Uploaded by Ponpisut Worrajiran

กลุ่มที่ 7 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์นวัตกรรมเชิงพาณิชย์

advertisement
กลุ่มที่ 7 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์นวัตกรรมเชิงพาณิชย์
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
696
การใช้ประโยชน์ จากก้อนเชื้อเห็ดเก่าเหลือทิ้ งร่วมกับกากกาแฟ
เพื่อส่งเสริ มเทคโนโลยีการผลิ ตเห็ดในชุมชน
สุธรี า สุนทรารักษ์1* , โชติกา กกรัมย์1 ภัทราวดี ปานงาม1 และ ภัทรวิทย์ ปรุงเรณู2
บทคัดย่อ
การใช้ประโยชน์จากก้อนเชือ้ เห็ดเก่าเหลือทิง้ ร่วมกับกากกาแฟเพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตเห็ดในชุมชน
มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและเปรียบเทียบอัตราส่วนของก้อนเชื้อเห็ดเก่าและกากกาแฟที่เหมาะสม
ต่อการนามาใช้ประโยชน์เป็ นวัสดุเพาะเห็ดนางรมฮังการี ทัง้ นี้ได้ทาการออกแบบชุดการทดลองเป็ น 6 ชุดการทดลอง
คือ ชุดทดลองที่ 1 ขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารา 100% ชุดทดลองที่ 2 ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 100% ชุดทดลองที่ 3 กากกาแฟ 100%
ชุดทดลองที่ 4 ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 50% + กากกาแฟ 50% ชุดทดลองที่ 5 ก้อนเชื้ อเห็ดเก่า 75% + กากกาแฟ 25% และ
ชุดทดลองที่ 6 ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 25% + กากกาแฟ 75% ผลการวิเคราะห์สมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตุอาหารของวัสดุ
เพาะเห็ด พบว่า วัสดุเพาะเห็ดแต่ละชนิดมีความชืน้ (7.63±0.00b - 9.37±0.00a เปอร์เซ็นต์) ทีแ่ ตกต่างกัน มีค่าความ
เป็ นกรดด่าง (5.02±0.06b - 5.97±0.00a) ซึง่ มีความเหมาะสมต่อการใช้เป็ นวัสดุเพาะเห็ด ตลอดจนปริมาณธาตุอาหาร
มีความสัมพันธ์กบั ปริมาณของกากกาแฟในอัตราส่วนที่พอเหมาะ ทัง้ นี้การให้ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการี พบว่า
สามารถให้ผลผลิตได้ทุกชุดการทดลอง โดยในชุดทดลอง ที่ 5 (ก้อนเชื้อเห็ดเก่า 75% + กากกาแฟ 25%) มีความ
เหมาะสมทีจ่ ะนามาใช้เป็ นอัตราส่วนผสมสาหรับเพาะเห็ดนางรมฮังการีได้ดที ส่ี ดุ อย่างมีนยั สาคัญ (P ≤ 0.05) เมื่อเทียบ
กับชุดทดลองอื่นๆ เนื่องจากให้น้าหนักผลผลิตเห็ดเฉลีย่ สูงสุด คือ 83.05±14.02a กรัมต่อก้อน
คาสาคัญ : เห็ดนางรมฮังการี ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า กากกาแฟ เทคโนโลยีการผลิตเห็ด
สาขาวิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรรี มั ย์
1
2สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อม
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผูน้ ิพนธ์ประสานงาน, e-mail : tangmay-jaa@hotmail.com
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
697
Utilization from mushroom loaf waste with coffee grounds
to promote mushroom production technology in community
Suteera Suntararak1* , Chotika Kokram1 , Pattarwadee Panngam1 and Pattarawit Prungreenoo2
ABSTRACT
The utilization from mushroom loaf waste with coffee grounds to promote mushroom production
technology in community, this experiment aims to study the growth and compare the ratio of old mushroom loaf
waste and coffee grounds that are suitable for hungary oyster (Pleurotus osttreatus (Fr.) Kummer) mushroom
use. Experimental studies in cultivation material including mushroom loaf waste, coffee grounds and rubberwood
sawdust for 6 experiments - first experiment used 100 % of rubberwood sawdust, the second experiment used
100 % of mushroom loaf waste, the third one used 100 % of coffee grounds, the forth one used 50 % of
mushroom loaf waste mixed with 50 % of coffee grounds, the fifth one used 75 % of mushroom loaf waste
mixed with 25 % of coffee grounds and the last one used 25 % of mushroom loaf waste mixed with 75 % of
coffee grounds. All experiments were analyzed for chemical properties, nutrients in substrates for mushroom
growing and yield of mushroom. The results showed that each type of mushroom substrate with different
humidity (7.63±0.00b - 9.37±0.00a %). pH (5.02±0.06b - 5.97±0.00a) is suitable for use as
a
mushroom cultivation material. The nutrient content was related to the amount of coffee grounds in a reasonable
ratio. Yield of hungary oyster found in any treatments. Especially in experiment 5 (75 % of mushroom loaf waste
mixed with 25 % of coffee grounds) is more suitable for hungary oyster cultivation which compared to the other
treatments because of highest yield mushrooms (83.05±14.02a grams per mushroom loaf).
Keywords : Hungary Oyster//Mushroom Loaf Waste//Coffee Grounds//Mushroom Production Technology
1Department
of Environmental Science, Faculty of Science Rajabhat Buriram University
2Department
of Environmental Science, Faculty of Science, Khon Kaen University

Corresponding author, email : tangmay-jaa@hotmail.com
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
698
บทนา
ปั จจุบนั การเพาะเห็ดได้มกี ารพัฒนาจนกลายเป็ นอาชีพหลักของเกษตรกรในแทบทุกภาค เนื่องจากเห็ด
สามารถสร้างรายได้ให้กบั ผู้เพาะได้เป็ นอย่างดีไม่น้อยกว่าพืชผักชนิดอื่น ๆ ทัง้ นี้พบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็ น อีก พื้น ที่ห นึ่ ง ที่นิ ย มเพาะเห็ด เป็ น จ านวนมาก จากการสารวจพบว่ า มีฟ าร์ม เห็ด ทัง้ หมดประมาณ 338 ฟาร์ม
ทัวภู
่ มภิ าค [2] ทัง้ นี้ในจังหวัดบุรรี มั ย์กเ็ ป็ นอีกพืน้ ทีท่ น่ี ิยมเพาะเห็ดเช่นเดียวกัน โดยทัวทั
่ ง้ จังหวัดสามารถพบพืน้ ทีเ่ พาะ
เห็ดได้ในหลายอาเภอทัง้ ในอาเภอเมืองบุรรี มั ย์ บ้านด่าน ประโคนชัย หนองกี่ คูเมือง สตึก ปะคา พุทไธสง นางรอง
ลาปลายมาศ และกระสัง เป็ นต้น ทัง้ นี้ภายหลังจากการทาการเก็บผลผลิตเห็ดแล้วสิง่ ทีต่ ามมา คือ ก้อนเชือ้ เห็ดเก่าทีไ่ ม่
สามารถให้ผลผลิตเห็ดได้อกี ซึง่ เหลือกองทิง้ เป็ นจานวนมากทาให้ประสบปั ญหาขยะจากก้อนเชือ้ เห็ดเก่าทีห่ มดอายุและ
ยากต่อการกาจัด ส่วนใหญ่ผเู้ พาะเห็ดจะกาจัดทาลายโดยการเผา หรือนาไปฝั งกลบในดิน รวมถึงมีการนาไปกองทิ้ง
เป็ นขยะในชุมชนซึง่ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ และทาให้เกิดมลพิษทาลายชัน้ บรรยากาศอีกด้วย
สาหรับการจัดการวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตรนัน้ มีหลากหลายรูปแบบทีน่ ่าสนใจ แต่อกี หนึ่งแนวทางของการ
นากลับมาใช้ประโยชน์ คือ การนาก้อนเชือ้ เห็ดเก่าทีห่ มดอายุแล้วมาผลิตเป็ นก้อนเชือ้ เห็ดใหม่อกี ครัง้ เนื่องด้วยในก้อน
เห็ด เก่ า ยังมีป ริมาณไนโตรเจนอยู่ถึง 0.38 เปอร์เ ซ็น ต์ รวมทัง้ มีป ริมาณฟอสฟอรัส 0.54 เปอร์เ ซ็น ต์ และปริมาณ
