ไดออกซิน (Dioxins) ไดออกซิน เปนชื่อทั่วไปทีใ่ ชเรียกกลุมสาร chlorinated dioxin หรือ furan เชน polychlorinated dibenzodioxins (PCDDs) PCDDs เปนสมาชิกของกลุมสารอินทรียที่มีฮาโลเจน ประกอบอยูด วย (halogen เชน คลอรีน และโบรมีน) และพบวาสามารถสะสมในมนุษยและสัตวได เนื่องจากการละลายในไขมันที่ดีของมัน และรู วาอาจเปนสารกอใหเกิดความพิการตั้งแตกาํ เนิดการกลายพันธุ และสารกอมะเร็งในมนุษยดวยเชนกัน Dioxins ชื่อเต็มคือ Polychlorinated dibenzo-para-dioxins: PCDDs เกิดจากการเผาไหมที่ไมสมบูรณ หรือ by product ของกระบวนการผลิตที่เกี่ยวของกับ Chlorine มี 75 ชนิด Furans สารที่คลายคลึง dioxins มีชื่อเต็มวา Polychlorinated dibenzo furans: PCDFs มี 135 ชนิด Dioxin-like PCBs สารที่คลายคลึง dioxins มี 209 ชนิด คุณสมบัต:ิ * ละลายไดดใี นน้ํามัน จึงสะสมในเซลลไขมันของสิ่งมีชีวิต * มีความคงตัวสูง ตกคางไดนานในสิ่งแวดลอม (Half life in human: 7.8-132 ป) * เปนสารกอมะเร็ง เปนพิษตอระบบประสาท และระบบการสืบพันธุ แหลงเกิด Dioxin/Furans 1.กระบวนการผลิตเคมีภัณฑที่เกี่ยวของกับ chlorinated phenols, chlorinated solvents รวมถึงอุตสาหกรรมการ ผลิตกระดาษ อุตสาหกรรมฟอกยอม สิ่งทอ เครื่องหนัง 2. กระบวนการเผาไหมอุณหภูมิสูง เชน เตาเผากากของเสีย เตาเผาขยะ เตาเผาศพ 3. การผลิต/หลอมโลหะประเภทเหล็กและโลหะ 4. คลอรีนในกระบวนการฟอกกระดาษ 5. ควันบุหรี่, กระดาษกรองกาแฟผง และ กลองนม 6. การเผาไหมของน้ํามันเชื้อเพลิงรถยนตรวมกับสาร Anti knock 7. การเผาไหมสารเคมีการเกษตรกลุม Organochlorine 8. การเผาขยะ, การเผาไหมตางๆ 9. กระบวนการผลิตสารเคมีบางชนิด เชน Chlorobenzene, 1, 2, 4-trichlorobenzene เปนตน ไดออกซินสามารถตกคางอยูในสิ่งแวดลอมไดเปนเวลานานและผานหวงโซอาหารมาถึงคนไดการไดรับ สารนี้จึงมิไดมาจากทางผิวหนังหรือการสูดดมเทานั้น การบริโภคอาหาร จึงเปนอีกทางหนึ่งที่จะไดรบั ไดออกซิน เชนกัน จากการที่ไดออกซินละลายไดในไขมันอยางดี ดังนั้นแหลงอาหารกลุมเสี่ยงที่พบมาก คือในไขมันของ เนื้อสัตว เชน ผลิตภัณฑเนื้อสัตว ปลา(ทั้งน้ําจืดและน้ําเค็ม) หอย หมู ไก ไข นม เนย และช็อกโกแลต โอกาสการปนเปอนในเนื้อสัตว: วัตถุดิบอาหาร/อาหารสัตว (feed additives) * * * กระบวนการผลิต/ขนสง สิ่งแวดลอม กฎระเบียบของไทยสําหรับ Dioxin/ Furan: 1. กรมวิชาการเกษตร - ใหสารในกลุม Dioxin/Furan เปนวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (การมีไวครอบครองตองขออนุญาต) 2. กรมปศุสัตว - กําหนด PCBs ในไขมันสัตวปก ไมเกิน 2.0 pg/g (0.002 ppb) เทากับของ EU มาตรฐาน CODEX สําหรับ Dioxin/ Furan • ไมมีการกําหนดคา MRLs • มี Code of Practice เปนขอแนะนําในการลดการปนเปอน Dioxin และ Dioxin-like PCB (CAC/RCP 62-2006) สถานการณการปนเปอนใน EU 1976: อิตาลี พบในผักผลไม 50 μg/g 1999: เบลเยี่ยม พบในสินคาปศุสัตวสูงกวาคามาตรฐาน 800 เทา 2006: พบใน feed additive, Fish oil supplement, และ Poultry meat (Portugal) 2007: พบใน Feed additive (ตุรกี และจีน) , Guar gum, Canned fish liver ใน EU 2008:ไอรแลนด พบในเนื้อสุกร สูงกวาคามาตรฐาน 100 เทา และพบในวัตถุดบิ อาหารสัตวหลาย ชนิด จากหลายประเทศ การพิจารณาการไดรับสารไดออกซินของรางกายโดยองคการอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) กําหนด Tolerable daily intake (TDI) หรือ ปริมาณสารที่รางกายสามารถทนรับไดโดยไมกอใหเกิดอันตรายของสาร ไดออกซินไวที่ 1.0 – 4.0 pg/kg body weight /day นั่นคือ มนุษยสามารถไดรับสารไดออกซินจากแหลงตาง ๆ รวมกันไมเกินวันละ 1.0 – 4.0 พิโคกรัม/กิโลกรัมน้ําหนักตัว ไปจนตลอดชีวิตจึงไมเปนอันตรายจากสารไดออกซิน สําหรับวิธีประเมินความเสี่ยงของการไดรบั สารไดออกซินใชวิธีเทียบเทากับแฟคเตอรสารเปนพิษ หรือ WHO-TEFs (Toxic equivalent factors, 1997)