Uploaded by 25- ศิรภัสสร วิกรัยสกุล

ภัยแล้ง4 (2)

advertisement
ภัยแล้ง
จัดทำโดย
นำยชำคร
ศิลำลำย
นำยฐำนพัฒน์
นำยตุลย์
เทพจันทร์
ตุลยพิทักษ์
เลขที่ 1
เลขที่ 2
เลขที่ 3
นำยนิฟำรีส
เบ็ญเรำะฮ์มต
ั
เลขที่ 5
นำงสำวศิรภัสสร
วิกรัยสกุล
เลขที่ 25
เสนอ
ผูช
้ ว
่ ยศำสตรำจำรย์กำญจนำ ศิรม
ิ ส
ุ ก
ิ ะ
รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนหนึง่ ของรำยวิชำ
ภูมศ
ิ ำสตร์ (ส 31101)
โรงเรียนสำธิตมหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ (ฝ่ำยมัธยมศึกษำ)
ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2565
ก
คำนำ
รำยงำนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชำภูมิศำสตร์ชั้นมัธย
มศึกษำปีที่ 4 เพื่อให้ได้ศึกษำหำควำมรู้ในเรื่องภัยแล้ง
องค์ประกอบต่ำงๆ ของภัยแล้ง เช่น ปัจจัยที่ทำให้เกิดภัยแล้ง
กำรจัดกำรปัญหำภัยแล้งระยะสั้นและระยะยำว เป็นต้น
และได้ศึกษำอย่ำงเข้ำใจเพื่อเป็นประโยชน์กับกำรเรียน
ผู้จัดทำหวังว่ำ
รำยงำนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่ำนที่กำลังหำข้อมูลเรื่องนี้อยู่
หำกมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลำดประกำรใด
ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมำ ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ
วันที่ 1 กรกฎำคม
2565
ข
สำรบัญ
เรือ
่ ง
หน้ำ
คำนำ
ก
สำรบัญ
ข
คำจำกัดควำม
1
สำเหตุของกำรเกิดภัยแล้ง
2
ประเภทของภัยแล้ง
3
ปัจจัยที่ส่งผลต่อควำมรุนแรงของภัยแล้ง
4
กำรบริหำรจัดกำรแก้ไขปัญหำภัยแล้ง
5
มำตรกำรป้องกันและแก้ไข
6
แนวทำงในกำรจัดสรรน้ำสำหรับภัยแล้ง
7
ผลกระทบของภัยแล้ง
9
แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีควำมเสี่ยงในกำรเกิดภัยแล้ง
10
ค
กำรแก้ไขปัญหำภัยแล้งในทวีปแอฟริกำ
11
กำรแก้ไขปัญหำภัยแล้งในทวีปอเมริกำ(รัฐแคลิฟอร์เนีย)
13
บรรณำนุกรม
15
1
คำจำกัดควำม
ภัยแล้ง หมำยถึง
ควำมแห้งแล้งของลมฟ้ำอำกำศอันเกิดจำกกำรที่มีฝนน้อยกว่ำปกติ
หรือฝนไม่ตกตำมฤดูกำล เป็นระยะเวลำนำนกว่ำปกติ
และครอบคลุมพื้นที่บริเวณกว้ำง ทำให้เกิดกำรขำดแคลนน้ำใช้
พืชพันธุ์ไม้ต่ำงๆ ขำดน้ำทำให้ไม่เจริญเติบโตตำมปกติ
เกิดควำมเสียหำยและควำมอดอยำก
โดยทัว
่ ไปควำมแห้งแล้งเป็นภัยธรรมชำติประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นเป็นประ
จำทุกปี
โดยเฉพำะในภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลำงของประเทศไทย
เพรำะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
เข้ำไปไม่ถึงทำให้เกิดควำมอดอยำกแร้นแค้น
ซึ่งหำกปีใดที่ไม่มีพำยุเคลื่อนผ่ำนเลยก็จะก่อให้เกิดควำมแห้งแล้งรุนแร
งมำกขึ้น
อันเนื่องมำจำกฝนทิ้งช่วงยำวนำน
โดยภัยแล้งที่เกิดขึ้นทุกปีจะอย่รูะหว่ำงเดือนมิถุนำยน
ต่อเนื่องถึงเดือนกรกฎำคม
ในช่วงดังกล่ำวพืชไร่ที่เพำะปลูกจะขำดน้ำได้รับควำมเสียหำยมนุษย์แล
ะสัตว์
ขำดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้ส่งผลกระทบต่อกำรดำรงชีพรวมถึงด้ำนเศรษฐกิจ
และสังคม
ทั้งนี้ควำมรุนแรงจะมำกหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลำยด้ำน เช่น
ควำมชื้นในอำกำศ ควำมชื้นในดิน ระยะเวลำที่เกิดควำมแห้งแล้ง
และขนำดของพื้น ที่ที่มีควำมแห้งแล้ง เป็นต้น
2
สำเหตุของกำรเกิดภัยแล้ง
3
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดภัยแล้งสำหรับประเทศไทยแล้ว นอกจำกฝน
ยังมีปัจจัยอื่นที่เป็นองค์ประกอบอีกหลำยอย่ำงเช่น
ระบบกำรหมุนเวียนของบรรยำกำศ
กำรเปลี่ยนแปลงส่วนผสมของบรรยำกำศ
กำรเปลี่ยนแปลงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบรรยำกำศ กับน้ำทะเล
หรือมหำสมุทร
ดังนั้นกำรเกิดภัยแล้งจึงมิใช่เกิดจำกสำเหตุใดสำเหตุหนึ่งเพียงอย่ำงเดีย
วซึ่งพอจะประมวลสำเหตุของกำรเกิดภัยแล้งได้ ดังนี้
1. เนื่องจำกสภำวะอำกำศในฤดูร้อนที่ร้อนมำกกว่ำปกติ
2. เนื่องจำกกำรพัดพำของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
3. ควำมผิดปกติของตำแหน่งร่องมรสุมทำให้ฝนตกในพื้นที่ไม่ต่อเนื่อง
4. ควำมผิดปกติ
เนื่องจำกพำยุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่ำนประเทศไทยน้อยกว่ำปกติ
5. กำรเปลี่ยนแปลงควำมสมดุลของพลังงำนที่ได้รับจำกดวงอำทิตย์ เช่น
กำรเผำพลำสติก น้ำมัน และถ่ำนหิน ทำให้เกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน
6. ผลกระทบจำกปรำกฏกำรณ์ภำวะเรือนกระจก
เนื่องจำกส่วนผสมของบรรยำกำศ เช่น คำร์บอนไดออกไซด์
ไอน้ำลอยขึน
้ ไปเคลือบชั้นล่ำงของชัน
้ โอโซนทำให้ควำมร้อนสะสมอยู่ใ
นอำกำศใกล้ผิวโลกมำกขึ้นทำให้อำกำศร้อนกว่ำปกติ
7. กำรพัฒนำด้ำนอุตสำหกรรมต่ำงๆ
4
8.
กำรตัดไม้ทำลำยป่ำทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมอันเป็นอีก
สำเหตุหนึ่งที่มีผลกระทบต่อกำรเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของภูมิอำกำศ
เช่น ฝน อุณหภูมิ และควำมชื้น
ที่มำ: https://themomentum.co/drought-and-economy/
ประเภทของภัยแล้ง
ประเภทของภัยแล้งภัยแล้งมี 3 ประเภทดังนี้
1. ภัยแล้งทำงอุตน
ุ ย
ิ มวิทยำ (meteorological drought)
เป็นภัยแล้งที่เกิดขึ้นเนื่องจำกปริมำณฝนโดยเฉลี่ยมีปริมำณน้อยกว่ำค่ำเ
ฉลี่ยเมื่อเปรียบเทียบกับค่ำเฉลี่ยของช่วงระยะเวลำยำวนำนในอดีต
2. ภัยแล้งทำงกำรเกษตร (agricultural drought)
เป็นภัยแล้งที่ควำมชื้นในดินไม่เพียงพอที่พืชจะนำไปใช้ประโยชน์ได้โด
ยเปรียบเทียบจำกผลผลิตของพืชที่ปลูกในสภำวะที่พืชใช้น้ำปกติหำกผ
ลผลิตที่ได้ในช่วงเวลำนั้นมีปริมำณน้อยกว่ำโดยเฉลี่ยแล้วอำจมีสำเหตุจ
ำกน้ำในดินขำดแคลนทำให้ปริมำณและผลผลิตทำงกำรเกษตรลดน้อยล
ง
3. ภัยแล้งทำงอุทกวิทยำ (hydrological drought)
เป็นภัยแล้งที่ปริมำณน้ำในแม่น้ำหนองบึงทะเลสำบรวมถึงอ่ำงเก็บน้ำลด
ลงมีระดับต่ำกว่ำปกติและระดับน้ำใต้ดินก็มีระดับลดลงต่ำกว่ำปกติ
5
ปัจจัยทีส
่ ง่ ผลต่อควำมรุนแรงของภัยแล้ง
6
1. ปริมำณฝนรำยวัน
ถ้ำหำกมีน้อยก็อำจส่งผลให้เกิดภัยแล้งที่รุนแรงมำกขึ้น
2. ปริมำณกำรให้นำของชั
้
น
้ หินให้นำ้
ยิ่งชั้นดินมีกำรให้น้ำมำกเท่ำใดดินก็จะชุ่มชีมมำกขึ้นเท่ำนั้นทำให้ภัยแล้
งที่เกิดมีควำมรุนแรงลดลง
3. กำรใช้ประโยชน์ทด
ี่ น
ิ
ถ้ำหำกปลูกพืชชนิดเดิมซ้ำไปซ้ำมำก็จะทำให้ดินเสียส่งให้ควำมรุนแรง
ของภัยแล้งมีมำกขึ้น
4. กำรระบำยน้ำของดิน หำกดินมีกำรระบำยน้ำที่ดีเกิดไปอย่ำงเช่น
ทรำย
ก็จะทำให้ดินเกิดกำรแห้งเสียส่งผลให้ควำมรุนแรงของภัยแล้งนั้นเพิ่มมำ
กขึ้น
5. ควำมลำดชันของพืน
้ ที่
ยิ่งมีควำมลำดชันมำกก็จะส่งผลให้เกิดควำมรุนแรงที่มำกกว่ำพื้นที่ควำม
ลำดชันน้อย
6. ควำมหนำแน่นของลำน้ำ
ยิ่งมีลำธำรหรือแหล่งน้ำมำกก็จะทำให้พื้นที่นั้นไม่แห้งแล้ง
7. ระยะห่ำงจำกแหล่งน้ำ
ยิ่งห่ำงจำกแหล่งน้ำมำกเท่ำใดควำมรุนแรงของภัยแล้งก็จะมำกขึ้นเท่ำนั้
น
8. พืน
้ ทีล
่ ม
ุ่ น้ำสำขำ
ยิ่งล้ำน้ำมีขนำดใหญ่เท่ำใดก็จะทำให้พื้นที่นั้นมีควำมรุนแรงของภัยแล้ง
ลดน้อยลงไป
7
ที่มำ: https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1621386
กำรบริหำรจัดกำรแก้ไขปัญหำภัยแล้ง
เพื่อให้ได้ผลกำรแก้ไขที่เป็นรูปธรรม สรุปได้ดังนี้
1. กำหนดพื้นที่ภัยแล้งให้ชัดเจนในระดับหมู่บ้ำน
2. ประเมินควำมต้องกำรน้ำในปัจจุบันและในอนำคต
3. ประเมินศักยภำพกำรเก็บกักน้ำปัจจุบันและในอนำคต
โดยพิจำรณำรวมถึงโครงกำรที่ได้มี กำรเสนอไว้แล้ว 4.
วิเครำะห์สมดุลน้ำเป็นรำยลุ่มน้ำโดยกำรเปรียบเทียบปริมำณน้ำท่ำรำยปี
กับศักยภำพ ปริมำณน้ำที่เก็บกักได้
8
และควำมต้องกำรใช้น้ำทั้งในปัจจุบันและอนำคต
5.
พบว่ำในภำพรวมของพื้นที่ภำคใต้ประสบปัญหำขำดแคลนน้ำทั้งในสภำ
พปัจจุบันและอนำคต จึงเสนอกำรจัดกำรเป็นระบบเครือข่ำยน้ำ
และให้มีกำรบริหำรจัดกำรน้ำ
โดยให้สำมำรถเก็บกักน้ำที่เหลือปลำยฤดูฝนไว้ใช้ในฤดูแล้งได้
ตลอดจนกำรปรับปรุงระบบกระจำยน้ำที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภำพ
6.
