในรู ปเชิงขัMวได้ดงั นีM Z = (10) 2 + (-4) 2 Z = และ Z A = Z B = Z C = (10 - j 4) W = (100) + (16) 116 = 10.77 W q = tan -1 (-4 / 10) q = tan -1 (-0.4) = - 21.8° จะได้ (2) เพาเวอร์แฟคเตอร์ จาก หรื อ Z = 10.77 / - 21.8° W PF = cos q PF = cos(-21.8°) = 0.92 R 10 W PF = = = 0.92 Z 10.77 W EP = (3) แรงดันที/เฟส (4) กระแสที/ไหลในโหลดแต่ละเฟส IP = (5) กระแสที/ไหลในสาย .....................ตอบ IL = .....................ตอบ EL = 220 V .....................ตอบ EP 220 V = = 20.42 A ZP 10.77 W .....................ตอบ 3I P = (1.732)(20.42 A) = 35.37 A .....................ตอบ 382 (6) กําลังไฟฟ้าที/โหลดแต่ละตัว จากสมการ P = EP I P cos q P = (220 V)(20.42 A) (0.92) = 4,133 W .....................ตอบ \ P = 4.13 kW (7) กําลังไฟฟ้าทัMงหมด เป็ น kW จากสมการ PT = 3 EL I L cos q PT = (1.732) (220 V) (35.37 A) (0.92) \ PT = 12,399 W = 12.39 kW (8) กําลังไฟฟ้าทที/ปรากฎ เป็ น kVA จากสมการ S = .....................ตอบ 3 EL I L S = (1.732) (220 V)(35.37 A) = 13,477.38 VA \ S = 13.47 kVA .....................ตอบ