โพแทสเซียม 0.64 เปอร์เซ็นต์ ตลอดจนปริมาณแร่ธาตุอาหารเสริมอีกหลายชนิด [1] อีกทัง้ ยังพบอีกว่าก้อนเชือ้ เห็ดเก่า
สามารถนามาใช้ประโยชน์เป็ นวัสดุปรับปรุงดินได้ โดยการนามาหมักต่ออีกสักรยะหนึ่งก็สามารถทีจ่ ะนาไปใช้สาหรับ
การปลูกพืชได้ [7] แต่หากพิจารณาถึงปริมาณแร่ธาตุอาหารหลักดังกล่าวก็จะเห็นว่ายังคงมีปริมาณฟอสฟอรัส และ
โพแทสเซียมที่ค่อนข้างต่ าซึ่งอาจไม่เพียงพอต่ อความต้องการของเห็ด จึงควรหาวัสดุเสริมแร่ธาตุ อาหารชนิดอื่น
เพิม่ เติมหากต้องการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่อกี ครัง้ ทัง้ นี้วสั ดุทน่ี ่ าสนใจสาหรับเป็ นแหล่งเสริมแร่ธาตุอาหาร ได้แก่
กากกาแฟ ที่ได้จากการคัน้ กาแฟสด เพราะนอกจากจะมีปริมาณเหลือทิ้งเป็ นจานวนมากเนื่องด้วยในปั จจุบนั การดื่ม
กาแฟสดเป็ นทีน่ ิยมทัวไป
่ อีกทัง้ ยังมีรา้ นกาแฟสดเกิดขึน้ ตามพืน้ ทีต่ ่าง ๆ เป็ นจานวนมากทาให้มกี ากกาแฟ
ที่
ผ่านการชงแล้วเหลือทิง้ กลายเป็ นขยะในแต่ละวันเป็ นปริมาณทีส่ งู ทัง้ นี้หากพิจารณาในแง่ของการสะสมปริมาณแร่ธาตุ
อาหารหลัก ที่พืช ต้อ งการก็พ บว่ า มีอ ยู่ใ นปริม าณที่สูง โดยมีไ นโตรเจนอยู่ถึง 3.20 เปอร์เ ซ็น ต์ ฟอสฟอรัส 1.60
เปอร์เซ็นต์ และปริมาณโพแทสเซียม 2.60 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ [6]
คณะวิจยั จึงเกิดแนวคิดในการนาก้อนเชือ้ เห็ดเก่าในชุมชนบ้านศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรรี มั ย์ ร่วมกับ
กากกาแฟจากร้านขายกาแฟสด ทีม่ กี ารปล่อยทิง้ มาผลิตเป็ นก้อนเพาะเห็ดอีกครัง้ เพื่อเป็ นการสร้างทางเลือกในการใช้
ประโยชน์ โดยจากการสังเกตเพิม่ เติม พบว่า กากกาแฟเหล่านี้หากวางทิง้ ไว้ตามธรรมชาติจะมีเชือ้ ราเกิดขึน้ จานวนมาก
ซึง่ จากเหตุการณ์ดงั กล่าว จึงคาดว่ากากกาแฟน่ ามีศกั ยภาพเป็ นวัสดุเพาะเห็ดซึง่ เป็ นราชนิดหนึ่งได้ดเี ช่นกัน อีกทัง้ ยัง
เป็ นการนาวัสดุเหลือทิง้ มาพัฒนาเป็ นวัสดุทางการเกษตรสาหรับช่วยลดต้นทุนให้กบั เกษตรกรได้อกี ด้วย
อุปกรณ์ และวิ ธีทดลอง
การวางแผนการทดลอง ดาเนินการทดลองเพาะเห็ดนางรมฮังการีโดยใช้วสั ดุเพาะอัตราส่วนน้ าหนักต่อ
น้ าหนักโดยมีก้อนเชื้อเห็ดเก่าเป็ นส่วนประกอบหลักเพื่อเปรียบเทียบสมบัติทางเคมีและธาตุอาหาร ทัง้ นี้ได้แบ่งการ
ทดลองเป็ น 6 ชุ ด ทดลอง ชุ ด ทดลองละ 6 ซ้ า โดยมีร ายละเอีย ดดัง นี้ ชุ ด ทดลองที่ 1 ขี้เ ลื่ อยไม้ย างพารา 100%
ชุดทดลองที่ 2 ก้อนเชื้อเห็ดเก่า 100% ชุดทดลองที่ 3 กากกาแฟ 100% ชุดทดลองที่ 4 ก้อนเชื้อเห็ดเก่า 50% +
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
699
กากกาแฟ 50% ชุดทดลองที่ 5 ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 75% + กากกาแฟ 25% และชุดทดลองที่ 6 ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 25% +
กากกาแฟ 75%
การทาก้อนเชื้อเห็ด ทาการเตรียมวัสดุเพาะ ดาเนินการผสมตามชุดการทดลองทีว่ างแผนไว้ให้เข้ากัน ปรับ
ความชืน้ จากนัน้ แล้วนาวัสดุเพาะดังกล่าวมาบรรจุในถุงพลาสติกทนร้อน แล้วนาวัสดุเพาะไปนึ่งฆ่าเชือ้ ด้วยหม้อนึ่งความ
ดัน จากนัน้ ใส่หวั เชื้อที่ทาจากเมล็ดข้าวฟ่ างลงในวัสดุเพาะ และนาก้อนเชื้อดังกล่าวไปบ่มเชื้อให้เส้นใยเดินเต็มถุง
หลังจากทาการบ่มก้อนเชือ้ จนเส้นใยเห็ดนางรมฮังการีเจริญเต็มถุงก้อนเชือ้ ให้นาก้อนเห็ดเปิ ดดอกมาวางไว้บนโรงเพาะ
และทาการให้น้ าทุกวันๆ ละ 2 ครัง้ รดน้ าก้อนเห็ดโดยไม่ให้โดนดอกเห็ดและพยายามควบคุมอุ ณหภูมภิ ายในโดยการ
ติดตัง้ เทอร์โมมิเตอร์ไว้ทช่ี นั ้ พักเพาะเห็ด
การวิ เคราะห์คุณสมบัติทางเคมีและปริ มาณธาตุอาหารของวัสดุเพาะและก้อนเชื้อเห็ด ทาการสุ่ม
ตัว อย่ า งวัสดุ เ พาะเพื่อ ใช้ในการวิเ คราะห์สมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุ อาหารพืชของวัสดุ เ พาะ ได้แ ก่ อุ ณหภูมิ
(Temperature) ความชื้น (Moisture) ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) ปริมาณอินทรียวัตถุ (Organic Metter) อัตราส่วน
คาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio) ไนโตรเจนทัง้ หมด (N) ฟอสฟอรัสทีเ่ ป็ นประโยชน์ (P2O5) และโพแทสเซียมทีล่ ะลาย
น้า (K2O)
การบันทึกข้อมูลการเจริญเติ บโตของเห็ด โดยนับจานวนวันตัง้ แต่ใส่หวั เชือ้ เมล็ดข้าวฟ่ าง จนถึงวันทีเ่ ส้น
ใยเจริญเต็มถุงวัสดุเพาะ บันทึกระยะเวลาทีเ่ ส้นใยเจริญเต็มถุง (วัน) ดอกเห็ด โดยบันทึกข้อมูลน้าหนักดอกเห็ดสดต่อ
ถุง (กรัม) จานวนดอกเห็ดในแต่ละครัง้ ทีเ่ ก็บผลผลิต เส้นผ่านศูนย์กลางของหมวกดอกเห็ด (เซนติเมตร) และความยาว
ของก้านดอกถึงโคน (เซนติเมตร)
การวิ เ คราะห์ข้ อ มู ล ท าการรวบรวมข้อ มู ล ผลการทดลองแล้ว น ามาวิเ คราะห์ข้อ มู ล ทางสถิติโ ดยใช้
One–Way ANOVA และ เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ของผลการทดลองทีร่ ะดับความเชื่อมัน่ 95 %
ผลการทดลอง
การนาก้อนเชือ้ เห็ดเก่ามาเป็ นวัสดุในการเพาะเห็ดนางรมฮังการีโดยทาการศึกษาสมบัตทิ างเคมีและปริมาณ
ธาตุ อาหารในวัสดุเพาะก่อนและหลังการปลูก การเจริญของเส้นใย จานวนก้อนเสีย ศึกษาผลผลิตและอัตราส่วนที่
เหมาะสมของก้อนเชือ้ เห็ดเก่าต่อฟางหมักในการเป็ นวัสดุเพาะเห็ดนางรมฮังการี ผลการศึกษาพบว่า
1. สมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตุอาหารของก้อนเชื้อเห็ดเก่า กากกาแฟและขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารา ก่อนใช้เป็ น
วัสดุเพาะเห็ดก้อนเชือ้ เห็ดเก่า มีความชืน้ เท่ากับ 9.37±0.00 เปอร์เซ็นต์ ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) เท่ากับ 5.97±0.00
ปริมาณไนโตรเจน เท่ากับ 0.82±0.02 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณฟอสฟอรัส เท่ากับ 0.50±0.10 เปอร์เซ็นต์และปริมาณ
โพแทสเซียม 0.67±0.05 เปอร์เซ็นต์ กากกาแฟ มีความชืน้ เท่ากับ 7.86±0.00 เปอร์เซ็นต์ ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH)
เท่ากับ 5.02±0.06 ปริมาณไนโตรเจนเท่ากับ 0.85±0.01 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัส เท่ากับ 0.48±0.15 เปอร์เซ็นต์
และปริมาณโพแทสเซียม 0.62±0.12 เปอร์เซ็นต์ ส่วนขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารามี ความชื้นเท่ากับ 7.63±0.00 เปอร์เซ็นต์
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
700
ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) เท่ากับ 5.80±0.01 ปริมาณไนโตรเจนเท่ากับ 0.64±0.03 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัส
เท่ากับ 0.21±0.20 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณโพแทสเซียม 0.41±0.10 เปอร์เซ็นต์ ดังรายละเอียดในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 คุณสมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตุอาหารของก้อนเชือ้ เห็ดเก่า กากกาแฟและขีเ้ ลื่อยไม้ยางพาราก่อนเป็ น
วัสดุเพาะเห็ด
คุณสมบัติ
ก้อนเชื้อเห็ดเก่า
กากกาแฟ
ขี้เลื่อยไม้ยางพารา
ความชืน้ (%)
9.37±0.00a
7.86±0.00b
7.63±0.00b
ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH)
5.97±0.00a
5.02±0.06b
5.80±0.01a
ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) (%)
32.16±0.11c
102.25±0.15a
69.29±0.08b
อัตราส่วน C/N
41.50±0.20a
92.80±0.50b
212.30±0.32c
ปริมาณไนโตรเจน (%)
0.82±0.02a
0.85±0.01a
0.64±0.03b
ปริมาณฟอสฟอรัส (%)
0.50±0.10a
0.48±0.15a
0.21±0.20b
ปริมาณโพแทสเซียม (%)
0.67±0.05a
0.62±0.12a
0.41±0.10b
คุณสมบัติทางเคมี
ปริมาณแร่ธาตุอาหาร
หมายเหตุ :
ตัวอักษรภาษาอังกฤษทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละสดมภ์ หมายถึง มีความแตกต่างกันของค่าเฉลีย่ อย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิตทิ ร่ี ะดับความเชือ่ มัน่ 95 เปอร์เซ็นต์ (P ≤ 0.05) ตามวิธขี อง DMRT
2. สมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารของในแต่ละชุดทดลองก่อนเพาะเห็ด ในส่วนผสมแต่ละชุดทดลอง
พบว่า มีความชืน้ อยู่ระหว่าง 69.81– 71.88 เปอร์เซ็นต์ ความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 5.53 – 8.76 ปริมาณ
เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน อยู่ระหว่าง 0.72 – 1.08 เปอร์เซ็นต์ ส่วนปริมาณเปอร์เซ็นต์ฟอสฟอรัส มีปริมาณอยู่ระหว่าง
0.31 – 0.96 เปอร์เซ็นต์ สาหรับ ปริมาณเปอร์เซ็นต์โพแทสเซียม มีปริมาณอยู่ระหว่าง 0.52 – 0.89 เปอร์เซ็นต์ ดัง
รายละเอียดในตารางที่ 2
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
701
ตารางที่ 2 คุณสมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตุอาหารของแต่ละชุดทดลองก่อนเพาะเห็ด
คุณสมบัติทางเคมี
ชุดการ
ทดลอง
ความชื้น (%)
ความเป็ นกรดเป็ น
ด่าง (pH)
1
71.27±1.30ns
2
ปริ มาณ
ปริ มาณ
ไนโตรเจน (%)
ฟอสฟอรัส (%)
6.01±0.01bc
0.72±0.50f
0.31±0.30e
0.52±0.60e
71.88±2.15ns
6.03±0.01bc
0.92±0.20e
0.61±0.50c
0.74±0.12d
3
70.59±035ns
5.53±0.05d
0.93±0.10d
0.52±0.20d
0.78±0.32c
4
70.38±0.02ns
5.83±0.04cd
1.00±0.80c
0.81±0.12b
0.72±0.52d
5
71.15±0.85ns
6.43±0.10b
1.08±0.12a
0.96±0.30a
0.89±0.21a
6
69.81±1.12ns
8.76±0.42a
1.02±0.15b
0.82±0.40b
0.83±0.30b
หมายเหตุ :
ปริ มาณ
โพแทสเซียม (%)
ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ns หมายถึง ไม่แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
ตัวอักษรภาษาอังกฤษทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละสดมภ์ หมายถึง มีความแตกต่างกันของค่าเฉลีย่ อย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิตทิ ร่ี ะดับความเชือ่ มัน่ 95 เปอร์เซ็นต์ (P ≤ 0.05) ตามวิธขี อง DMRT
3. คุณสมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารของในแต่ละชุดทดลองหลังเพาะเห็ด วัสดุเพาะในแต่ละชุดการ
ทดลองเมื่อผ่านการเพาะเห็ดและเก็บผลผลิตแล้ว พบว่า มีความชืน้ อยู่ระหว่าง 69.81– 71.88 เปอร์เซ็นต์ ความเป็ น
กรดเป็ น ด่ า ง (pH) อยู่ร ะหว่ า ง 5.53 – 8.76 ปริม าณเปอร์เ ซ็น ต์ไ นโตรเจน อยู่ร ะหว่ า ง 0.72 – 1.08 เปอร์เ ซ็น ต์
ส่วนปริมาณเปอร์เซ็นต์ฟอสฟอรัส มีปริมาณอยู่ระหว่าง 0.31 – 0.96 เปอร์เซ็นต์ สาหรับปริมาณเปอร์เซ็นต์โพแทสเซียม
มีปริมาณอยู่ระหว่าง 0.52 – 0.89 เปอร์เซ็นต์ ดังรายละเอียดในตารางที่ 3
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
702
ตารางที่ 3 คุณสมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตุอาหารของแต่ละชุดทดลองหลังเพาะเห็ด
คุณสมบัติทางเคมี
ชุดการ
ทดลอง
ความชื้น (%)
ความเป็ นกรด
เป็ นด่าง (pH)
1
37.54±0.00b
2
ปริ มาณ
ปริ มาณ
ไนโตรเจน (%)
ฟอสฟอรัส (%)
5.92±0.32b
0.16±0.50d
0.18±0.15d
0.24±0.30c
29.40±1.00c
6.91±0.76a
0.19±0.30c
0.20±0.30c
0.26±0.80b
3
46.15±1.00a
5.98±0.23b
0.17±0.10d
0.18±0.60d
0.24±0.25c
4
21.57±3.00d
5.82±0.01b
0.22±0.00b
0.26±0.25b
0.27±0.40b
5
13.00±0.99e
5.74±0.01b
0.13±0.20e
0.16±0.40e
0.23±0.60c
6
27.29±1.00c
5.68±0.01b
0.25±0.40a
0.29±0.60a
0.30±0.80a
หมายเหตุ :
ปริ มาณ
โพแทสเซียม (%)
ตัวอักษรภาษาอังกฤษทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละสดมภ์ หมายถึง มีความแตกต่างกันของค่าเฉลีย่ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
ทีร่ ะดับความเชือ่ มัน่ 95 เปอร์เซ็นต์ (P ≤ 0.05) ตามวิธขี อง DMRT
4. การเจริญของเส้นใยเห็ดและการรอดเป็ นก้อนเชือ้ เห็ดของก้อนเห็ดนางรมฮังการี การศึกษาระยะการเจริญ
ของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี พบว่า ในช่วงระยะเวลาการเจริญของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการีมรี ะยะเวลา 21-28 วัน และ
ในชุดทดลองที่ 5 ทีม่ กี ารใช้กอ้ นเชือ้ เห็ดเก่า 75% + กากกาแฟ 25% เส้นใยเห็ดเจริญเต็มถุงเร็วกว่าทุกชุดการทดลอง
อีกทัง้ มีการรอดเป็ นก้อนเชือ้ เห็ดของก้อนเห็ดนางรมฮังการีสงู ดังรายละเอียด ในตารางที่ 4
ตารางที่ 4 การเจริญของเส้นใยเห็ดและการรอดเป็ นก้อนเชือ้ เห็ดของก้อนเห็ดนางรมฮังการี
ชุดการทดลอง
1
(ขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารา
100%)
2
(ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า
100%)
3
4
(กากกาแฟ 100%)
(ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 50%
+ กากกาแฟ 50%)
5
6
(ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 75%
+ กากกาแฟ 25%)
(ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 25%
+ กากกาแฟ 75%)
14.56±1.84a
8.32±4.77b
ความยาวเส้นใย (เซนติ เมตร)
12.57±5.79ab
14.33±0.74a
12.46±1.02ab
11.41±0.56ab
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
703
ลักษณะการเจริญของเส้นใยเห็ด
การรอดเป็ นก้อนเชื้อเห็ด (เปอร์เซ็นต์)
100.00±0.00a
100.00±0.00a
100.00±0.00a
100.00±0.00a
100.00±0.00a
66.67±0.01b
5. ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการี จากผลการศึกษา พบว่า ผลผลิตในชุดการทดลองที่ 5 ทีม่ กี ารใช้กอ้ นเชือ้ เห็ด
เก่า 75% + กากกาแฟ 25% มีน้าหนักดอกเห็ด คือ 83.05±14.02a กรัมต่อก้อน และเป็ นชุดทดลองทีใ่ ห้น้าหนักผลผลิต
มากทีส่ ดุ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) ดังรายละเอียดในตารางที่ 5
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
704
ตารางที่ 5 ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการีแต่ละชุดทดลอง
ชุดการทดลอง
ผลผลิ ตของเห็ดนางรมฮังการี
ลักษณะ
ความกว้างดอก (ซม.)
ความยาวก้าน (ซม.)
ปรากฏ
จานวนดอก
น้าหนักเฉลีย่
(ดอก)
(กรัม)
1. ขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารา 100%
5.37±1.37a
5.46±0.28ab
9.66±0.88a
68.82±7.69b
5.31±0.00a
3.82±0.49c
9.10±0.17a
58.85±1.50b
3.60±0.77b
6.57±0.83a
10.44±1.13a
67.94±3.47b
3.74±0.78b
5.36±0.47ab
10.10±0.38a
54.39±4.60c
5.90±0.41a
5.43±0.94ab
8.55±0.19b
83.05±14.02a
1.83±0.41c
5.01±1.09bc
2.55±0.84c
41.38±4.42d
2. ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 100%
3.