เสนอแผนกำรดำเนินโครงกำรในแผนที่แสดงโครงกำรลุ่มน้ำและแสดงผ
ลที่จะได้รับจำกกำรดำเนินกำร
ภัยแล้งภำคใต้ตอนบน กับกำรแก้ไขปัญหำสำนักงำนทรัพยำกรน้ำภำค
10 กรมทรัพยำกรน้ำ 17
สรุปมำตรกำรและโครงกำรที่แก้ไขบรรเทำภัยแล้งในพื้นที่ภำคใต้ในภำ
พรวม ประกอบด้วย
1) มำตรกำรทีใ
่ ช้สงิ่ ก่อสร้ำงมำตร
กำรที่ใช้สิ่งก่อสร้ำงจะเป็นมำตรกำรทำงด้ำนกำรพัฒนำ แหล่งน้ำ
กำรพัฒนำระบบประปำ
กำรปรับปรุงระบบชลประทำนเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรส่งน้ำ ซึ่งจะ
ช่วยแก้ไขปัญหำกำรขำดแคลนน้ำ ปัญหำภัยแล้ง
ทัง้ เพื่อกำรอุปโภคบริโภค และกำรเกษตรมีแนวทำงดังนี้
 กำรพัฒนำแหล่งน้ำพร้อมระบบประปำหมู่บ้ำน เช่น
โครงกำรหนึ่งหมู่บ้ำนหนึ่งแหล่งน้ำ
 กำรพัฒนำแหล่งน้ำทั้งโครงกำรขนำดใหญ่ ขนำดกลำง
ขนำดเล็กและแหล่งน้ำในไร่นำ
 กำรพัฒนำปรับปรุงระบบชลประทำนโครงกำรขนำดใหญ่
เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรส่งน้ำและกำรใช้น้ำ
9
2) มำตรกำรทีไ
่ ม่ใช้สงิ่ ก่อสร้ำง
มำตรกำรที่ไม่ใช้สิ่งก่อสร้ำงจะเป็นมำตรกำรทำงด้ำนองค์กร
และกฎหมำยเพื่อให้มีกำรอนุรักษ์ ฟื้นฟู กำรบริหำรจัดกำร
ซึ่งจะช่วยให้มีกำรใช้น้ำอย่ำงยั่งยืน ประกอบด้วย

เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับองค์กรลุ่มน้ำและองค์กลุ่มผู้ใช้น้ำให้มีกำร
บริหำร
จัดกำรน้ำร่วมกันรวมทั้งกำรสร้ำงจิตสำนึกในกำรใช้น้ำอย่ำงมีประสิทธิ
ภำพ เหมำะสมและประหยัด

สนับสนุนให้องค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรอนุรักษ์และฟื้นฟู
สภำพป่ำ ต้นน้ำ
 จัดตั้งกองทุนเพื่อกำรอนุรักษ์และฟื้นฟู

วำงแผนกำรเพำะปลูกพืชฤดูแล้งให้สอดคล้องกับปริมำณน้ำต้นทุน
 กำรปลูกป่ำเพื่อช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศ
เป็นกำรเพิ่มปริมำณน้ำท่ำในช่วงฤดูแล้ง
และช่วยชะลอน้ำหลำกช่วงฤดูฝน ภัยแล้งภำคใต้ตอนบน
กับกำรแก้ไขปัญหำ สำนักงำนทรัพยำกรน้ำภำค 10 กรมทรัพยำกรน้ำ
18
มำตรกำรป้องกันและแก้ไข
1. มำตรกำรระยะสัน
้
1.1 กำรระบำยน้ำจำกเขื่อนและแหล่งน้ำต่ำงๆ
1.2 กำรแจกน้ำโดยรถบรรทุกน้ำ จะมีหลำยหน่วยงำน เช่น
10
กรมป้องกันและบรรเทำ สำธำรณภัย กรมชลประทำน
1.3 กำรขุดเจำะบ่อน้ำบำดำล
1.4 กำรทำฝนหลวง โดยสำนักฝนหลวงและกำรบินเกษตร
สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2. มำตรกำรระยะยำว
2.1 กำรซ่อมบำรุงเขื่อน ฝำย และขุดลอกคูคลองต่ำงๆ
2.2 ขยำยพื้นที่เขตชลประทำน
2.3 กำรทำฝนหลวงเพื่อเติมน้ำให้อ่ำงเก็บน้ำ
2.4 กำรปลูกป่ำ
2.5 กำรจัดทำแผนพัฒนำลุ่มน้ำและแผนกำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำ
ควำมคำคหวัง
จำกมำตรกำรข้ำงต้นคำดว่ำจะสำมำรถใช้ในกำรแก้ไขปัญหำภัยแ
ล้งในพื้นที่ภำคใต้ได้อย่ำง เป็นองค์รวมเป็นระบบ และยั่งยืน
กล่ำวคือ ช่วยแก้ไขปัญหำแหล่งน้ำให้มีเพียงพอ
สำหรับกำรอุปโภค บริโภค กำรชลประทำน
กำรเกษตรกรรมนอกเขตชลประทำนที่โครงกำรที่มีอยู่ในปัจจุบันยั
งเข้ำไม่ถึง กำรป้องกันน้ำเค็ม กำรรักษำคุณภำพน้ำ
และเพื่อกิจกรรมอื่นๆ รวมไปถึงกำรจัดกำรเรื่องกำรใช้ที่ดิน
กำรแก้ไขปัญหำคุณภำพดินได้อย่ำงเป็นระบบ
และท้ำยที่สุดเพื่อปรับปรุงฐำนะควำมเป็นอยู่ สภำพเศรษฐกิจและ
สังคมของรำษฎรในพื้นที่ภำคใต้ให้ดีที่สุดอย่ำงยั่งยืนตลอดไป
11
แนวทำงในกำรจัดสรรน้ำสำหรับภัยแล้ง
1. กำรประเมินควำมเสี่ยง
ประเทศไทยมีปัญหำกำรจัดกำรน้ำระดับปำนกลำงและมีควำมมั่นค
งด้ำนน้ำค่อนข้ำงสูง
เมื่อเทียบกับประเทศที่เป็นคู่แข่งขันในกำรส่งออกข้ำวกับไทย เช่น
สหรัฐอเมริกำซึ่งมีอุปทำนน้ำและควำมมั่นคงด้ำนน้ำสูงกว่ำไทย
ส่วนประเทศจีน เวียดนำม กัมพูชำและพม่ำ
ซึ่งเป็นประเทศคู่แข่งในเอเชียนั้นมีศักยภำพน้ำสูงกว่ำไทย
แต่มีกำลังกักเก็บต่ำกว่ำไทยผลิตผลทำงกำรเกษตรลดลง
ไม่เพียงพอต่อกำรบริโภค และกำรเลี้ยงปศุสัตว์
เกิดกำรกัดเซำะ กัดกร่อนภูมิทัศน์
พื้นดินแห้งแล้งและเกิดกำรพังทลำยของผิวดิน
เกิดฝุ่นละออง พำยุฝุ่น เพรำะพื้นดินแห้งแล้งขำดน้ำ
สถำนกำรณ์ที่ขำดแคลนน้ำย่อมมีวิธีกำรจัดกำรและกลไกที่แตกต่ำงกัน
ดังนั้น
เรำต้องประเมินสถำนกำรณ์ให้ใกล้เคียงควำมเป็นจริงมำกที่สุดจึงจะประ
เมินควำมเสี่ยงได้ถูกต้อง ภำคกำรเกษตรใช้น้ำกว่ำร้อยละ 90
