Uploaded by Anucha ladadat

VT-01

advertisement
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา
Visual Testing (VT)
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
1. วัตถุประสงค์
1.1 เพื�อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ที�ต้องทํางานตรวจสอบด้วยสายตา
1.2 เพื�อควบคุมและลดปัญหา ข้อบกพร่องในงานเชื�อมโลหะ และอื�นๆ
2. ขอบเขต
2.1 มาตรฐานนี�ใช้ตรวจสอบงานเชื�อมโครงสร้างเหล็ก ,ท่อ ,ถัง ,ชนิดต่างๆ
2.2 ขั�นตอนการปฏิบัติงานนี� ใช้ครอบคลุมการปฏิบัติงาน ในการตรวจสอบชิ�นงานด้วยสายตา เพื�อหา ข้อบกพร่องในงานเชื�อม
3. คําจํากัดความ
3.1 ข้อบกพร่องในงานเชื�อม (Defect) หมายถึง สิ�งผิดปกติที�เกิดขึ�นกับรอยเชื�อม หรือ บริเวณรอบๆแนวเชื�อม ที�ไม่สามารถยอมรับได้
เช่น รอยแตก (Cracks) ฟองอากาศ (Porosity) หลอมละลายไม่สมบูรณ์ (Incomplete Fusion) และอืนๆ
4. มาตรฐานอ้างอิง
4.2 มาตรฐาน ASME Section V Article 9 (2016 Edition) -Boiler & Pressure Vessel Procedure
4.3 มยผ 1562-51 มาตรฐานวิธีการตรวจสอบด้วยสายตา
5. เครืองมือ/อุปกรณ์ในการตรวจสอบ
5.1 เกจวัดแนวเชื�อม (Weld Gauge)
5.2 ไปฉาย (Torch)
5.3 แว่นขยาย (Magnifying glass)
5.4 เวอร์เนียคาร์ลิปเปอร์ (Vernier Caliper)
5.5 ฟุตเหล็ก (Steel Feet)
5.6 เกจวัดร่อง (Taper Gauge )
5.7 ปากกายูนิเพนท์ ,Solid Marker
6. วิธีการตรวจสอบ
6.1 ตรวจสอบก่อนการเชือม
6.1.1 ตรวจสอบความสะอาดของแผ่นเหล็กบริเวณที�จะเชื�อมเป็นการตรวจสอบความพร้อมของชิ�นงานที�จะทําการเชื�อม โดยบริเวณ
ทีจะทําการเชือม
6.1.2 ตรวจสอบลวดเชื�อม ลวดเชื�อมที�ใช้ต้องเป็นไปตามข้อกําหนดของกระบวนการเชื�อม (WPS) ต้องมีฉลากบอกชนิดและมาตรฐาน
ลวดเชือมด้วย
6.1.3 ตรวจสอบ Fit-up เป็นการตรวจสอบชิ�นงานก่อนเชื�อม เพื�อตรวจสอบระยะต่างๆตามแบบ หรือตามมาตรฐานกําหนด โดยแยก
เกณฑ์การตรวจสอบ ตามชนิดของแนวเชื�อมดังนี�
การตรวจสอบ Fit-up ของ Butt weld Joint
รูป.1 การตรวจสอบ ระยะ Gap
หน้า
1
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
การตรวจสอบของมุมการบาก (Bevel)
การตรวจสอบ Alignment
รูป.2 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมตรวจสอบมุมของรอยบาก
รูป.3 การใช้ฉากวัด Alignment
การตรวจสอบระยะ Nose ของการบาก
การตรวจสอบของมุมการบาก (Bevel)
รูป.4 การใช้เวอร์เนียตรวจสอบระยะ Nose ของ Butt Weld
รูป.5 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมตรวจสอบมุมของ Butt Weld
การตรวจสอบ Fit-up ของ Fillet Weld
การตรวจสอบระยะ Nose ของการบาก
รูป.6 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมตรวจสอบระยะ Gap ของ Fillet Weld
รูป.7 การใช้เวอร์เนียตรวจสอบระยะ Nose ของ Fillet Weld
หน้า
2
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
หน้า
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.2 การตรวจสอบขณะเชื�อม
6.2.1 เป็นการตรวจสอบแนวเชื�อมแรก โดยปกติจะใช้ตรวจสอบโครงสร้างที�ต้องการความแข็งแรงเป็นพิเศษ เช่นการตรวจสอบ
