การบั งคับอากาศยานบิ นชนเข้ากับภูมิประเทศ ในสภาพอากาศการบินด้วยทัศนะ (Controlled Flight Into Terrain In Visual Conditions) หลายๆ ท่านคงคุ้น เคยกับ คําว่า CFIT (ซีฟิท) หรือ Controlled Flight Into Terrain การบินหรือการบังคับ อากาศยานชนเข้ า กั บ ภู มิ ป ระเทศ ถ้ านั ก บิ น ไม่ คิ ด สั้ น คงจะไม่ มี ท างเกิ ด ขึ้ น โดยเฉพาะในสภาพอากาศที่ สามารถบิ น ด้วยทัศนะ หรือบิ น ด้ว ยการมองเห็ น ได้นั้ น เป็ น ไปไม่ ได้ เลยที่ เหตุ การณ์ เช่ น นี้ จะเกิ ดขึ้ น ได้ แต่ ก็ มี เหตุการณ์เกิดขึ้นแล้ว คณะกรรมการสอบสวนอากาศยานอุบั ติ เหตุของ คณะกรรมการความปลอดภั ย ด้ านการขนส่ งแห่ งชาติ ของสหรัฐอเมริกา (NTSB) ได้ระบุว่าอุบัติเหตุหลายครั้ง ที่ มี ส่ ว น ม าจากการบั งคั บ อากาศยาน ช น เข้ า กั บ ภู มิ ป ระเทศ (CFIT) ทั้ ง จากนั ก บิ น ที่ มี คุ ณ วุ ฒิ ก ารบิ น ด้ว ยกฎการบิ น IFR และจากนั ก บิ น ที่ มี คุ ณ วุฒิ ก ารบิ น ด้วยกฎการบิน VFR ที่ปฏิบัติการบินภายใต้สภาพอากาศ การบิ น ด้ ว ยทั ศ นะ (VMC) ในเวลากลางคื น ในพื้ น ที่ ห่างไกล ในหลายๆกรณี นั ก บิ น ยั ง ดำรงการติ ด ต่ อ กั บ หอบั งคั บ การบิ น อยู่ ในตอนที่ เกิ ด อุ บั ติ เหตุ ขึ้ น และยั ง ได้รับการบริการด้วยเรดาห์อยู่ นักบินและเจ้าหน้าที่ห อบั งคับ การบิ น ที่มีส่ วนร่วม ใน อุ บั ติ เ ห ตุ ดู เห มื อน ว่ า จะไม่ ได้ ตระห นั ก ถึ ง ว่ า อากาศยาน ตกอยู่ในสภาวะที่เป็นอันตราย ก ารต ระ ห นั ก รู้ ด้ ว ย ก ารเพิ่ ม ค ว าม สู ง แ ล ะ การวางแผนการบินที่ดีก่อนทำการบิน ดูเหมือนว่าจะเป็น แนวทางที่ดีในการป้องกันอุบัติเหตุ ข้อควรปฏิบัติของนักบิน ๑. อุ บั ติ เหตุ จ าก CFIT นั้ น หนทางที่ ดี ที่ สุ ด ในการ หลีกเลี่ยงคือ การวางแผนก่อนการบินที่ถูกต้องเหมาะสม ๒. การทำความคุ้ น เคยกั บ ภู มิ ป ระเทศเป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามสำคั ญ ยิ่ ง ของการปฏิ บั ติ ก ารบิ น ด้ ว ยทั ศ นะ อย่ า งปลอดภั ย ในเวลากลางคื น การใช้ แ ผนที่ หรื อ จุดอ้างอิงต่ างๆ เพื่อมั่นใจว่าความสูงที่เป็ นอยู่ในขณะนั้น เป็นความสู งที่ ปลอดภัยจากภูมิประเทศ และสิ่ งกีดขวาง ทั้งเส้นทาง ๓. ในพื้ น ที่ ห่ า งไกล โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ งในสภาพที่ เมฆเต็ ม ท้ อ งฟ้ า และไม่ มี แ สงจั น ทร์ ต้ อ งระมั ด ระวั งว่ า ความมืดอาจจะทำให้การหลีกเลี่ยงภูมิประเทศสูงแทบจะ เป็นไปไม่ได้เลย และการที่ไม่ มีแสงจากภาคพื้ นทำให้ไม่มี จุดอ้างอิงทางระดับได้ ๔. เมือ่ วางแผนการบินในเวลากลางคืนด้วยกฎการบิน VFR ให้ ยึด ถือแนวปฏิ บัติของการบินด้ว ยกฎการบิน IFR เช่น การบินไต่ไปตามเส้นทางที่ปลอดภัยจนกว่าจะสูงกว่า ภูมิประเทศที่อยู่โดยรอบ เลือกความสูงการบินเดินทางที่ ให้ ร ะยะห่ า งจากภู มิ ป ระเทศเหมื อ นกั บ การบิ น ด้ ว ย กฎการบิน IFR (๒,๐๐๐ ฟิต เหนือระดับพื้นในพื้นที่ภูเขา และ ๑,๐๐๐ ฟิต เหนือพื้นในพื้นที่อื่นๆ) ๕. เมื่ อ ได้ รั บ บริ ก ารนํ า ทางด้ ว ยเรดาห์ (Radar Service) อย่าหวังพึ่งแต่เจ้า หน้าที่ ห อบังคับ การบิ นเพี ยง อย่างเดียวที่จะเตือนในเรื่องอันตรายจากภูมิประเทศ แม้ว่า เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินจะเตือนนักบิน ถ้าพวกเขาเห็น ว่าจะเป็นอันตรายก็ตาม แต่พวกเขาก็อาจจะไม่ไ ด้ทันรับรู้ ถึ ง อั น ตรายที่ จ ะเกิ ด ต่ อ อากาศยานที่ บิ น ด้ ว ยกฎ VFR เนื่องจากอยู่ใกล้ภูมปิ ระเทศมากเกินไป ๖. เมื่อได้รับคำสั่งให้รักษาทิศทางหัวเครื่องพร้อมด้วย ค ำสั่ งว่ า “ Maintain VFR” ให้ ต ระ ห นั ก ว่ าทิ ศ ท าง หัวเครื่องที่ได้รับอาจจะไม่เพียงพอที่จะพ้นจากสิ่งกีดขวาง ถ้ า คุ ณ สงสั ย ใดๆ ในเรื่ อ งความสามารถที่ จ ะมองเห็ น และหลีกเลี่ยงภูมิประเทศ หรือสิ่งกีดขวาง ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ หอบังคับการบิ น ทันที และปฏิ บัติในการไต่ ไปที่ความสู ง ปลอดภัยถ้าจำเป็นต้องทำ ๗. โปรแกรมในการให้ บ ริก ารเรดาร์ ข องเจ้ า หน้ าที่ หอบั ง คั บ การบิ น มี ค วามจํ า กั ด ในเรื่ อ งการเตื อนถึ ง ภู มิ ป ระเทศที่ เป็ น อั น ตราย แต่ ร ะบบเตื อ นภั ย ได้ จั ด ทำ สำหรับปกป้องการบินด้วยกฎการบิน IFR โดยปกติจะไม่ให้ ความเร่งด่วนแก่เครื่องบินที่ทำการบินด้วยกฎการบิน VFR เจ้ า หน้ า ที่ ห อบั ง คั บ การบิ น อาจจะเปิ ด ระบบเตื อ นภั ย สำหรับเครื่องบินที่บินด้วยกฎการบิน VFR ตามการร้องขอ จากนั ก บิ น แต่ อ าจจะทำให้ เกิ ด การเตื อนภั ย ที่ ผิ ดพลาด สำหรับเครื่องบิน ที่ปฏิบัติการบินอยู่ต่ ำกว่าความสูงต่ ำสุด ของการบิน IFR โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามเส้นทางบิน ๘. การเพิ่ ม ความสามารถในการมองเห็ น ในเวลา กลางคื น FAA ได้ แ นะนํ า ให้ ใ ช้ อ อกซิ เจนเสริ ม สำหรั บ การบินที่สูงกว่า ๕,๐๐๐ ฟิต ๙. ถ้ า ปฏิ บั ติ ก ารบิ น ในเวลากลางคื น โดยเฉพาะ ในพื้ น ที่ ห่ า งไกล หรื อ พื้ น ที่ ที่ มี ค วามสู ง ให้ พิ จ ารณาใช้ ระบบเตือนภัยจากภูมิประเทศด้วยระบบจีพี เอส จะช่วย เพิ่มความปลอดภัยในการบิน ที่มา : วารสารการบินทหารบก ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๕ เกร็ดความรู้ กั ญ ชาต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพในการทำการบิ น ด้วยประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุประเภท ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ พ.ศ.๒๕๖๕ ซึ่งมีผลบังคับใช้ เมื่ อวั นที่ ๙ มิ ถุ นายน พ.ศ.