ของน้ำทั้งหมด ดังนั้น
สถำนกำรณ์กำรขำดแคลนน้ำจึงขึ้นอยู่กับควำมต้องกำรของภำคเกษตร
โดยเฉพำะข้ำวเป็นสำคัญ ข้ำวนับว่ำเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญมำก
นอกจำกจะเป็นพืชอำหำรที่คนไทยบริโภคเป็นหลักแล้วข้ำวยังเป็นสินค้
ำส่งออกที่ทำรำยได้ให้กับประเทศลำดับต้นๆ อีกด้วย
แต่ข้ำวเป็นพืชที่ใช้น้ำมำก
หำกควำมต้องกำรข้ำวในตลำดโลกสูงขึ้นข้ำวมีรำคำดี
12
กำรปลูกข้ำวจะยิ่งเข้มข้นขึ้น พื้นที่ส่วนใหญ่ทำนำได้เพียงปีละครั้ง
แต่บำงพื้นที่ปลูกข้ำวถึงสองครั้งในรอบปีและบำงพื้นที่ปลูกข้ำวถึงห้ำครั้
งในระยะเวลำสองปี
นอกจำกนี้ชำวนำในบำงพื้นที่ยังพยำยำมที่จะทำนำโดยใช้น้ำใต้ดินเป็น
น้ำสำรองเพื่อปลูกข้ำว
แสดงให้เห็นว่ำประสิทธิภำพกำรใช้น้ำของชำวนำมีควำมแตกต่ำงกัน
และก่อให้เกิดควำมขัดแย้งขึ้น
ควำมขัดแย้งด้ำนกำรจัดสรรน้ำได้กลำยเป็นปัญหำสำคัญในภำคกำรเก
ษตร
2. กำรพัฒนำปรับปรุงและฟืน
้ ฟูแหล่งน้ำ
กำรพัฒนำปรับปรุงและฟื้นฟูแหล่งน้ำเพื่อเพิ่มปริมำณน้ำต้นทุนใน
แหล่งน้ำที่มีศักยภำพในกำรกักเก็บน้ำต้องเหมำะสมกับระบบนิเวศ
ภูมิสังคม เศรษฐกิจ
และควำมต้องกำรร่วมกันของชุมชนท้องถิ่นและผู้มีส่วนได้เสีย
กำรสนับสนุนกำรเพิ่มผลผลิตเพื่อสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนอำหำรและพลังง
ำนแก่ประเทศทำได้โดยกำรเพิ่มพื้นที่ชลประทำนและประสิทธิภำพกำรก
ระจำยน้ำของระบบชลประทำนอย่ำงทั่วถึงและเป็นธรรม
กำรพัฒนำแหล่งน้ำตำมแนวพระรำชดำริ ทั้งแหล่งน้ำผิวดิน
แหล่งน้ำบำดำล แหล่งน้ำชุมชนและแหล่งน้ำในไร่นำ
รวมทั้งแก้มลิงและฝำยชะลอน้ำ
ตลอดจนกำรผันน้ำระหว่ำงลุ่มน้ำทั้งภำยในและระหว่ำงประเทศให้สอด
คล้องกับศักยภำพของพื้นที่ ควบคู่กับกำรจัดกำรควำมต้องกำรใช้น้ำ
โดยคำนึงถึงควำมสมดุลและเป็นธรรมในกำรจัดสรรน้ำให้ภำคกำรใช้
น้ำต่ำงๆกับปริมำณน้ำต้นทุนที่มีอยู่
และควำมพร้อมของประชำชนในพื้นที่
13
14
3. กำรจัดสรรทรัพยำกรน้ำระหว่ำงผูใ
้ ช้นำ้
แนวทำงกำรจัดสรรทรัพยำกรน้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพระหว่ำงผู้ใช้น้ำด้ว
ยกันมี 2 วิธี คือ
1) กำรใช้มำตรกำร “ค่ำน้ำ”
โดยให้ผู้ใช้น้ำมีส่วนในกำรรับผิดชอบในต้นทุนในกำรจัดกำร
กำรดำเนินกำร และต้นทุนทำงสังคมที่เกิดขึ้น
โดยกำรเสียค่ำน้ำในอัตรำที่เหมำะสม
ซึ่งต้องมีกำรพิจำรณำปัจจัยหลำยประกำร เช่น ระบบกำรส่งน้ำ
ควบคุมน้ำ กำรยอมรับและกำรเตรียมควำมพร้อมในทุกระดับ เป็นต้น
2) กำรใช้กลไกของตลำดโดยทำกำรซือ
้ ขำยสิทธิในกำรใช้น้ำ
กลไกของตลำดจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อ
อุปสงค์ของน้ำมีมำกกว่ำอุปทำนของน้ำ
และต้องมีกำรกำหนดสิทธิของน้ำไว้อย่ำงชัดเจน
มีโครงสร้ำงของระบบพื้นฐำนของระบบชลประทำนเพียงพอในกำรซื้อข
ำยส่งน้ำและวัดปริมำตรน้ำ มีกฎหมำยและข้อบัญญัติรองรับ
มีแนวทำงในกำรแก้ปัญหำควำมขัดแย้ง
มีแนวทำงในกำรจัดสรรน้ำเมื่ออุปทำนน้ำน้อยหรือมำกเกินไปได้อย่ำงเส
มอภำค
มีควำมสอดคล้องกับวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น
4. กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้นำและกำรชลประทำน
้
กำรวัดประสิทธิภำพของกำรชลประทำนทำได้โดยกำหนดขอบเข
ตที่แน่นอน และพิจำรณำถึงผู้ได้รับประโยชน์จำกกำรชลประทำน
ทั้งทำงด้ำนเวลำและสถำนที่ คือ effective irrigation efficiency
เป็นกำรพิจำรณำน้ำที่ไหลเข้ำและไหลออกจำกระบบ ในทำนองเดียวกัน
ตัวบ่งชี้ประสิทธิภำพในระดับลุ่มน้ำจะต้องพิจำรณำถึงน้ำไหลกลับและก
ำรนำน้ำมำใช้อีก มีกำรวัดผลิตภำพของน้ำในขบวนกำรผลิต
เป็นกำรวัดมูลค่ำที่แท้จริงจำกกำรใช้น้ำหนึ่งหน่วย
15
เมื่อน้ำเป็นปัจจัยกำรผลิตปัจจัยหนึ่ง เช่น ผลผลิตข้ำวต่อน้ำหนึ่งหน่วย
ซึ่งปริมำตรน้ำดังกล่ำวได้รวมเอำผลของประสิทธิภำพของกำรชลประทำ
นเข้ำไปด้วยกำรเพิ่มประสิทธิภำพของกำรชลประทำนที่ถูกต้องทำได้โด
ยกำรประหยัดน้ำที่สำมำรถก่อให้เกิดประโยชน์จำกกำรใช้น้ำเพิ่มขึ้น
เช่น
กำรเพิ่มผลผลิตต่อปริมำณน้ำ
กำรลดปริมำณน้ำที่สูญหำยไปจำกระบบและไม่สำมำรถนำกลับมำใช้ได้
อีก กำรไม่ก่อให้เกิดปัญหำคุณภำพน้ำ
นอกจำกนี้กำรเพิ่มประสิทธิภำพควรพิจำรณำจำกค่ำประสิทธิภำพกำรใ