การเชื�อม Block งาน โครงสร้างเหล็ก งานถัง งานท่อ ที�มีมาตรฐานสูง ตามความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก
แนว Root
แนว Root
รูป.7 แนวเชื�อม Plate Root Weld
รูป.8 แนวเชื�อม Pipe Root Weld
6.3 การตรวจสอบหลังการเชื�อม
การตรวจสอบแนวเชื�อมที�เสร็จสมบูรณ์แล้ว ( Final Weld)
เป็นการตรวจสอบว่าแนวเชื�อมได้ขนาด และมีรอยบกพร่องยอมรับได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ ซึ�งรอยบกพร่อง ที�นํามาอธิบายในการจัดการ
6.3.1 ตรวจสอบความสะอาด รอยเชื�อมต้องปราศจาก Slag สี และ Spatter ที�มีความยาวหรือ เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 1/8 นิ�ว
Slag
รูป.9 สแลก (Slag)
Spatter
รูป.10 เม็ดไฟ (Spatter)
3
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.3.2 ตรวจสอบผิวรอยเชื�อม เกล็ดแนวเชื�อมต้องสมํ�าเสมอไม่เป็นร่องมุมแหลม ซึ�งมีความลึกของร่องเกิน 1/16 นิ�ว
รูป.11 เกล็ดแนวเชื�อมต่อเนื�องสมํ�าเสมอสวยงาม
รูป.12 เกล็ดแนวเชื�อมไม่ต่อเนื�องสมํ�าเสมอ
6.3.3 ตรวจสอบขนาดของแนวเชื�อม
ตรวจสอบขนาดของ Butt Weld Joint
ผิวรอยเชื�อมต้องไม่ตํ�ากว่าความหนาของชิ�นงาน ขนาดของรอยเชื�อมที�ทําความสะอาดแล้วต้องไม่สูงเกิน 3 มม ( 1/8 นิ�ว) หรือตาม
มาตรฐานตามแบบกําหนด หรือมาตรฐานตามลูกค้ากําหนดเป็นหลัก
รูป.13 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมตรวจสอบความสูงแนวเชื�อม
หน้า
4
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
ตรวจสอบขนาดของแนว Fillet Weld Joint
รูป.14 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมตรวจสอบขนาดของ Leg Length
6.3.4 ตรวจสอบรูปร่างของ (Weld Contour)
แนวเชื�อม Butt Joint รูปร่างของแนวเชื�อมควรจะเรียบสมํ�าเสมอ ไม่นูน ไม่เว้าจนเกินไปและมุมระหว่างขอบแนวเชื�อม
กับชิ�นงาน ต้องไม่ตํ�ากว่า 90 องศา (ถ้ามุมตํ�ากว่า 90 องศา จะทําให้แนวเชื�อมนูนเกินไป)
> 90 องศา
รูป.14 แนวเชื�อมที�มีความนูนมากเกินไป (Convexity)
หน้า
5
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป.15 แสดงแนวเชื�อมที�มีความเว้ามากเกินไป (Concavity)
6.3.5 Fillet Weld รูปร่างของแนวเชื�อมควรจะเอียงทํามุม 45 องศา ผิวรอยเชื�อมเรียบเสมอกันไม่เว้า หรือ นูน จนเกินไป
หมายเหตุ
ตามมาตรฐาน มยผ.1561-51 การตรวจสอบงานเชื�อมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ กําหนดให้ความนูนไม่เกิน 3 มม.
รูป.16 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมวัดความนูนของแนวเชื�อม(Convexity)
หน้า
6
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
หน้า
7
เกณฑ์การยอมรับข้อบกพร่องของรอยเชื�อม
ประเภทของรอยบกพร่อง: รอยนูน (Convexity)
คําอธิบายรายละเอียด
สําหรับรอยเชื�อมมุม Fillet Weld แบ่งตามความกว้างของขารอยเชื�อม (Width of Weld Face : W)
ก. W ≤ 8 มม.
ข. 8 มม. ≤ W ≤ 25 มม.
ค. W ≥ 25 มม.
L
เกณฑ์การยอมรับ
ระยะนูนไม่เกิน C =2 มม.
ระยะนูนไม่เกิน C =3 มม.