กากกาแฟ 100%
4. ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 50% + กาก
กาแฟ 50%
5. ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 75% + กาก
กาแฟ 25%
6. ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 25% + กาก
กาแฟ 75%
หมายเหตุ :
ตัวอักษรภาษาอังกฤษทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละสดมภ์ หมายถึง มีความแตกต่างกันของค่าเฉลีย่ อย่างมีนยั สาคัญทาง สถิตทิ ร่ี ะดับ
ความเชื่อมัน่ 95 เปอร์เซ็นต์ (P ≤ 0.05) ตามวิธขี อง DMRT
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
705
การใช้ประโยชน์จากก้อนเชือ้ เห็ดเก่าและกากกาแฟเป็ นการเสนอทางเลือกสาหรับการใช้วสั ดุเหลือทิง้ มาผลิต
เป็ น ก้อนเพาะเห็ดอีกครัง้ ซึง่ อาจกล่าวได้ว่าก้อนเชือ้ เห็ดเก่าและกากกาแฟนัน้ มีความเป็ นไปได้และสามารถนามาผลิต
ได้จริง โดยพิจารณาจากวัสดุก่อนหมักซึง่ เมื่อทาการเปรียบเทียบวัสดุก่อนหมักทัง้ 3 ชนิด (ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า กากกาแฟ
และขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารา) พบว่า สมบัตทิ างเคมีและปริมาณธาตุอาหารของก้อนเชือ้ เห็ดเก่าและกากกาแฟมีสงู กว่าขีเ้ ลื่อย
ไม้ยางพาราอย่างมีนัยสาคัญ (P ≤ 0.05) ดังนัน้ ก้อนเชือ้ เห็ดเก่าและกากกาแฟจึงมีความเหมาะสมต่อการนามาใช้เป็ น
วัสดุในการเพาะเห็ดเพื่อทดแทนการใช้ขเ้ี ลื่อยไม้ยางพาราได้ และเมื่อนาวัสดุหลักทัง้ 2 ชนิดมาผสมกันตามสูตรก็จะ
พบว่ า มีคุ ณ สมบัติท างเคมีแ ละปริม าณธาตุ อ าหารเพิ่ม ขึ้น เมื่อ เปรีย บเทีย บกับ ชุ ด ทดลองก่ อ นเพาะเห็ด ปริม าณ
เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม มีค่าลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับชุดทดลองก่อนเพาะเห็ด ทัง้ นี้ปริมาณ
เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจนฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่ลดลงอาจสืบ เนื่องมาจากการใช้สาหรับการเจริญเติบโตของเห็ด
นัน่ เอง เนื่ อ งจากธาตุ อ าหารที่เ ห็ด จ าเป็ น ต้อ งใช้ใ นการเจริญ เติบ โต ได้แ ก่ แคลเซีย ม ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน
โดยเฉพาะแร่ธาตุไนโตรเจนจะมีความจาเป็ นสาหรับการเจริญเติบโตและสังเคราะห์โปรตีน [5] เป็ นสาคัญ ส่วนการเจริญ
ของเส้นใยเห็ดจะเห็นได้ว่ามีการเจริญของเส้นใยทีแ่ ตกต่างกัน แต่ในทุกชุดการทดลองมีการเจริญเติบโตของเส้นใยได้ดี
ทัง้ นี้ในชุดการทดลองที่ 5 มีการเจริญเติบโตของเส้นใยสูงทีส่ ดุ เท่ากับ 14.56±1.84a และในทุกชุดมีเปอร์เซ็นต์การรอด
เป็ นก้อนเชือ้ เห็ดเท่ากับ 100.00±0.00a เปอร์เซ็นต์ ยกเว้นในชุดการทดลองที่ 6 ทีม่ เี ปอร์เซ็นต์การรอดเป็ นก้อนเชือ้ เห็ด
(66.67±0.01b เปอร์เซ็นต์) ต่ากว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ สาหรับการศึกษาจานวนดอกเห็ด ความ
กว้างของดอกเห็ด และความยาวของก้านดอกเห็ดมีความสัมพันธ์กนั คือ ถ้าจานวนดอกเห็ดมีปริมาณน้อยในถุงเพาะก็
จะส่งผลต่ อ ความกว้างของดอกเห็ดและความยาวของก้านดอกเห็ด ให้มีค่ามากตามลาดับ แต่ ถ้าจานวนดอกเห็ดมี
ปริมาณมาก ความกว้างของดอกเห็ดและความยาวของก้านดอกเห็ด ก็จะน้อย ส่วนการให้ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการี
พบว่ า สามารถให้ผ ลผลิต ได้ทุ ก ชุ ด การทดลองแต่ ใ นชุ ด ทดลองที่ 5 (ก้อ นเชื้อ เห็ด เก่ า 75% + กากกาแฟ 25%)
ให้น้ าหนักผลผลิตเห็ดเฉลีย่ สูงสุดเมื่อเทียบกับชุดทดลองอื่นๆ สาหรับการเพาะเห็ดนางรมฮังการีจากวัสดุเหลือทิง้ คือ
ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า และกากกาแฟ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการเพาะเห็ดจากวัสดุเหลือทิง้ ดังกล่าวสามารถนามาเพาะ
เห็ดได้ [4]
สรุปและวิ จารณ์ ผลการทดลอง
การใช้ประโยชน์จากก้อนเชือ้ เห็ดเก่าเหลือทิง้ ร่วมกับกากกาแฟเพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตเห็ดในชุมชน
มีความเป็ นไปได้และยังสามารถนาก้อนเชือ้ เห็ดเก่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์เชิงการเกษตรได้อกี ครัง้ อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยทัง้ นี้จะพบว่าวัสดุเพาะเห็ดแต่ละชนิด อันได้แก่ ก้อนเชือ้ เห็ดเก่า กากกาแฟหรือขีเ้ ลื่อยไม้ยางพาราก็จะมีความชื้น
ทีแ่ ตกต่างกันแต่กเ็ ป็ นค่าความชืน้ ของวัสดุซง่ึ มีความเหมาะสมอีกทัง้ ยัง มีค่าความเป็ นกรดด่างทีเ่ หมาะสมต่อการใช้เป็ น
วัสดุเพาะเห็ดอีกด้วย [3] นอกจากนี้หากพิจารณาถึง ปริมาณธาตุอาหารในก้อนเชื้อเห็ดเก่าหรือในกากกาแฟก็พบว่า มี
มากกว่าในขีเ้ ลื่อยไม้ยางพาราซึง่ เป็ นวัสดุหลักในการผลิต ก้อนเชือ้ เห็ดทัวไป
่ อีกทัง้ เมื่อทาการผสมวัสดุเข้าด้วยกันจะ
พบว่าปริมาณธาตุอาหารทีเ่ พิม่ ขึน้ นัน้ จะแปรผันตรงตามกับปริมาณของสัดส่วนของกากกาแฟทีเ่ หมาะสม สาหรับ การ
เจริญของเส้นใยในก้อนเชื้อเห็ดเก่า และกากกาแฟจะมีเ ส้นใยที่สามารถเจริญ ได้เต็มถุ งเร็วกว่ าขี้เลื่อยไม้ ยางพารา
ส่วนการให้ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการี พบว่า สามารถให้ผลผลิตได้ทุกชุดการทดลองโดยในชุดทดลองที่ 5 (ก้อนเชือ้
เห็ดเก่า 75% + กากกาแฟ 25%) เหมาะที่จะนามาใช้เป็ นอัตราส่วนผสมสาหรับเพาะเห็ดนางรมฮังการีได้ดที ส่ี ุดเมื่อ
เทียบกับชุดทดลองอื่นๆ เนื่องจากให้น้ า หนักผลผลิตเห็ดเฉลี่ยสูงสุด คือ 83.05±14.02a กรัมต่ อก้อน การศึกษาหา
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
706
วิธกี ารนาวัสดุเหลือทิ้งในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็ นการช่วยลดต้น ทุนการผลิตเห็ดซึ่งเท่ากับเป็ นการสร้าง
รายได้เพิม่ ขึน้ อีกทางหนึ่ง นอกจากนัน้ การศึกษาวิจยั ครัง้ นี้ยงั ทาหน้าทีเ่ พื่อสร้างทางเลือกในการใช้ประโยชน์จาก้อนเชือ้
เห็ดเก่าได้อกี ทางหนึ่งด้วย ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของสุธรี า สุนทรารักษ์ และคณะ [9] ทีไ่ ด้ใช้ประโยชน์จากก้อนเชือ้
เห็ดเก่าสาหรับพัฒนาผลิตเป็ นก้อนเพาะเห็ดและส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรมฮังการีได้เช่นเดียวกัน
กิ ติกรรมประกาศ
งานวิจ ัย นี้ เ ป็ น ส่ว นหนึ่ ง ของโครงการวิจ ัย เรื่อ ง “การใช้ป ระโยชน์ จ ากก้อ นเชื้อ เห็ด เก่ า เหลือ ทิ้ง ร่ ว มด้ว ย
กากกาแฟ ในการเพาะเห็ด นางรมฮัง การี ” ซึ่ง ได้ ร ับ การสนั บ สนุ น งบประมาณจากโครงการคลินิ ก เทคโนโลยี
ของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรรี มั ย์ ประจาปี พ.ศ. 2563
เอกสารอ้างอิ ง
[1] กรมวิชาการเกษตร. 2548. การตรวจสอบคุณภาพปุ๋ ยอินทรีย์ ตามมาตรฐานปุ๋ ยอินทรีย์กรมวิชาการเกษตร.
กรุงเทพฯ : กรมวิชาการเกษตร.
[2]
กรมวิชาการเกษตร. 2562. การเพิม่ คุณค่าทางโภชนาการเห็ดนางรมด้วยวัสดุเหลือทิ้งกากกาแฟ. กรุงเทพฯ :
สานักงานวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช.
[3] จรินทร์ บัวขม. 2539. การเพาะเห็ดนางฟ้ าโดยใช้วสั ดุเพาะฟางหมักผสมขีเ้ ลื่อยไม้ยางพารา. วิทยานิพนธ์วทิ ยา
ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
[4] ณัฐพงษ์ สิงห์ภูงา. 2550. การเพาะเห็ดนางรมจากวัสดุเหลือ ทิง้ ทางการเกษตรทีแ่ ช่ในน้ าผสมด่างแทนการนึ่งฆ่า
เชือ้ . วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีชวี ภาพ, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี.