ช้น้ำทำงเศรษฐศำสตร์ซึ่งเป็นข้อมูลสนับสนุนที่สำคัญในกำรบริหำรจัดก
ำรน้ำ กำรจัดสรรน้ำในกรณีน้ำมีปริมำณจำกัด
โดยยึดหลักที่ว่ำผลตอบแทนต่อน้ำของผู้ใช้น้ำทุกกลุ่มจะต้องเท่ำกัน
โดยจัดระบบกำรกระจำยน้ำให้เหมำะสมในทุกภำคส่วน ทั้งภำคเกษตร
อุตสำหกรรม และอุปโภคบริโภค ใช้หลักกำรลดกำรใช้ซ้ำ
และกำรนำกลับมำใช้ใหม่ และจัดทำข้อมูลกำรใช้น้ำ (Water
Footprint)
กำรพัฒนำทำงด้ำนเทคโนโลยีกำรเกษตรมีควำมสำคัญในกำรเพิ่มผลิต
ภำพของน้ำ เช่น กำรพัฒนำพันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูง
พันธุ์พืชอำยุสั้นจะใช้น้ำน้อยกว่ำพันธุ์พืชอำยุยำว วิธีทำงเขตกรรม
เป็นต้น ทำงเลือกในกำรจัดกำรน้ำภำคกำรเกษตรอื่นๆ ได้แก่
กำรลดควำมต้องกำรและกำรปรับโครงสร้ำงกำรเกษตรไปหำพืชที่ใช้น้ำ
น้อยในฤดูแล้ง กำรลดกำรสูญเสียน้ำอันเนื่องมำจำกกำรระเหย
กำรเคลื่อนย้ำยน้ำจำกกำรเพำะปลูกที่มีมูลค่ำต่ำไปยังกำรเพำะปลูกที่มีมู
ลค่ำสูง กำรลดมลพิษทำงน้ำและกำรจัดกำรน้ำอย่ำงบูรณำกำร
ต้องหำวิธีกักเก็บน้ำให้มีประสิทธิภำพ
กำรจัดกำรใช้ที่ดินและน้ำร่วมกันอย่ำงมีประสิทธิภำพ เป็นต้น
กำรจัดกำรกำรผลิตภำยในโรงงำนอุตสำหกรรมที่ดีสำมำรถทำให้ควำม
ต้องกำรใช้น้ำเพื่อกำรอุตสำหกรรมลดลงได้ เช่น
กำรใช้โรงงำนให้เต็มควำมสำมำรถ
16
หรือกำรเลือกใช้เทคโนโลยีจำกต่ำงประเทศหรือโรงงำนที่มีเจ้ำของเป็น
ชำวต่ำงประเทศจะมีกำรใช้น้ำที่ประหยัดกว่ำกำรที่เจ้ำของเป็นคนไทย
เป็นต้น
5.
กำรจัดทำแผนแม่บทโครงสร้ำงพืน
้ ฐำนด้ำนทรัพยำกรน้ำและกำรอนุรัก
ษ์ทรัพยำกรน้ำ
ควรมีกำรจัดทำแผนแม่บทโครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนทรัพยำกรน้ำ
เพื่อให้มีน้ำสะอำดในกำรอุปโภค
บริโภคอย่ำงเป็นระบบโดยจัดกำรน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินอย่ำงผสมผสำน
ตำมศักยภำพของพื้นที่
เพื่อให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงน้ำสะอำดได้อย่ำงทั่วถึง
และให้มีกำรปรับปรุง พระรำชบัญญัติน้ำและพระรำชบัญญัติอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้อง
โดยให้มีกำรทำประชำพิจำรณ์ร่ำงพระรำชบัญญัติอย่ำงกว้ำงขวำง
ควรมีกำรคุ้มครองพื้นที่อนุรักษ์และระบบนิเวศที่เปรำะบำงและมีควำมหล
ำกหลำยทำงชีวภำพโดยพื้นที่ต้นน้ำ
ส่งเสริมกำรอนุรักษ์ป่ำในท้องถิ่นโดยองค์กรชุมชน
6.
กำรให้ควำมรูเ้ กี่ยวกับทรัพยำกรน้ำและสนับสนุนกำรมีส่วนร่วมของประ
ชำชน
ควรมีกำรบรรจุหลักสูตรควำมรู้เรื่องน้ำในทุกระดับกำรศึกษำเพื่อใ
ห้ประชำชนตระหนักถึงควำมสำคัญของทรัพยำกรน้ำและสิทธิหน้ำที่ขอ
งตนเอง ให้ควำมรู้เรื่องกฎหมำย
มีกำรประชำสัมพันธ์และกำรให้ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับเรื่องน้ำต่อสำธำร
ณชนและแก่หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องอย่ำงเพียงพอและต่อเนื่อง
รวมทั้งปลูกจิตสำนึกแก่สำธำรณชนในกำรใช้น้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพแล
ะกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติ
สนับสนุนและกำหนดรูปแบบกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรป้องกัน
ภัยแล้งและบริหำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำ
17
สนับสนุนงำนวิจัยเกี่ยวกับทรัพยำกรน้ำ
โดยจัดงบประมำณสนับสนุนกำรวิจัย
เพื่อให้มีข้อมูลสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำที่ถูกต้องและเห
มำะสมกับประเทศ
สนับสนุนให้มีกำรถ่ำยทอดควำมรู้และแนะแนวทำงแก่เกษตรกรถึงวิธีเข
ตกรรมที่ใช้น้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ส่งเสริมให้เกษตรกรเข้ำถึงเทคโนโลยีกำรเกษตรที่ทันสมัยโดยมีทำงเลือ
กในกำรทำกำรปลูกพืชที่สร้ำงรำยได้สูง ใช้น้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ไม่ก่อให้เกิดมลพิษทำงน้ำ
เป็นต้น
ผลกระทบของภัยแล้ง
ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นได้จำกภำวะภัยแล้งมีดังนี้
1. ผลิตผลทำงกำรเกษตรลดลง ไม่เพียงพอต่อกำรบริโภค
และกำรเลี้ยงปศุสัตว์
2. เกิดกำรกัดเซำะ กัดกร่อนภูมิทัศน์
พื้นดินแห้งแล้งและเกิดกำรพังทลำยของผิวดิน
3. เกิดฝุ่นละออง พำยุฝุ่น เพรำะพื้นดินแห้งแล้งขำดน้ำ
4.