ระยะนูนไม่เกิน C =5 มม.
รูป.17 การใช้เกจวัดแนวเชื�อมวัดความเว้าของแนวเชื�อม (Concavity)
หมายเหตุ
ความเว้าไม่เกิน 1.5 มม. การตรวจสอบแนว Fillet ขึ�นอยู่กับมาตรฐานตามแบบ หรือตามลูกค้าระบุ เป็นหลัก
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
ประเภทของรอยบกพร่อง: รอยเชื�อมไม่ได้ขนาด (Undersized weld)
คําอธิบายรายละเอียด
เกณฑ์การยอมรับ
รอยเชื�อมที�ไม่ได้ขนาดรวมกันต้องไม่เกินร้อยละ 10ของความยาวแนว
1.รอยเชื�อมทุกกรณี
เชื�อมทั�งหมด
ไม่อนุญาติให้มีรอยเชื�อมไม่ได้ขนาดรอยเชื�อมที�ปลายบนระยะ2เท่าของ
2.รอยเชื�อม (Fillet Weld) ระหว่างเอว (Web) กับปีก (Flange)
ของคานประกอป
ความกว้างปีก
3.รอยเชื�อม Fillet weld แบ่งตามขนาดรอยเชื�อมระบุ ( Specified Norminal = L )
ก. L ≤ 5 มม. (3/16นิ�ว)
ขนาดรอยเชื�อมเล็กกว่าขนาดระบุไม่เกิน 2 มม (1/16 นิ�ว)
ข. L = 6 มม. (3/16นิ�ว)
ขนาดรอยเชื�อมเล็กกว่าขนาดระบุไม่เกิน 2.5 มม (3/32 นิ�ว)
ข. L ≥ 8 มม. (5/16นิ�ว)
ขนาดรอยเชื�อมเล็กกว่าขนาดระบุไม่เกิน 3 มม (1/8 นิ�ว)
รูปที� 18. เกณฑ์การยอมรับข้อบกพร่องของรอยเชื�อม
หน้า
8
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.3.6 ตรวจสอบรอย Arc Strike
รอย Arc Strike มีผลกระทบเฉพาะวัสดุ ชนิดที�มีผลกระทบกับความร้อน เท่านั�น เพราะความร้อนจะทําให้วัสดุเสียความแข็งแรง
สําหรับเหล็ก Mild Steel นั�น Arc Strike จะทําให้ชิ�นงานไม่สวยงามเท่านั�น
รูปที� 19 แสดงรอย Arc Strike
6.3.7 ตรวจสอบรอยแตก Crack
หากพบรอย Crack ต้องกําจัดออก ตามมาตรฐาน มยผ.1561-51 และ AWS D1.1 การตรวจสอบงานเชื�อมโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
"รอยแตกทุกชนิกไม่อนุญาติให้มี"
รูปที� 20 แสดงรอย รอยแตก (Crack)
หน้า
9
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.3.8 การตรวจสอบ Porosity
รูปที� 21 แสดงรอย รูพรุน (Porosity)
ประเภทของรอยบกพร่อง : รูพรุน (Porosity)
1. รอยเชื�อมภาระสถิตที�ไม่ใช่รอยต่อท่อ
ก. รอยเชื�อม (Butt Weld) บากร่อง (Groove) หลอม
ลึกสมบูรณ์( CJP: Complete Joint Penetration) ที�รับหน่วยแรงดึง
ข.รอยเชื�อมต่อขนแบบบากร่องแบบอื�น (นอกเหนือจาก ก.) และ
รอยเชื�อมมุม (Fillet)
2.รอยเชื�อมรับภาระพลวัตที�ไม่ใช่รอยต่อท่อ และ กรณีรอยเชื�อมท่อ
ก. รอยเชื�อม (Butt Weld) บากร่อง หลอมลึกสมบูรณ์ ที�รับ
หน่วยแรงดึง
ข.รอยเชื�อมต่อขนแบบบากร่องแบบอื�น (นอกเหนือจาก ก.)