[5] ปั ญญา โพธิฐิ์ รตั น์. 2532. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง.
[6] วันทนา นาคีสนิ ธ์. 2556. การใช้กากกาแฟทดแทนขี้เลือ่ นในการเพาะเห็ดนางรมฮังการี . กรุงเทพฯ : ภาควิชา
วิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
[7] วิภา ประพินอักษร. 2552. เห็ดและราในประเทศไทย. กรุงเทพฯ. : ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ
แห่งชาติ.
[8] สานักงานส่งเสริมและฝึ กอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.(2556. การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก. กรุงเทพ ฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[9] สุธรี า สุนทรารักษ์, เจนจิรา การรัมย์ และศศิธร ดัชถุยาวัตร. 2561. การใช้ประโยชน์จากก้อนเชือ้ เห็ดเก่าเหลือทิง้
ร่วมด้วยวัสดุเสริมอาหารเพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตเห็ดในชุมชน. ใน เรือ่ งเต็มการประชุมวิชาการวิทยาการ
สิง่ แวดล้อมระดับชาติ 2561 ระหว่างวันที ่ 4-5 มิถุนายน 2561, คณะสิ่ง แวดล้อ มและทรัพ ยากรศาสตร์ , หน้ า
122-135. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วจิ ยั ครัง้ ที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
776
การพัฒนาเบาะรองนัง่ สาหรับลดการนัง่ นิ่ งนานต้นทุนตา่
พรพิศุทธิ ์ วรจิรนั ตน์1*, เอกรัตน์ สอนสี1, รพีพฒ
ั น์ แผลงศร1, ปั ญญวัณ ลำเพำพงศ์2
บทคัดย่อ
พฤติกรรมเนือยนิ่งคือพฤติกรรมกำรอยู่กบั ทีต่ ดิ ต่อกันเป็ นเวลำนำน เช่นกำรนังใช้
่ โทรศัพท์มอื ถือหรือ
คอมพิวเตอร์เป็ นเวลำนำนเพื่อกำรทำงำนหรือกำรพักผ่อนซึง่ เป็ นกิจกรรมปกติของคนทัวไปในปั
่
จจุบนั อย่ำงไรก็ตำม
ในระยะยำวพฤติกรรมเนือยนิ่งจะส่งผลเสียอย่ำงรุนแรงกับระบบกำรทำงำนของร่ำงกำย งำนวิจยั นี้จงึ มีเป้ ำหมำยเพื่อ
พัฒนำอุปกรณ์ช่วยลดพฤติกรรมเนือยนิ่งโดยมีลกั ษณะเป็ นเบำะรองนังที
่ ส่ ำมำรถสันเตื
่ อนได้เมือ่ นังนำนเกิ
่
นไป ใช้งำน
ร่วมกับแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มอื ถือเพื่อแสดงข้อมูลสถิตกิ ำรนังรวมถึ
่
งแสดงข้อควำมเตือนเพือ่ ให้ผใู้ ช้เปลีย่ น
อิรยิ ำบถเมื่อถึงเวลำทีเ่ หมำะสม เบำะรองนังนี
่ ้ประดิษฐ์ขน้ึ โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ร่วมกับโหลดเซลล์ 4 ตัวติดตัง้ ที่
มุมทัง้ สีข่ องเบำะและมอเตอร์สนหนึ
ั ่ ่งตัวติดตัง้ กลำงเบำะเพื่อให้มตี น้ ทุนต่ำ ในกำรพัฒนำจึงมีกำรทดสอบโหลดเซลล์ท่ี
สภำวะกำรใช้งำนต่ำง ๆ ได้แก่ กำรรับน้ำหนัก 0-80 กิโลกรัมกระทำทีต่ ำแหน่งกึง่ กลำงเบำะ กำรรับน้ำหนัก 20 กิโลกรัม
กระทำทีต่ ำแหน่งใกล้กบั โหลดเซลล์แต่ละตัว และกำรทดสอบกำรรับน้ำหนักต่อเนื่องนำน 8 ชัวโมง
่ โดยพบว่ำในทุก
กรณีมคี วำมคลำดเคลื่อนเฉลีย่ อยู่ในช่วง 0.02-0.46% เบำะรองนังสำมำรถตรวจจั
่
บกำรนัง่ จับเวลำกำรนัง่ และสันเตื
่ อน
เมื่อถึงเวลำทีก่ ำหนด รวมทัง้ แอปพลิเคชันทีพ่ ฒ
ั นำขึน้ สำมำรถแสดงข้อควำมและเสียงแจ้งเตือน รวมถึงแสดงข้อมูลสถิติ
กำรนังได้
่ จริงตำมกำรใช้งำนทีอ่ อกแบบไว้
คาสาคัญ : พฤติกรรมเนือยนิ่ง กำรนัง่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ โหลดเซลล์
1 ภำควิชำวิศวกรรมไฟฟ้ ำและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร
2 ภำควิชำวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร
*ผูน้ ิพนธ์ประสำนงำน, e-mail: official.email@ymail.com
777
Title A Low-cost Cushion for Reducing Long Sitting Sedentary Period
Ponpisut Worrajiran1*, Punyawan Lampaopong2 Aekarat Sonsri1, Rapeepat Pleangson1,
ABSTRACT
Sedentary behaviour refers to the behaviours of having physical activities that require low energy
expenditure for a long period, for example, sitting to use a mobile phone or computer for long period to work
or spend leisure time. These activities are recently very common. However, for a long term, sedentary
behaviours may cause serious harm on the body and result in health problems. This research aims to
develop a device to assist in reducing sedentary period. The device, which is a cushion, will collect the sitting
data and vibrate when a sitting time of a user exceeds the recommended period. It works with a mobile
phone application developed to display the sitting data, a warning message, and sound alarm to notify the
user to change their posture or bodily movement. The cushion consists low-cost components, which are a
microcontroller board, 4 load cells installed at the 4 corners of the cushion and a vibration motor attached at
the centre of the cushion. The cushion was tested at several operating conditions i.e. under the weights from
0 to 80 kg placed at the centre of the cushion, under the weight of 20 kg placed near the location of each
load cell one at a time, and under 80 kg weight left on the cushion for 8 hours. In all cases, the results
showed overall of 0.02 - 0.46% accuracy of the load cells. The cushion could collect the sitting data and
vibrated at a proper time. The mobile phone application could display the sitting data and notify the user, as it
was designed.
Keywords : Cushion, , Seating, Sedentary behaviour, Microcontroller, Load cell
1
Department of Electrical and Computer Engineering, Naresuan University
Department of Mechanical Engineering, Naresuan University
*Corresponding author, e-mail: official.email@ymail.com
2
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
778
บทนา
จำกผลสำรวจพบว่ำในช่วง 10 ปี ทผ่ี ่ำนมำประชำชนไทย 1 ใน 3 มีกจิ กรรมทำงกำยไม่เพียงพอ โดยเฉพำะเด็ก
และวัยรุ่นจำนวนถึง 2 ใน 3 มีกจิ กรรมทำงกำยมีพฤติกรรมเนือยนิ่งหรืออยู่กบั ทีต่ ดิ ต่อกันเป็ นเวลำนำนเกินไป มำกถึง 14
ชัวโมงต่
่
อวัน [1, 2] โดยมีกจิ กรรมเช่น กำรนังหรื
่ อยืนใช้โทรศัพท์มอื ถือหรือคอมพิวเตอร์ ซึง่ แม้จะมีควำมเสีย่ งกับกำร