ประชำชนเกิดควำมอดอยำกเนื่องจำกกำรขำดน้ำในกำรอุปโภคบริโภค
5. เกิดควำมเสียหำยต่อที่อยู่อำศัยของสัตว์
ที่ได้รับผลกระทบทั้งบนบกและในน้ำ
6. เกิดภำวะขำดน้ำ ขำดสำรอำหำร และเพิ่มโอกำสเกิดโรคระบำด
7. เกิดกำรอพยพย้ำยถิ่นของประชำกร
8. ผลผลิตกระแสไฟฟ้ำลดลง เนื่องจำกกำรไหลของน้ำผ่ำนเขื่อนลดลง
9. กำรประกอบกำรด้ำนอุตสำหกรรมต้องหยุดชะงัก
เพรำะขำดแคลนน้ำที่ใช้ในกำรขบวนกำรผลิตเพิ่มโอกำสกำรเกิดไฟป่ำ
18
ในช่วงเกิดภัยแล้ง
19
แผนทีแ
่ สดงพืน
้ ทีท
่ ี่มค
ี วำมเสี่ยงในกำรเกิดภัยแล้ง
ตำมข้อมูลจำกโครงกำรท่อระบำยน้ำของสถำบันทรัพยำกรโลก
สองประเทศในยุโรป ได้แก่ มอลโดวำและยูเครน
มีควำมเสี่ยงสูงต่อกำรเกิดภัยแล้งทั่วโลก
ประเทศที่ได้รับผลกระทบมำกขึ้น
ซึ่งมีควำมเสี่ยงต่อควำมแห้งแล้งปำนกลำงถึงสูง
สำมำรถพบได้ในตะวันออกกลำง แอฟริกำเหนือ เอเชีย
รวมถึงอินเดียและจีน และยุโรป
ยูเครนและเพื่อนบ้ำนที่มีขนำดเล็กกว่ำได้รับผลกระทบจำกภัยแล้งครั้งใ
หญ่ในอดีต ซึ่งทำให้พืชผลลดลงอย่ำงมำก
ปัญหำของกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศที่ส่งผลกระทบต่ออุณหภูมิแ
ละรูปแบบฝนนั้นชัดเจนในหลำยพื้นที่ในยุโรปตะวันออกซึ่งได้เปลี่ยนไป
สู่สภำพอำกำศที่ร้อนขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้
ประเทศที่เสี่ยงภัยแล้งไม่ได้เหมือนกันกับประเทศที่ประสบปัญหำขำดแค
ลนน้ำมำกที่สุด
ซึ่งหมำยถึงกำรขำดน้ำที่เหมำะสมเพียงพอต่อกำรใช้น้ำของประชำชนทุ
กคนในประเทศ ซึ่งรวมถึงกำรดื่มด้วย
ในขณะที่ควำมกังวลจำกน้ำเป็นเรื่องปกติในเอเชียใต้ ตะวันออกกลำง
และแอฟริกำเหนือ
แต่ก็พบได้น้อยกว่ำมำกในยุโรปที่คุณภำพน้ำไม่ดีทำให้เกิดปัญหำน้อย
ลง
20
ที่มำ; https://www.statista.com/chart/25101/countries-bydrought-risk/
21
กำรแก้ไขปัญหำภัยแล้งในทวีปแอฟริกำ
ปัญหำทีเ่ กิดขึน
้
ผู้คนหลำยล้ำนคนที่อำศัยอยู่ใน Horn of Africa
ที่เสี่ยงภัยแล้งต้องเผชิญกับภัยคุกคำมอย่ำงต่อเนื่องจำกกำรขำดน้ำที่ปล
อดภัย เชื่อถือได้ และมีรำคำที่เอื้อมถึงได้ตลอดทั้งปี
พื้นที่แห้งแล้งของโซมำเลีย เคนยำ
และเอธิโอเปียกำลังประสบปัญหำภัยแล้งบ่อยครั้งและรุนแรงขึ้น
เหตุฉุกเฉินจำกภัยแล้งเกิดขึ้นเมื่อปริมำณน้ำฝนลดลง
ซึ่งรุนแรงขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่ำนมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำ
ศ รวมกับควำมสำมำรถของชุมชนที่จำกัดและควำมล้มเหลวของสถำบัน
ซึ่งทำให้กำรเข้ำถึงน้ำสำหรับคน ปศุสัตว์ และกำรเกษตรลดลงอย่ำงมำก
เหล่ำนี้เป็นหนึ่งในชุมชนที่ห่ำงไกลจำกสังคมที่สุดในแอฟริกำตะวันออก
วิกฤตนี้ส่งผลให้เกิด
1. ควำมล้มเหลวของพืชผลร้ำยแรง
2. ควำมเครียดทำงสำธำรณสุข
3. วิกฤตทำงเศรษฐกิจ
4. กำรพลัดถิ่นของผู้คน
ในอดีต กำรรับมือกับภัยแล้งมีปฏิกิริยำตอบสนอง
ซึ่งเกี่ยวข้องกับควำมช่วยเหลือฉุกเฉินระหว่ำงประเทศเพื่อช่วยชีวิตและ
ดำรงชีวิต ซึ่งจะหำยไปเมื่อวิกฤตในทันทีหำยไป
ผลกระทบที่ไม่มั่นคงจำกเหตุฉุกเฉินจำกภัยแล้งจะเพิ่มขึ้นตำมแต่ละเหตุ
กำรณ์ที่ต่อเนื่องกัน
นำไปสู่ควำมเปรำะบำงและควำมไม่มั่นคงในภูมิภำคที่ซับซ้อนของแอฟริ
กำแห่งนี้
22
วิธีกำรแก้ไขปัญหำ- DRIP(Drought Resilience Impact Platform)
เรำสำมำรถยุติวงจรอุบัติภัยภัยแล้งในพื้นที่แห้งแล้งของเคนยำ
เอธิโอเปีย
และโซมำเลียได้และสำมำรถป้องกันเหตุฉุกเฉินด้ำนมนุษยธรรมจำกภัย
แล้งได้หำกมีกำรจัดหำน้ำบำดำลอย่ำงน่ำเชื่อถือ
DRIP - เป็นกำรออกแบบระบบที่ครอบคลุมของ Drought
Resilience Impact Platform
ผสำนรวมกำรตรวจจับและกำรวำงแผนตั้งแต่เนิ่นๆ
กับกำรจัดกำรน้ำบำดำลเชิงรุกเพื่อให้แน่ใจว่ำมีน้ำเพียงพอ
ซึ่งจะช่วยให้ชุมชนที่แห้งแล้งกลำยเป็นผู้จัดกำรที่มีประสิทธิภำพในกำร
ป้องกันวิกฤตกำรณ์ด้ำนมนุษยธรรมเหล่ำนี้
โดยมำแทนที่มำตรกำรช่วยเหลือระยะสั้นที่มีปฏิกิริยำตอบสนองและมีรำ
คำแพง เช่น กำรขนส่งทำงน้ำ ด้วยกรอบกำรทำงำนเพื่อรับมือกับภัยแล้ง
บังคับใช้ภำยในกรอบโครงสร้ำงสถำบันและกำรกำกับดูแลในท้องถิ่น
DRIP สำมำรถควบคุมกำรตอบสนองในกำรปรับตัว
รักษำควำมปลอดภัยในกำรส่งมอบบริกำรหลักอย่ำงต่อเนื่อง
และให้ควำมช่วยเหลือโดยเฉพำะในเวลำและสถำนที่ที่จำเป็น
DRIP มุ่งมั่นที่จะขยำยควำมพยำยำมที่กำลังดำเนินกำรอยู่
โดยได้รับกำรสนับสนุนจำกพันธมิตรที่ทำงำนภำคสนำม
รวมถึงควำมร่วมมือด้ำนกำรเรียนรู้ระบบกำรล้ำงน้ำอย่ำงยั่งยืนของมหำ