ค.รอยเชื�อมมุม Fillet
ค.1.รอยเชื�อมมุมทุกกรณี
ค.2.รอยเชื�อมมุมระหว่างสติฟเฟนเนอร์ (Stiffener) กับ
เอวของคาน (Web)
ไม่อนุญาติให้มี
ผลรวมของรูพรุนที�ตามองเห็นได้ที�มีเส้นไม่น้อยกว่า 1 มม. (1/32 นิ�ว)
ต้องไม่เกิน
(1) 10 มม ต่อทุกความยาวรอยเชื�แม 25 มม.(1 นิ�ว) และ
(2) 20 มม ต่อทุกความยาวรอยเชื�แม 300 มม.(12 นิ�ว)
ไม่อนุญาติให้มี
จํานวนรูพรุนต้องไม่เกิน 1 ตําแหน่ง ต่อความยาวรอยเชื�อม 100 มม(4 นิ�ว)
และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรูพรุนต้องไม่เกิน 2.5 มม (3/32 นิ�ว)
จํานวนรูพรุนต้องไม่เกิน 1 ตําแหน่ง ต่อความยาวรอยเชื�อม 100 มม(4 นิ�ว)
และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรูพรุนต้องไม่เกิน 2.5 มม (3/32 นิ�ว)
ผลรวมของเส้นผ่าศูนย์กลางรูพรุน ต้องไม่เกิน
(1) 10 มม (3/8 นิ�ว) ต่อความยาวรอยเชื�อม 25 มม (1นิ�ว)
(2) 20 มม (3/4) ต่อทุกความยาวรอยเชื�แม 300 มม.(12 นิ�ว)
หน้า
10
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.3.9 การตรวจสอบรอยกัดแหว่ง (Undercut)
รูปที� 22 แสดงรอยกัดแหว่ง (Undercut)
รูปที�23 แสดงการตรวจรอยกัดแหว่ง (Undercut)
ประเภทของรอยบกพร่อง : รอยกัดแหว่ง (Undercut)
1.รอยเชื�อมรับภาระสถิตที�ไม่ใช่รอยท่อ
ก.ความหนาโลหะงานน้อยกว่า 25 มม (1 นิ�ว)
ข. ความหนาโลหะงานมากกว่า หรือเท่ากับ 25 มม. (1 นิ�ว)
(1) ความลึกของรอยกัดแหว่ง ไม่เกิน 1 มม (1/32 นิ�ว)
(2) ความลึกของรอยกัดแหว่ง ไม่เกิน 2 มม (1/16 นิ�ว) และความยาว
รอยเชื�อมที�มีรอยกัดแหว่งลึกรวมกันไม่เกิน 50 มม (2 นิ�ว) ต่อ
ความยาวรอยเชื�อม 300 มม (12 นิ�ว)
(1) ความลึกของรอยกัดแหว่ง ไม่เกิน 2 มม (1/16 นิ�ว) ตลอดแนวเชื�อม
หน้า
11
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
2.รอยเชื�อมรับภาระพลวัตที�ไม่ใช่รอยท่อ และ กรณีรอยเชื�อมต่อท่อ
ก.กรณีโครงสร้างหลัก (Primary Members) ที�มีรอยเชื�อมรับหน่วย
แรงดึง
ข. กรณีอื�นๆนอกจาก ก.