ได้รบั บำดเจ็บน้อยกลับมีผลเสียกับร่ำงกำยเป็ นอย่ำงมำก
กำรศึกษำจำกกลุม่ ประชำกรชำย 53,440 คน และหญิง 69,776 คน ในสหรัฐอเมริกำทีม่ สี ขุ ภำพดีในขณะเข้ำ
ร่วมโครงกำรวิจยั [3] หลังจำกกำรติดตำมเป็ นเวลำ 14 ปี พบว่ำ กลุ่มประชำกำรทีน่ งนำนกว่
ั่
ำ 6 ชัวโมงต่
่
อวันมีควำม
เกีย่ วข้องกับอัตรำกำรตำยอย่ำงมีนยั ยะสำคัญและกำรตำยส่วนใหญ่เกิดจำกโรคหัวใจและหลอดเลือด ในทำนองเดียวกัน
จำกกำรศึกษำจำกกลุ่มประชำกรชำย 7,744 คน ในออสเตรเลีย [4] หลังจำกกำรติดตำมเป็ นเวลำ 21 ปี พบว่ำ ผูท้ ใ่ี ช้เวลำ
นังมำกกว่
่
ำ 23 ชัวโมงต่
่
อสัปดำห์ มีควำมเสีย่ งมำกกว่ำผูใ้ ช้เวลำนังน้
่ อยกว่ำ 11 ชัวโมงต่
่
อสัปดำห์ถงึ 64%
จำกข้อมูลของสำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) [1, 2] กำรนังนำนส่
่
งผลกระทบ
โดยตรงต่อกระบวนกำรเผำผลำญของร่ำงกำย สืบเนื่องถึงกำรหลังฮอโมนซึ
่
ง่ มีผลกับระดับน้ำตำลในเลือด ไตรกลีเซอไรด์
ไขมันดี ควำมดันโลหิตและควำมอยำกอำหำร เป็ นสำเหตุของโรคอ้วนและโรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้เลือดไหลเวียนไป
เลีย้ งทีข่ ำน้อยลง [5] และยังเชื่อมโยงกับกำรเกิดมะเร็งในลำไส้ได้ [6] นอกจำกนี้ เมื่อนังนำนๆ
่
ทำให้กำรไหลเวียนของ
เลือดไม่ดี ส่งผลให้สมองทำงำนช้ำลง และอำจเป็ นสำเหตุของโรคระบบประสำทต่ำงๆ [7] ส่วนของกระดูกสันหลังและ
กล้ำมเนื้อได้รบั สำรอำหำรน้อยลง คำแนะนำสำหรับวิธหี ลีกเลีย่ งอันตรำยจำกกำรนังติ
่ ดต่อกันนำนเกินไปคือ หำกนัง่
ติดต่อกันเกิน 40 นำทีควรลุกขึน้ เดินเปลีย่ นอิรยิ ำบท ขยับตัวและยืดกล้ำมเนื้อประมำณ 5-10 นำที และควรหำเวลำออก
กำลังกำย เดินเล่น หำกิจกรรมทีไ่ ด้เคลื่อนไหวร่ำงกำยอย่ำงพอเพียง [1, 2]
อย่ำงไรก็ตำม กำรปฏิบตั ติ ำมคำแนะนำดังกล่ำวเป็ นเรื่องค่อนข้ำงยำก ด้วยปั จจุบนั ผูค้ นจำนวนมำกต้องใช้
เวลำในกำรนังท
่ ำงำนกับคอมพิวเตอร์อย่ำงต่อเนื่องจึงก่อให้เกิดแนวคิดในกำรพัฒนำอุปกรณ์ทม่ี ลี กั ษณะเป็ นเบำะรองนัง่
ทีส่ ำมำรถแจ้งเตือนเพื่อให้ผนู้ งท
ั ่ ำกำรเปลีย่ นอิรยิ ำบถเมื่อถึงเวลำทีเ่ หมำะสม เช่น เบำะ DynaSeat ซึง่ พัฒนำโดยนิสติ
ปริญญำเอกของจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย [8] ใช้ตวั รับรูค้ วำมดันกับปั ม๊ ลมประกอบกับเบำะเพื่อช่วยในกำรจับเวลำนัง่
และปรับท่ำนัง่ นอกจำกนี้ยงั มีงำนวิจยั รวมถึงกำรนำเสนอเพื่อระดมทุนในต่ำงประเทศ [9, 10, 11] คณะผูว้ จิ ยั จึงมีแนวคิด
ในกำรพัฒนำเบำะรองนังลดกำรนั
่
งนิ
่ ่งนำนต้นทุนต่ำ มีกรอบแนวคิดดังแสดงในรูปภำพ 1 โดยระบบอุปกรณ์ประกอบด้วย
1) เบำะรองนังติ
่ ดตัง้ อุปกรณ์อเิ ลคทรอนิกส์ทม่ี รี ำคำไม่แพง เช่น ตัวรับรูน้ ้ำหนัก (Load cell) กับ มอเตอร์สนั ่ และ 2) แอป
พลิเคชันบนโทรศัพท์มอื ถือทีส่ ำมำรถรับส่งข้อมูลจำกเบำะรองนังผ่
่ ำนผ่ำนระบบ Wi-Fi มำแสดงเป็ นสถิตกิ ำรนังเฉพำะ
่
ของเจ้ำของเบำะผูท้ ท่ี ำกำรลงทะเบียนข้อมูลไว้ในแอปพลิเคชัน
รวมถึงแสดงข้อควำมแจ้งเตือนทีโ่ ทรศัพท์มอื ถือเมื่อ
พบว่ำมีกำรนังยำวนำนเกิ
่
นกำหนด
อุปกรณ์และขัน้ ตอนการพัฒนา
รำยละเอียดกำรพัฒนำเบำะรองนังและแอปพลิ
่
เคชัน มีดงั นี้
น้ำหนัก
ระยะเวลำ
กำรสันเตื
่ อน
1) เบำะรองนัง่
2) แอปพลิเคชันแสดงสถิตกิ ำรใช้งำนและข้อควำมแจ้ง
เตือน งลดกำรนั
รูปภำพ 1 กรอบแนวคิดกำรพัฒนำเบำะรองนั
่
งนิ
่ ่งนำนต้นทุนต่ำ
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
779
1. กำรพัฒนำเบำะรองนัง่
A ฐำนเบำะรองนัง่
B ส่วนควบคุมกำรทำงำนเบำะรองนัง่
(ค) ภำพด้ำนล่ำงของเบำะรอง
นังต้
่ นแบบทีป่ ระกอบแล้วเสร็จ
(ข) เบำะรองนังติ
่ ดตัง้ อุปกรณ์
(ก) เบำะรองนังภำพ
่
อิเลคทรอนิกส์
ด้ำนล่ำงของเบำะรองนัง่
รูปภำพ 2 ส่วนประกอบของเบำะรองนัง่
ต้นแบบทีป่ ระกอบแล้ว
เสร็จ
เบำะรองนังถู
่ กออกแบบให้เป็ น 2 ส่วนได้แก่ ฐำนรองนัง่ (A) และส่วนควบคุมกำรทำงำน (B) ดังรูปภำพ 2 (ก)
ตัวเบำะมีรปู ทรงสีเ่ หลีย่ มขนำด 30x30x10 เซนติเมตร ติดตัง้ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์หลักไว้ภำยใต้เบำะ ได้แก่ บอร์ด
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 จำนวน 1 บอร์ด (ติดตัง้ ในกล่องควบคุมแยกออกจำกตัวเบำะ) และ Load cell ติดตัง้ ที่ 4
มุมของเบำะ พร้อมวงจรขยำยสัญญำณ (Amplifier) HX711 จำนวน 4 ชุด และมอเตอร์สนั ่ จำนวน 1 ตัว ติดอยู่กลำง
เบำะ ดังแสดงในรูปภำพ 2 (ข) โดย Load cell ทำหน้ำทีต่ รวจสอบกำรนังจำกน
่
้ำหนักทีก่ ดลงบนเบำะ สัญญำณทีไ่ ด้จำก
Load cell ทัง้ 4 ตัว ส่งไปยังบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ดังแสดงในรูปภำพ 3 เพื่อประมวลผลค่ำน้ำหนักกดและ
ระยะเวลำของกำรนัง่ โดยหำกพบกำรนังในท่
่ ำเดิมนำนเกิน 40 นำที บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์จะสังกำรให้
่
มอเตอร์สนั ่
ทำงำนเพื่อเป็ นกำรแจ้งเตือนให้ผใู้ ช้งำนรูต้ วั ว่ำถึงเวลำทีค่ วรเปลีย่ นท่ำนังหรื
่ อลุกขึน้ ยืนเพื่อปรับเปลีย่ นอิรยิ ำบถ
เนื่องจำกอุปกรณ์ทน่ี ำมำใช้ในกำรพัฒนำเบำะรองนังนี
่ ้เป็ นอุปกรณ์ทห่ี ำได้ทวไป
ั ่ มีรำคำโดยรวมทัง้ สิน้
ประมำณ 2,615 บำท ในกำรพัฒนำเบำะรองนังนี
่ ้จงึ จำเป็ นต้องมีกำรทดสอบผลกำรวัดน้ำหนักของเบำะรองนังในกรณี
่
ต่ำงๆ เพื่อควำมเชื่อถือได้ของกำรวัดน้ำหนัก
1.1 กำรทดสอบกำรวัดน้ำหนักของเบำะรองนัง่
กำรทดสอบกำรวัดน้ำหนักของ Load cell ทัง้ 4 ตัวทีไ่ ด้ถูกนำมำประกอบเข้ำด้วยกันเป็ นเบำะรองนัง่ โดยใช้ถุง
ทรำยทีว่ ดั น้ำหนักโดยเครื่องชังมำตรฐำนแล้
่
วมำทดสอบเทียบ แบ่งกำรทดสอบเป็ น 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 ทดสอบกำรวัดน้ำหนักทีก่ ระจำยลงบนเบำะรองนังเมื
่ ่อวำงน้ำหนักกลำงเบำะ
กำรทดสอบนี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อจำลองกำรนังบนเบำะรองนั
่
ง่ โดยเป็ นใช้ถุงทรำยมำทำกำรชังน
่ ้ำหนักตัง้ แต่ 0 – 80
กิโลกรัม โดยเพิม่ ค่ำน้ำหนักครำวละ 0.5 กิโลกรัม และนำน้ำหนักออกครำวละ 0.5 กิโลกรัม บันทึกค่ำน้ำหนักที่
โปรแกรมคำนวณได้ ทำกำรทดลองซ้ำทัง้ หมด 5 ครัง้
ส่วนที่ 2 ทดสอบกำรวัดน้ำหนักทีก่ ดลงใกล้แนว Load cell แต่ละตัว