วิทยำลัยโคโลรำโด โบลเดอร์ มูลนิธิวิทยำศำสตร์แห่งชำติ NASA
23
และหน่วยงำนจัดกำรภัยแล้งแห่งชำติเคนยำ (NDMA) และคนอื่น ๆ
ด้วยข้อมูลที่ใช้โดยพันธมิตรในและต่ำงประเทศ ซึ่งรวมถึงเคำน์ตี
หน่วยงำนระดับภูมิภำคและระดับชำติ องค์กรช่วยเหลือ
และผู้บริจำคระหว่ำงประเทศ
โดยทีมงำนได้พัฒนำแบบจำลองควำมต้องกำรน้ำบำดำลจำกกำรสังเกต
กำรณ์ปริมำณน้ำฝนและน้ำผิวดินจำกภำรกิจดำวเทียม รวมทั้งเครื่องมือ
Moderate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS)
บนดำวเทียม Terra ของ NASA
นอกจำกนี้เรำยังสำมำรถติดตำมระดับน้ำโดยใช้ Gravity Recovery
and Climate Experiment (GRACE) ของ NASA
ซึ่งใช้แรงโน้มถ่วงในกำรวัดกำรเปลี่ยนแปลงของปริมำณน้ำบนและใต้พื้
นผิวโลก
และกำรประเมินควำมชื้นในดินโดยใช้ดำวเทียมโดยใช้ข้อมูลเรดำร์รูรับ
แสงสังเครำะห์
ที่มำ : https://www.colorado.edu/center/mortenson/DRIP
24
กำรแก้ไขปัญหำภัยแล้งในทวีปอเมริกำ(รัฐแคลิฟอร์เนีย)
ชำวแคลิฟอร์เนียจำนวนมำกอำบน้ำสั้นลง เก็บน้ำฝน
และปล่อยให้สนำมหญ้ำเป็นสีน้ำตำลเพื่อประหยัดน้ำ
แม้จะมีควำมพยำยำมในกำรอนุรักษ์หลำยครั้ง
แต่แคลิฟอร์เนียต้องเผชิญกับวิกฤตภัยแล้งที่รุนแรงมำตั้งแต่ปี 2543
จำกข้อมูลของกรมอำหำรและกำรเกษตรแห่งแคลิฟอร์เนีย
มณฑลแคลิฟอร์เนียทั้งหมด 58 แห่งอยู่ภำยใต้กำรกำหนดภัยพิบัติของ
USDA
และกำรขำดแคลนน้ำอย่ำงต่อเนื่องจะยิ่งเลวร้ำยลงจำกผลกระทบของก
ำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ อย่ำงไรก็ตำมเทคโนโลยีใหม่ เช่น
กำรแยกเกลือออกจำกน้ำทะเล ดำวเทียม กำรกรองน้ำสตอร์มวอเตอร์
ผลิตภัณฑ์ป้องกันกำรรั่วไหล โดรนสำหรับเพำะเมล็ดเมฆ
และกำรชลประทำนแบบหยดขนำดเล็กอำจเป็นกุญแจสำคัญในกำรปรับ
ปรุงภัยพิบัติจำกภัยแล้งในรัฐ
David Feldman
ศำสตรำจำรย์ด้ำนกำรวำงผังเมืองและนโยบำยสำธำรณะของ UCI
ซึ่งเป็นผู้อำนวยกำร Water UCI
อธิบำยควำมสำคัญของกำรอนุรักษ์น้ำในกำรให้สัมภำษณ์กับ Aaron
Orlowski
แม้ว่ำชำวเมืองจะใช้น้ำน้อยกว่ำชำวไร่
ชำวเมืองทำงตอนใต้ของแคลิฟอร์เนียยังคงต้องลดกำรบริโภคลง
เพรำะพวกเขำพึ่งพำแหล่งที่เสียภำษีมำกเกินไป เช่น หุบเขำโอเวนส์
เบย์-เดลตำ และแม่น้ำโคโลรำโด
25
กำรใช้น้ำของเมืองทำให้ทรัพยำกรทำงนิเวศวิทยำในภูมิภำคเหล่ำนี้มีค
วำมเสี่ยง” เฟลด์แมนกล่ำว
แหล่งน้ำของชำวแคลิฟอร์เนียกำลังถูกล้นเกิน
และวิธีแก้ปัญหำที่เป็นไปได้ของเฟลด์แมนก็คือกำรแยกเกลือออกจำกน้ำ
ทะเล ซึ่งเป็นกระบวนกำรในกำรกำจัดเกลือออกจำกน้ำทะเล
71% ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ และมหำสมุทรคิดเป็น 96.5%
ของปริมำณนั้น อย่ำงไรก็ตำม
กำรแยกเกลือออกจำกน้ำทะเลต้องใช้พลังงำนจำนวนมหำศำลที่สำมำรถ
ทำให้วิกฤติกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศรุนแรงขึ้นและมีค่ำใช้จ่ำยสู
ง แต่อำจมีควำมจำเป็นในภูมิภำคที่แห้งแล้งมำก เช่น
ตะวันออกกลำงและออสเตรเลียซึ่งมีทำงเลือกจำกัด
โรงงำนแยกเกลือออกจำกเกลือกำลังได้รับควำมนิยมในแคลิฟอร์เนีย
โดยโรงงำนที่ใหญ่ที่สุดตั้งอยู่ในเขตซำนดิ-เอโกของอเมริกำเหนือชื่อ
Claude “Bud” Lewis Carlsbad Desalination Plant
ที่มำ: https://newuniversity.org/2022/02/09/technologicalinnovations-may-be-a-solution-tocaliforniasdroughtcrisis/?fbclid=IwAR1r6xIBJ2SL7xSP_ZcrPXsj
DOHTzUI1OLF_Qgl1E5n9glHmF8hjrUfJKnA
26
อีกวิธีหนึ่งที่เป็นไปได้ในกำรจัดกำรกับภัยแล้งคือดำวเทียม
พื้นที่เพำะปลูกในแคลิฟอร์เนียใช้น้ำมำกกว่ำผู้อยู่อำศัยเกือบสี่เท่ำ
น้ำส่วนใหญ่มำจำกชั้นหินอุ้มน้ำหรือหินที่ดูดซึมได้ซึ่งมีน้ำใต้ดิน
ก่อนปี 2014 เกษตรกรมีข้อจำกัด
บำงประกำรเกี่ยวกับกำรใช้น้ำใต้ดิน
และสิ่งนี้นำไปสู่ชั้นหินอุ้มน้ำที่หมดลงอย่ำงรวดเร็ว
เมื่อวำงข้อจำกัดแล้วนักวิจัยจำกมหำวิทยำลัย Cal Poly
เริ่มใช้ภำพถ่ำยจำกดำวเทียมของ NASA
เพื่อตรวจสอบปริมำณน้ำที่ใช้ในกำรเกษตร
และดูว่ำเกษตรกรใช้เกินปริมำณที่อนุญำตหรือไม่
กำรกรองน้ำฝนเป็นอีกวิธีหนึ่งในกำรรับมือกับภัยแล้ง ในออเรนจ์เคำน์ตี้
เมืองต่ำงๆ กำลังรวบรวมน้ำฝนผ่ำน "กำรดักพำยุ"
ท่อส่งน้ำสตอร์มวอเตอร์ไปยังแอ่งเก็บน้ำซำนตำอำนำ
จำกนั้นจะซึมลงสู่พื้นดิน เทคโนโลยีต่ำงๆ
อยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำเพื่อกรองน้ำจำกพำยุที่ซึมเข้ำสู่พื้นดิน เช่น