๒๕๖๕ ที่ ผ่ านมา ไม่ ระบุ ว่ า พื ช กั ญ ชา รวมถึ งส่ ว นต่ างๆของพื ช เช่ น ใบ ช่ อ ดอก เป็ น สารเสพติ ด ให้ โทษนั้ น สถาบั น เวชศาสตร์ ก ารบิ น กอ งทั พ อ าก าศ แ ล ะส ม าค ม เวช ศ าส ต ร์ ก ารบิ น แห่งประเทศไทย เห็นว่ากัญชาเป็นพืชที่มีสารแคนาบินอยด์ หลายชนิ ด ซึ่งมีผลออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เมื่อพิจารณา ในประเด็นความปลอดภั ยของสาธารณะ (Public Safety) และการป้องกันการเกิดอากาศยานอุบั ติเหตุ พบว่ากัญชา มีผลลดประสิทธิภาพในการทำการบิน โดยมีกฎระเบียบและ ข้อบังคับทางการบินที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ๑. ประกาศสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) เรื่ อ ง การขอ และการออกใบสํ า คั ญ แพทย์ พ.ศ.๒๕๖๐ ระบุว่า หากผู้ทําการในอากาศใช้กัญชา ซึ่งเป็น หนึ่ ง ในสารที่ อ อกฤทธิ์ ต่ อ จิ ต ประสาทตามประกาศ ให้ ถื อ ว่ าไม่ ส มบู ร ณ์ และไม่ ส ามารถขึ้ น ปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ทางการบินได้ ๒. ข้ อ บั งคั บ ของคณะกรรมการการบิ นพลเรื อ น ฉบั บที่ ๒๗ ว่ า ด้ วยวิ นั ยผู้ ประจำหน้ าที่ (ลงวั น ที่ ๓๐ ก.ย. ๔๙) ระบุ ว่า ผู้ ประจำหน้ าที่ จะต้องไม่ใช้ กัญชา ซึ่งเป็นหนึ่งในสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทตามข้อบังคับ ในทางที่ก่อให้เกิดอันตรายโดยตรงต่อผู้ใช้หรือเป็นอันตราย ต่อชีวิตสุขภาพ หรือสวัสดิภาพของผู้อนื่ หรือเป็นเหตุให้เกิด ปั ญหาด้ านอาชี พ สั งคม หรื อความผิ ดปกติ ด้ านร่ างกาย หรื อ จิ ต ประสาท หรื อ ทำให้ อาชี พ สั ง คม ร่ า งกาย หรือจิตประสาทเสื่ อมลง อี กทั้ งห้ ามไม่ ให้ ผู้ ประจำหน้ าที่ ปฏิ บั ติ หน้ าที่ ตกอยู่ ภ ายใต้ สารที่ ออกฤทธิ์ ต่ อจิ ตประสาท เนื่องจากจะทำให้สมรรถนะของบุคคลเสื่อมลง ดังนั้น ถึงแม้ว่ากัญชาจะไม่ถูกจัดเป็นยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๕ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข แต่ เมื่ อ พิจารณาด้านความปลอดภัยในการบินของผู้ทําการในอากาศ การใช้กัญชาซึ่งเป็นสารที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตประสาท ให้ ถือว่า ไม่ ส มบู รณ์ และไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ท างการบิ น ได้ ในทุกกรณี จึงขอให้ผู้ทําการในอากาศ และเจ้าหน้าที่ควบคุม การจราจรทางอากาศ หลี กเลี่ ยงการใช้กัญชา และสารสกัด ของกั ญชา ทั้ งขอให้ ตระหนั กว่ าการตรวจพบอนุ พั นธ์ ของ กัญชาในร่างกาย และปัสสาวะยังคงถือเป็นความผิดสำหรับ ผู้ทําการในอากาศ ที่ ม า : ป ร ะ ก า ศ ส ถ า บั น เว ช ศ า ส ต ร์ ก า ร บิ น กองทั พ อากาศ และสมาคมเวชศาสตร์ ก ารบิ น แห่ ง ประเทศไทย การกระจายข่าวรณรงค์เพือ่ ป้องกันอุบัติเหตุ