กำรทดสอบนี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลรวมน้ำหนักทีเ่ กิดขึน้ บนเบำะรองนัง่ ลักษณะกำรถ่ำยโอนน้ำหนักเกิดขึน้
บนเบำะรองนังของแต่
่
ละตำแหน่ง และควำมผิดพลำดในกำรวัดสัญญำณอันอำจเกิดขึน้ ได้จำกกำรติดตัง้ โดยในกำร
ทดสอบใช้ถุงทรำย20 กิโลกรัม วำงลงบนตำแหน่งติดตัง้ Load cell ครำวละ 1 ตำแหน่ง บันทึกค่ำน้ำหนักทีโ่ ปรแกรม
คำนวณได้จำก Load cell ทัง้ 4 ตัวและคำนวณค่ำน้ำหนักรวมทีว่ ดั ได้ จำกนัน้ ทำกำรเปลีย่ นตำแหน่งวำงถุงทรำยไปจน
ครบ 4 ตำแหน่ง ทำกำรทดสอบซ้ำทัง้ หมด 5 รอบ
ส่วนที่ 3 ทดสอบกำรวัดน้ำหนักวำงบนเบำะรองนังต่
่ อเนื่องเป็ นเวลำนำน
กำรทดสอบนี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อตรวจสอบควำมแปรปรวนของค่ำน้ำหนักเมื่อมีกำรใช้งำนเบำะรองนังเป็
่ นเวลำนำน กำร
ทดสอบทำโดยใช้ถุงทรำย 80 กิโลกรัมนำวำงลงบนเบำะและจับเวลำกำรวัดค่ำน้ำหนักต่อเนื่องเป็ นเวลำ 8 ชัวโมง
่ โดย
บันทึกทุกๆ 15 วินำที 1 ครัง้
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
780
1.2 กำรทดสอบกำรทำงำนของมอเตอร์สนั ่
เขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบกำรทำงำนของมอเตอร์โดยให้ทำงำนเป็ นเวลำ 5 นำทีเมื่อมีน้ำหนักวำงบนเบำะนำนเกิน 40
นำที
2 การพัฒนาโปรแกรมบันทึกเพื่อแสดงสถิ ติการนัง่
รูปภำพ 3 ผังแสดงกำรทำงำนโดยรวมของเบำะลดกำรนังนิ
่ ่งนำน
รูปภำพ 4 ผังกำรทำงำนร่วมกันระหว่ำงอุปกรณ์ของเบำะรองนังและแอปพลิ
่
เคชัน
แอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มอื ถือใช้ในกำรรับข้อมูลจำกบันทึกและแสดงข้อมูลเจ้ำของเบำะและสถิตกิ ำรนัง่ จำก
รูปภำพ 3 และ 4 แสดงให้ถงึ กระบวนกำรทำงำนร่วมกันของเบำะรองนัง่ กับแอปพลิเคชัน โดยใช้แพลตฟอร์ม Firebase
(Google Developers) ในกำรพัฒนำ Database และแอปพลิเคชันทีท่ ำหน้ำทีร่ บั ค่ำของข้อมูลในกำรเข้ำรหัส Wi-Fi จำก
ผูใ้ ช้แล้วทำกำรส่งข้อมูลไปยังเบำะรองนังผ่
่ ำนบลูทธู เพื่อให้วงจรในเบำะสำมำรถเชื่อมต่อ Wi-Fi ได้ จำกนัน้ เบำะรองนัง่
จะรับค่ำน้ำหนักแล้วส่งเวลำในกำรนังไปยั
่ งฐำนข้อมูล เพื่อให้สว่ นของแอปพลิเคชันนำข้อมูลในฐำนข้อมูลมำแสดง โดย
จะแสดงเป็ นระยะเวลำในกำรนังในแต่
่
ละช่วงเวลำและสำมำรถเลือกดูช่วงเวลำตำมต้องกำร
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
781
ผลการพัฒนาและการทดสอบระบบ
1.1 ผลกำรทดสอบกำรวัดน้ำหนักของเบำะรองนัง่
จำกกำรทดสอบกำรวัดน้ำหนักของ Load cell ทัง้ 4 ตัวทีไ่ ด้ถูกนำมำประกอบเข้ำด้วยกันเป็ นเบำะรองนัง่ ดัง
รูปภำพ 2 ได้ผลกำรทดสอบทัง้ 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ทดสอบกำรวัดน้ำหนักเมื่อวำงน้ำหนักกลำงบนเบำะรองนัง่
ในรูปภำพ 5 จำกกำรทดสอบโดยใช้ถุงทรำยตัง้ แต่ 0 – 80 กิโลกรัม (เพิม่ ค่ำน้ำหนักครำวละ 0.5 กิโลกรัม)
และลดน้ำหนักลงจำก 80 – 0 กิโลกรัม (นำน้ำหนักออกครำวละ 0.5 กิโลกรัม) พบว่ำในช่วงของกำรเพิม่ น้ำหนัก จะมีค่ำ
น้ำหนักวัดได้แตกต่ำงจำกค่ำมำตรฐำนเล็กน้อยโดยมีรอ้ ยละควำมคลำดเคลื่อน 0.02 ในช่วงทีน่ ้ำหนักมีค่ำ 78 - 80
กิโลกรัม พบว่ำค่ำทีว่ ดั ได้ต่ำงกับค่ำมำตรฐำนมำกทีส่ ดุ ทัง้ นี้ในช่วงของกำรลดน้ำหนักลง พบว่ำค่ำทีว่ ดั ได้นนั ้ มำกกว่ำค่ำ
น้ำหนักมำตรฐำน โดยมีรอ้ ยละควำมคลำดเคลื่อน 0.46
น้ำหนักทีว่ ดั ได้จำก Laod cells ทุกตัวรวมกัน
100
ั ่ (kg.)
น้ำหนักทีช่ งได้
80
60
40
Up
Down
20
0
0 4.5 8.5 12.516.520.524.528.532.536.540.544.548.552.556.560.564.568.572.576.5
น้ำหนักทีน่ ำมำชัง่ (kg.)
รูปภำพ 5 ผลกำรทดสอบกำรวัดน้ำหนักเมื่อวำงน้ำหนักกลำงบนเบำะรองนัง่
ส่วนที่ 2 ทดสอบกำรวัดน้ำหนักทีก่ ดลงใกล้แนว Load cell แต่ละตัว
จำกกำรทดสอบใช้ถุงทรำย 20 กิโลกรัม วำงลงบนตำแหน่งติดตัง้ Load cell ครำวละ 1 ตำแหน่ง บันทึกค่ำ
น้ำหนักทีโ่ ปรแกรมคำนวณได้จำก Load cell ทัง้ 4 ตัวและคำนวณค่ำน้ำหนักรวมทีว่ ดั ได้ พบว่ำจำกกำรทดลองพบว่ำ
เมื่อนำถุงทรำย 20 กิโลกรัม ไปวำง ณ ตำแหน่งใด ๆ ทีต่ ำแหน่งใกล้ Load Cell ตัวใดตัวหนึ่งค่ำน้ำหนักทีว่ ดั ได้จำก
Load cell ตัวนัน้ มีค่ำมำกกว่ำค่ำน้ำหนักทีว่ ดั ได้จำก Load cell ทีต่ ำแหน่งอื่น ๆ ทีอ่ ยู่ห่ำงออกไป ดังแสดงในรูปภำพ 6
อย่ำงไรก็ตำม ผลรวมของค่ำน้ำหนักทีอ่ ่ำนได้จำกแต่ละ Load cell มีค่ำใกล้เคียงกับถุงทรำยทีใ่ ช้ในกำรทดสอบ (ร้อยละ
ควำมคลำดเคลื่อน 0.26-1.31)
ส่วนที่ 3 ทดสอบกำรวัดน้ำหนักทีว่ ำงบนเบำะรองนังต่
่ อเนื่องเป็ นเวลำนำน
ในรูปภำพ 7 เมื่อทำกำรทดสอบวำงถุงทรำย 80 กิโลกรัมบนเบำะต่อเนื่องเป็ นเวลำ 8 ชัวโมง
่ พบว่ำเมื่อเวลำผ่ำนไป
ค่ำทีว่ ดั ได้มคี ่ำเพิม่ และลดสลับกันไปอยู่ในช่วง 80.5 – 79.5 กิโลกรัม
1.2 กำรทดสอบกำรทำงำนของมอเตอร์สนั ่
มอเตอร์สนสำมำรถท
ั่
ำงำนได้ตำมโปรแกรมทีก่ ำหนดเป็ นเวลำต่อเนื่องนำน 5 นำทีเมื่อมีน้ำหนักวำง
บนเบำะนำนเกิน 40 นำที
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
782
ตำแหน่ง A
ตำแหน่ง B
30
น้ ำหนัก ( kg )
น้ ำหนัก (kg)
30
20
10
0
10
0
1
2
3
4
5
1
2
3
4
5
จำนวนกำรทดลอง (ครัง้ )
จำนวนในกำรทดลอง (ครัง้ )
ตำแหน่ง C
ตำแหน่ง D
30
30
น้ ำหนัก (kg)
น้ ำหนัก ( kg )
20
20
10
20
10
0
0
1
2
3
4
1
5
B
D
Sum
3
4
5
จำนวนกำรทดลอง (ครัง้ )
จำนวนในกำรทดลอง (ครัง้ )
A
2
C
A
B
D
Sum
C
รูปภำพ 6 กำรทดลองเมื่อประกอบเป็ นเบำะรองนังโดยวั
่
ดน้ำหนักแต่ละตำแหน่ง
น้ำหนักทีว่ ดั ค่ำได้ (KG)
กำรทดลองวำงวัตถุบนเบำะรองนังเป็
่ นเวลำ 8 ชัวโมง
่
81.00
80.50
80.00
79.50
79.00
78.50
เวลำ (ชัวโมง
่ : นำที : วินำที)
ค่ำน้ำหนักทีไ่ ด้จำกกำรวัด
ค่ำน้ำหนักจริงของวัตถุ
รูปภำพ 7 ผลกำรทดลองวำงวัตถุบนเบำะรองนังเป็
่ นเวลำ 8 ชัวโมง
่
2. ผลกำรพัฒนำแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มอื ถือ
แอปพลิเคชันทีพ่ ฒ
ั นำขึน้ เพื่อใช้ร่วมกับเบำะรองนังส
่ ำหรับลดกำรนังนิ
่ ่งนำนจะส่งข้อมูลกำรนังไปเก็
่
บยัง
Firebase Database เมื่อต้องกำรแสดงผลโปรแกรมจะนำข้อมูลจำก Firebase Database มำแสดงในรูปแบบของกรำฟ
เป็ นรำยชัวโมงหรื
่
อรำยวันได้อย่ำงถูกต้อง ดังตัวอย่ำงในรูปภำพ 8 และเมื่อพบว่ำมีกำรนังยำวนำนเกิ
่
นกำหนด จะมี
ข้อควำมเตือนเพื่อให้ผใู้ ช้ลุกไปทำกิจกรรมอื่น ๆ เป็ นช่วงระยะเวลำหนึ่งจนครบแล้วจึงกลับมำนังท
่ ำงำนต่อได้