ระบบกรองชีวภำพ
ซึ่งจะสกัดสำรมลพิษใดๆผลิตภัณฑ์ป้องกันกำรรั่วไหลยังสำมำรถบรรเท
ำวิกฤตภัยแล้งได้ ตัวอย่ำงเช่น ผลิตภัณฑ์ "Strip Drip"
ของสวีเดนสำมำรถประหยัดน้ำได้โดยกำรระบุท่อที่ชำรุดหรือรั่วที่ไม่สำ
มำรถค้นพบได้เป็นเวลำหลำยสัปดำห์ ผลิตภัณฑ์ถูกวำงในที่ที่
"เข้ำถึงยำก" เช่น อ่ำงล้ำงจำน และจะแจ้งให้บุคคลนั้นทรำบถึง
"กำรรั่วไหล ท่อเยือกแข็ง หรืออุณหภูมิที่สูงเกินไป"
ในอีกด้ำนหนึ่งของสเปกตรัม "กำรเพำะเมล็ดเมฆ"
ซึ่งใช้กันจริงมำหลำยปีช่วยให้ผู้เชี่ยวชำญสร้ำงฝนหรือหิมะได้โดยกำรเ
ติมซิลเวอร์ไอโอไดด์ลงในเมฆ
แม้ว่ำกำรหว่ำนเมล็ดในเมฆอำจเพิ่มปริมำณน้ำฝนได้ถึง 35%
แต่ก็มีผลกระทบในทำงลบ เช่น สำรเคมีที่สะสมต่อพืชผล คน และน้ำ
เพื่อแก้ปัญหำนี้
27
สหรัฐอำหรับเอมิเรตส์กำลังทำงำนเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ที่ปะทะเมฆด้ว
ยประจุไฟฟ้ำผ่ำนกำรใช้โดรน
กระบวนกำรนี้รวมละอองขนำดเล็กเข้ำกับละอองขนำดใหญ่เพื่อสร้ำงปริ
มำณน้ำฝน
โดยไม่ต้องใช้สำรเคมีกำรชลประทำนขนำดเล็กหรือที่เรียกว่ำกำรชลปร
ะทำนแบบหยดช่วยลดของเสียจำกน้ำผ่ำนกำรชลประทำนที่มีประสิทธิภ
ำพมำกขึ้นโดยส่งน้ำไปยังรำกของพืชโดยตรง
แม้ว่ำระบบชลประทำนขนำดเล็กจะมีค่ำใช้จ่ำยสูง
แต่ระบบชลประทำนขนำดเล็กใช้น้ำน้อยกว่ำระบบสปริงเกอร์ทั่วไปประ
มำณ 20 ถึง 50%
ในขณะที่วิกฤตภัยแล้งในแคลิฟอร์เนียทวีควำมรุนแรงขึ้น
เทคโนโลยีเหล่ำนี้และเทคโนโลยีอื่นๆ ได้นำเสนอวิธีกำรบรรเทำปัญหำ
บุคคลสำมำรถพยำยำมจำกัดกำรใช้น้ำโดยกำรดำเนินกำรต่ำงๆ เช่น
ลดเศษอำหำร อำบน้ำให้น้อยลง และกินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
28
บรรณำนุกรม
อภิสิทธิ์ เอี่ยมหน่อ, วิโรจน์ เอี่ยมเจริญ, สำกล สถิตวิทยำนันท์, ชมชิด
พรหมสิน, สมนึก ผ่องใส. 2564.
หนังสือเรียนรำยวิชำพืน
้ ฐำนสังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
ภูมศ
ิ ำสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษำปีที่ 4-6. กรุงเทพมหำนคร : อักษรเจริญทัศน์
ธรรมนิติ (Dharmniti). ครม.เห็นชอบมำตรกำรแก้ไขภัยแล้ง.
(ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนำยน 2565. จำก
https://www.dharmniti.co.th/droughtsolution/?fbclid=IwAR0dEU
1n_Ih3FYITZd5B6RVdc1K6OT0rGpAvwsOahY8DB2S_8yr7A4dcLE
สำนักงำนทรัพยำกรน้ำภำค 10 กรมทรัพยำกรน้ำ.
ภัยแล้งภำคใต้ตอนบน กับกำรแก้ไขปัญหำ. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 21
มิถุนำยน 2565. จำก
https://dwr.go.th/uploads/file/article/2013/article_th-20032013143816786935.pdf?fbclid=IwAR2_sqoZPURAdUuoxlc7vqEfYW9eXMlc
_uC1C5bqPG7Fn9aBzyITR8ZMs1g
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ. ภัยแล้ง. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 21
มิถุนำยน 2565. จำก http://ndwc.disaster.go.th/cmsdetail.ndwc9.283/26675/menu_7525/4214.3/
29
Statista. The World Map of Drought Risk. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 4
กรกฎำคม 2565. จำก
https://www.statista.com/chart/25101/countries-by-droughtrisk/?fbclid=IwAR1Dei4R0rksNC66zqSDN4L0ibMSG0pzjkYKmi
7_sredrl27TXozxf_826I
New University. Technological Innovations May be a Solution to
California’s Drought Crisis. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎำคม
2565. จำก https://newuniversity.org/2022/02/09/technologicalinnovations-may-be-a-solution-to-californias-droughtcrisis/?fbclid=IwAR1r6xIBJ2SL7xSP_ZcrPXsjDOHTzUI1OLF_Q
gl1E5n9glHmF8hjrUfJKnA
University of Colorado Boulder. Ending Drought Emergencies.
(ออนไลน์).
สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎำคม 2565. จำก
https://www.colorado.edu/center/mortenson/DRIP
30
Lever For Change. DRIP- Ending Drought Emergencies in the
Horn of America. (ออนไลน์).
สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎำคม 2565. จำก
https://www.leverforchange.org/what-we-do/explorecompetitions/100change2021/drip-ending-droughtemergencies-in-the-horn-ofafrica/?fbclid=IwAR1NtdGyDZM4u_dUp7SUDkeptavfwj6AM4_J
YSnJ1WCsxqHCijnEZwnLA5c
Download