(1) ความลึกของรอยกัดแหว่ง ไม่เกิน 0.25 มม (0.01 นิ�ว)
(1) ความลึกของรอยกัดแหว่ง ไม่เกิน 1 มม (1/32 นิ�ว)
6.3.10 รอยเกย (Overlap )
หมายเหตุ
สําหรับรอยเชื�อมุม และ รอยเชื�อมต่อชนแบบบากร่อง"ไม่อนุญาติให้มี"
Overlap
รูปที� 24 แสดงรอยเกย (Overlap)
รูปที� 25 แสดงรอยเกย (Overlap)
หน้า
12
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.3.11 หลอมละลายไม่สมบูรณ์ (Incomplete Fusion )
หมายเหตุ
สําหรับรอยเชื�อมมุม "ไม่อนุญาติให้มี "
รูปที� 26 แสดงหลอมละลายไม่สมบูรณ์ ((Incomplete Fusion)
รูปที� 27 แสดงหลอมละลายไม่สมบูรณ์ ((Incomplete Fusion)
หน้า
13
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
หมายเหตุ
6.3.12 รอยเชื�อมไม่เต็ม (Underfill )
รอยเชื�อมไม่เต็มสําหรับการต่อชนแบบ บากร่อง "ไม่อนุญาติให้มี"
รูปที� 27 แสดงรอยเชื�อมไม่เต็ม (Under fill)
6.3.13 โลหะเชื�อมส่วนเกิน (Reinforcement)
โลหะเชื�อมส่วนเกินทั�งกรณีโลหะงานความหนาเท่ากันและโลหะ
งานความหนาต่างกัน
ความสูงของโลหะเชื�อมส่วนเกินไม่เกิน 3 มม (1/8 นิ�ว)
รูปที� 27 แสดงโลหะเชื�อมส่วนเกิน (Reinforcement)
หน้า
14
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูปที.� 28 แสดงการตรวจวัดโลหะเชื�อมส่วนเกิน (Reinforcement)
6.3.13 หน้าตัดจุดหยุดเชื�อม (Crater Cross Section)
หมายเหตุ
"ทุกหน้าตัดของจุดหยุดเชื�อมต้องเติมแนวเชื�อมให้เต็ม ตามขนาดของแนวเชื�อมที�ระบุ"
รูปที.� 29 แสดงหน้าตัดจุดหยุดเชื�อม (Crater Cross Section)
หน้า
15
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.3.14 การหลอมลึกเกินไป (Root Excess Penetration)
โลหะเชื�อมส่วนเกินของการเชื�อมชนที�บริเวณราก หลอมทะลุมากเกินไป สาเหตุมาจากกระแสไฟเชื�อมสูง วาง Root gap มากเกินไป
หรือ Root face เล็กเกินไปจะให้แนวเชื�อมที�ซึมลึกมาก ตามมาตรฐาน แนวเชื�อมทะลุไม่เกิน 3 มม. ( ISO 5817 )
รูปที.� 30 แสดงหลอมทะลุมากเกินไป (Excess Penetration)
3 มม
รูปที.� 31 แสดงหลอมทะลุมากเกินไป (Excess Penetration)
หน้า
16
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูปที.� 32 แสดงรูปเกณฑ์การพิจราณาการยอมรับข้อบกพร่องของรอยเชื�อม
หน้า
17
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.4 ชนิดของรอยต่องานเชื�อม ( Types of Joints)
รูป 33.แสดงชนิดรอยต่อแต่ละชนิด
รูป 34.แสดงชนิดรอยต่อแต่ละชนิด ( ต่อ)
หน้า
18
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 35.แสดงชนิดรอยต่อแต่ละชนิด (ต่อ)
หน้า
19
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
6.5 สัญลักษณ์งานเชื�อม (Welding Symbols)
รูป 36.แสดงสัญลักษณ์เบื�องต้นของงานเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912
หน้า
20
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 37.แสดงสัญลักษณ์เบื�องต้นของงานเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912 (ต่อ)
หน้า
21
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 33.แสดงตําแหน่งท่าเชื�อม (Welding Position)
รูป38.แสดงตําแหน่งท่าเชื�อม (Welding Position)
หน้า
22
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 39.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS
หน้า
23
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 40.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
24
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 41.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
25
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 42.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
26
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 43.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
27
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 44.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
28
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 45.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
29
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป 46.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน ISO 2553/DIN 1912/AWS (ต่อ)
หน้า
30
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
รูป47.แสดงการเขียนสัญลักษ์แนวเชื�อมตามมาตรฐาน AWS (ต่อ)
รูป48.แสดงการเขียนสัญลักษ์เพิ�มเติม (ต่อ)
หน้า
31
มาตรฐานการตรวจสอบงานเชื�อม
การตรวจสอบงานเชื�อมด้วยสายตา (Visual Testing ): VT
7.0 เอกสารอ้างอิง
7.1 มาตรฐาน ASME Section V 2016: Nondestructive Examination. ASME Sec. V Article 9 (Visual Examination)
7.2 มาตรฐาน AWS D1.1/D1.1M 2020 Structural Welding Code – Steel
7.3 มาตรฐาน AWS A2.4:2020 Standard Symbols for Welding, Brazing, and Nondestructive Examination
7.4 มาตรฐาน BS EN ISO 2553:2019 Welded, brazed andsoldered joints —Symbolicrepresentation on drawings
7.5 มาตรฐาน มยผ.1561-51 ถึง 1561-51 การตรวจสอบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณโดยไม่ทําลาย
หน้า
32
Download