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
783
รูปภำพ 8 ตัวอย่ำงสถิตกิ ำรนังรำยวั
่
นและรำยสัปดำห์แสดงบนแอปพลิเคชันทีพ่ ฒ
ั นำขึน้
สรุปและวิ จารณ์ ผลการพัฒนาเบาะลดการนัง่ นิ่ งนาน
เบำะรองนังและแอปพลิ
่
เคชันทีพ่ ฒ
ั นำขึน้ สำมำรถทำงำนร่วมกันได้ตำมเป้ ำหมำยทีอ่ อกแบบไว้ Load cell และ
อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์พน้ื ฐำนทีน่ ำมำใช้ในกำรพัฒนำเบำะรองนังลดกำรนั
่
งนิ
่ ่งนำนมีตน้ ทุนในกำรพัฒนำประมำณ 2,615
บำทต่อ 1 เบำะ โดยมีรอ้ ยละควำมคลำดเคลื่อนอยู่ในช่วง 0.02-0.46 ในช่วงกำรวัด 0 – 80 กิโลกรัม โดยควำมแตกต่ำง
ของควำมคลำดเคลื่อนขณะเพิม่ กับขณะลดน้ำหนัดอำจสำเหตุจำกพฤติกรรม Hysteresis ของ Load cell ทีน่ ำมำใช้ ดัง
แสดงในรูปภำพ 7
เมื่อตำแหน่งทีน่ ้ำหนักกดลงบนเบำะเปลีย่ นไป Load cell ทัง้ 4 ตัวก็วดั ค่ำได้ต่ำงกันตำมแนวกำรลงน้ำหนัก
ตำแหน่งสะท้อนให้เห็นถึงกำรลงน้ำหนักในกำรนังต่
่ ำงกัน จึงเป็ นไปได้ทจ่ี ะบ่งบอกถึงท่ำนังที
่ ต่ ่ำงกัน โดยมีค่ำทีอ่ ่ำนจำก
ทุกตัวรวมกันถูกต้องตำมน้ำหนักทีน่ ำมำทดสอบ ดังแสดงในรูปภำพ 6
นอกจำกนัน้ พบว่ำเมื่อเวลำผ่ำนไปค่ำทีว่ ดั ได้มคี ่ำเพิม่ และลดสลับกันไปแต่เพียงเล็กน้อย ดังแสดงในรูปภำพ 8
จึงถือได้วำ่ สำมำรถวัดค่ำน้ำหนักได้อย่ำงถูกต้องแม่นยำแม้ว่ำจะมีกำรใช้งำนต่อเนื่องเป็ นเวลำนำน
ระยะเวลำกำรนังที
่ ต่ คี วำมหมำยจำกกำรมีน้ำหนักวำงบนเบำะถูกส่งค่ำเข้ำฐำนข้อมูลและนำไปแสดงผลบนแอป
พลิเคชันเมื่อผูใ้ ช้งำนต้องกำร โดยแสดงระยะเวลำในกำรนังที
่ ผ่ ใู้ ช้งำนสำมำรถเลือกดูชว่ งเวลำตำมต้องกำรได้อย่ำง
ถูกต้อง ทัง้ นี้เมื่อมีกำรนังเกิ
่ นเวลำทีก่ ำหนดไว้ เบำะรองนังสำมำรถท
่
ำกำรสันเตื
่ อนให้ผใู้ ช้งำนสำมำรถสัมผัสกำรแจ้ง
เตือนได้ อีกทัง้ ในขณะเดียวกันแอปพลิเคชันสำมำรถทำกำรแสดงข้อควำมแจ้งเตือนบนโทรศัพท์มอื ถือด้วยอีกทำงหนึ่ง
เพื่อย้ำเตือนให้ผใู้ ช้งำนทำกำรเปลีย่ นอิรยิ ำบทต่อไป
ในส่วนของกำรพัฒนำต่อเนื่องในอนำคต ควรมีกำรนำอุปกรณ์ทพ่ี ฒ
ั นำขึน้ นี้ไปทดลองใช้งำนจริงในกลุ่มคนที่
มีพฤติกรรมนังนิ
่ ่งนำน เพื่อให้สำมำรถยืนยันประโยชน์ของระบบอุปกรณ์ทม่ี ตี ่อกำรปรับแก้พฤติกรรมกำรนังนิ
่ ง่ นำนได้
อย่ำงแท้จริง รวมถึงเพื่อนำข้อมูลทีไ่ ด้มำพัฒนำระบบให้ดยี งิ่ ขึน้ ตอบสนองต่อควำมต้องกำรใช้งำนอย่ำงแท้จริงต่อไป
อำทิเช่น อำจมีกำรพิจำรณำเพิม่ เติมฟั งก์ชนั กำรรับรูท้ ่ำทำงกำรนังของผู
่
ใ้ ช้ และอำจมีกำรบันทึกเวลำและมีกำรแจ้งเตือน
อยู่ในท่ำนังที
่ ไ่ ม่เหมำะสมเป็ นเวลำนำนเกินไป
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
784
กิ ติกรรมประกาศ
งำนวิจยั นี้ได้รบั ทุนสนับสนุนจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2563 โครงกำรวิจยั เรื่อง “เทคโนโลยี
อัจฉริยะเพื่ออำนวยควำมสะดวกสำหรับ สังคมผูส้ งู อำยุ”
เอกสารอ้างอิ ง
ดนยำ สุเวทเวทิน. (30 มกรำคม 2560). ‘นังนำน'ป่
่
วยง่ำยอ้วนเร็ว. สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริม
สุขภำพ. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภำพันธ์ 2561, จำก http://www.thaihealth.or.th/Content/35188-'นังนำน'ป่
่
วย
ง่ำยอ้วนเร็ว.html.
[2] ดนยำ สุเวทเวทิน. (7 กุมภำพันธ์ 2561). WHO เห็นชอบไทย 'ส่งเสริมกำรเคลื่อนไหวลดโรค’. สำนักงำนกองทุน
สนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภำพันธ์ 2561, จำก
http://www.thaihealth.or.th/Content/40680-WHO%20เห็นชอบไทย%20'ส่งเสริมกำรเคลื่อนไหวลดโรค’.
html.
[3] Patel, A. V., Bernstein, L., Deka, A., Feigelson, H. S., Campbell, P. T., Gapstur, S. M., Colditz, G. A., &
Thun. M. J. (2010). Leisure Time Spent Sitting in Relation to Total Mortality in a Prospective Cohort of US
Adults. American Journal of Epidemiology, 172(4), 419–429.
[4] Warren, T. Y., Barry, V., Hooker, S. P., Sui, X., Church, T. S., & Blair, S. N. (2010). Sedentary
behaviors increase risk of cardiovascular disease mortality in men. Med Sci Sports Exerc., 42(5),
879-85.
[5] Restaino, R. M., Holwerda, S. W., Credeur, D. P., Fadel, P. J., & Padilla, J. (2015), Impact of
prolonged sitting on lower and upper limb micro- and macrovascular dilator function. Exp Physiol, 100,
829–838.
[6] Boyle, T., Fritschi, L., Heyworth, J., & Bull, F. (2011). Long-Term Sedentary Work and the Risk of
Subsite-specific Colorectal Cancer. American Journal of Epidemiology, 173(10), 1183–1191.
[7] Wheeler, M. J., Dempsey, P. C., Grace, M. S., Ellis, K. A., Gardiner, P. A., Green, D. J., &
Dunstan, D. W. (2017). Sedentary behavior as a risk factor for cognitive decline? A focus on the influence
of glycemic control in brain health Alzheimer's & Dementia. Translational Research & Clinical Interventions,
3(3), 291-300.
[8] ข่าวสารจุฬาฯ. (11 กุมภาพันธ์ 2564). ทีมนิ สิตปริญญาเอก จุฬาฯ สร้างนวัตกรรมที่นัง่ อัจฉริยะ
“DynaSeat” ปรับพฤติกรรมกำรนัง่ ป้ องกันอำกำรปวดคอและหลังจำกออฟฟิ ศซินโดรม. จุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภำพันธ์ 2564, จำก https://www.chula.ac.th/news/43333/.
[9] Darma Inc. (June 3, 2016). Darma: Sit smart for a healthy body and mind. Kickstarter. Retrieved Febuary
7, 2019, from https://www.kickstarter.com/projects/junhao/darma-sit-smart-for-a-healthy-body-and-mind.
[10] Ma, C., Li, W., Gravina, R., & Fortino, G. (2017). Posture Detection Based on Smart Cushion for Wheelchair
Users. Sensors (Basel, Switzerland), 17(4), 719. https://doi.org/10.3390/s17040719
[11] Mann, W. (Dec 6, 2014). The SENSIMAT for Wheelchairs. Indiegogo. Retrieved February 7, 2019, from
https://www.indiegogo.com/projects/the-sensimat-for-wheelchairs#/.
[1]
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 12
Proceedings of the 12th National Science Research Conference
Download