การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม SWOT ANALYSIS ของกองทุนจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ จุดแข็ง (Strength) 1. เป็นองค์กรมีบทบาทหลักการส่งเสริม สนับสนุน การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ในประเทศไทยให้ประสบความสาเร็จ 2. องค์กรมีบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน บริหารงานของกองทุนให้ประสบความสาเร็จ 3. องค์กรมีแนวทาง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การดาเนินงานที่ชัดเจน (ทาให้หน่วยงานสามารถไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้ได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ) 4. องค์กรมีระบบสารสนเทศที่ช่วยให้การดาเนินของกองทุนเกิดประสิทธิภาพ 5. มีกฎหมายที่ให้อานาจให้สามารถดาเนินการสนับสนุนจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ได้ 6. เป็นนิติบุคคล และเป็นทุนหมุนเวียน จึงสามารถดาเนินงาน บริหารงาน ให้เกิดสภาพทีค่ วามคล่องตัวได้ 7. มีคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมการในด้านต่าง ๆ ที่ช่วยกลั้นกรอง พิจารณา วิเคราะห์ความเหมาะสมต่อ การบริหารงาน และดาเนินการตามภารกิจของกองทุน จุดอ่อน (Weakness) 1. ยังขาดพนักงาน/เจ้าหน้าที่ในบางตาแหน่ง ทาให้เกิดความล่าช้าในการทางาน และบุคลากรที่มีอยู่ต้องรับผิดชอบงานที่ไม่ได้ มีความรู้ ความสามารถในด้านนั้น ๆ 2. ค่อนข้างมีระยะเวลาและขั้นตอนในการดาเนินงานตามภารกิจที่นาน ทาให้การดาเนินการตามภารกิจเกิดความล่าช้า 3. ระบบสารสนเทศยังขาดเสถียรภาพ และให้บริการได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ 4. องค์กรและบุคลากรยังไม่พร้อมเข้าสู่องค์กรดิจิทัล 5. เกิดความผิดพลาดในการทางานของบุคลากรบ่อย (Human Error) โอกาส (Opportunities) 1. มีนโยบายของรัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนปฏิบัติราชการ และแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นกรอบในวางแผนการ ดาเนินงานของกองทุน 2. มีหลักสูตร การอบรม สัมมนาต่าง ๆ ขององค์กรภายในและภายนอก ที่ช่วยพัฒนาศักยภาพ ความรู้ และความสามารถให้ บุคลากร 3. กระแสสังคมที่กาลังพัฒนาไปสู่ความเป็นดิจิทัลมากขึ้น ทาให้การทางานเกิดความรวดเร็ว สะดวกสบาย ต่อผู้ให้บริการและ ผู้รับบริการ 4. ช่องทางในการลงทุนมีหลากหลายมากขึ้น อุปสรรค (Threats) 1. กองทุนยังมีประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือกฎหมายอื่น ๆ ที่ยังไม่ครอบคลุมการดาเนินงานทั้งหมด 2. การเปลี่ยนแปลงของโลกในด้านสภาพภูมิอากาศ ภัยธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้า ส่งกระทบต่อทิศทางการดาเนินงาน 3. การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ยังไม่เป็นที่รู้จัก ส่งผลให้การจัดรูปที่ดินฯ ยังไม่เกิดความแพร่หลาย ทาให้จานวนโครงการจัด รูปที่ดินฯ ยังมีไม่มากพอ ส่งผลต่อการให้การสนับสนุนด้านการเงินของกองทุนจึงยังไม่มากพอไปด้วย 4. สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ค่อนข้างชะลอตัว กาลังซื้อของประชาชนมีน้อยลง และการลงทุนต่าง ๆ มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น 5. ภารกิจงานที่นอกเหนือจากภารกิจหลักมีจานวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน ของบุคลากร และการพัฒนา ศักยภาพของตนเอง McKinsey 7S Framework วิเคราะห์ปัจจัยภายในองค์กร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. ด้านค่านิยมร่วม (Share Values) ด้านการวางแผน (Strategy) ด้านโครงสร้างองค์กร (Structure) ด้านระบบการปฏิบัติงาน (System) ด้านรูปแบบการจัดการ (Style) ด้านบุคลากร (Staff) ด้านทักษะความเชี่ยวชาญ (Skills) ใช้วิเคราะห์ด้าน Strength, Weakness 1. ด้านค่านิยมร่วม (Share Values) จุดแข็ง (Strength: S) 1. มีการกาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ โครงสร้างการดาเนินงานที่ชัดเจน จุดอ่อน (Weakness: W) 1. ขาดการสื่อสารและการทาความเข้าใจเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมองค์กร 2. ด้านการวางแผน (Strategy) จุดแข็ง (Strength: S) 1. มีการกาหนดแผนปฏิบัติการที่มีความหยืดหยุ่น และรองรับต่อสถานการณ์ปัจจุบัน จุดอ่อน (Weakness: W) 1. ยังไม่สามารถดาเนินการให้สาเร็จได้ทุกแผนงาน โครงการ และกิจกรรม 3. ด้านโครงสร้างองค์กร (Structure) จุดแข็ง (Strength: S) 1. มี การก าหนดโครงสร้า งและการบริห ารงานที่ ชัด เจนโดยมี ค ณะกรรมการบริห ารกองทุ น ท าหน้ าที่ ก ากั บ ดู แ ลติ ดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนจัดรูปที่ดินฯ จุดอ่อน (Weakness: W) 1. ขาดบุคลากรในบางตาแหน่ง ทาให้มีบุคลากรไม่ครบตามแผนด้านโครงสร้างอัตรากาลังของพนักงาน เจ้าหน้าที่ของกองทุน 2. กรอบอัตรากาลังกาหนดให้มีบุคลากรที่ทางานเพียงด้านละ 1 - 2 คน ทาให้เกิดความล่าช้า และบุคลากรต้องทางานที่มากเกินไป 4. ด้านระบบการปฏิบัติงาน (System) จุดแข็ง (Strength: S) 1. มีระบบติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของกองทุน 2. มี ร ะบบสารสนเทศที่ อ านวยความสะดวกผู้ ให้ บ ริ ก าร และผู้ รั บ บริ ก าร เกิ ด ความสะดวกในการด าเนิ น งาน ติ ด ต่ อ และประสานงาน 3. มีคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะอนุกรรมการ ช่วยในการพิจารณา กลั่นกรอง ให้ความเห็นชอบ ทาให้การดาเนินงาน เกิดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าในด้านการใช้งบประมาณ จุดอ่อน (Weakness: W) 1. ใช้ระยะเวลาในการดาเนินงานนาน เนื่องจากต้องผ่านการกลั่นกรอง และเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการ และคณะกรรมการก่อน 2. ระบบสารสนเทศยังขาดเสถียรภาพในการทางาน /McKinsey 7S Framework .. 5. ด้านรูปแบบการจัดการ (Style) จุดแข็ง (Strength: S) 1. เป็นนิติบุคคล มีความคล่องตัว และยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ 3. ผู้บริหาร บุคลากร มีวิสัยทัศน์ และทัศนคติทมี่ ุ่งมั่นจะทางานเพื่อการพัฒนา 4. บุคลากรมีการปรับตัวเพื่อเตรียมพร้อมต่อการทางานในยุคดิจิทัล จุดอ่อน (Weakness: W) 1. รูปแบบและวิธีการทางานในบางเรื่อง ยังไม่ตอบรับการเข้าสู่การทางานในยุคดิจิทัล 6. ด้านบุคลากร (Staff) จุดแข็ง (Strength: S) 1. สามารถใช้บุคลากรที่มีอยู่อย่างจากัดปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรได้ จุดอ่อน (Weakness: W) 1. บุ คลากรขาดแรงจูงใจในการท างาน และขาดความมั่น คงชัด เจนทางการเติบ โตก้ าวหน้าในองค์ก ร ขาดสิท ธิประโยชน์ และสวัสดิการของพนักงานกองทุน 2. ลักษณะงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสูง เมื่อบุคลากรมีการโยกย้ายจึงต้องใช้เวลาในการถ่ายทอดงานมาก ซึ่งส่งผลให้ การปฏิบัติงานขาดความต่อเนื่องและไม่มีประสิทธิภาพ 7. ด้านทักษะความเชี่ยวชาญ (Skills) จุดแข็ง (Strength: S) 1. บุคลากรส่วนใหญ่มีความรู้ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน จุดอ่อน (Weakness: W) 2. ขาดบุคลากรในด้านการบริหารการลงทุนในทรัพย์สินและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกองทุน 3. บุคลากรขาดความรู้ ทักษะใหม่ ๆ ในการปฏิบัติงาน PEST Analysis วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร P : Political = ปัจจัยด้านการเมือง E : Economic = ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ S : Social = ปัจจัยด้านสังคม T : Technological = ปัจจัยด้านเทคโนโลยี วิเคราะห์ด้าน Opportunities, Threats 1. ปัจจัยด้านการเมือง (P : Political) โอกาส (Opportunities: O) 1. มียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ซึ่งมีเป้าหมาย ต้องการให้มีการกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ เป็นยุทธศาสตร์หลักที่ ใช้ในการวางแผนปฏิบัติการของกองทุน 2. มี พ.ร.บ.ทุนหมุนเวียนกาหนดหลักเกณฑ์และแนวทางในการบริหารจัดการทุนหมุนเวียนให้มีประสิทธิภาพ 3. นโยบายของกรม ทีส่ ่งเสริมให้มกี ารพัฒนาเมืองด้วยวิธีการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ในทุกจังหวัด อุปสรรค (Threats) 1. การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ ยังไม่เป็นนโยบายหลักของชาติที่ต้องได้รับการส่งเสริมให้ต้องทาเป็นอันดับต้น ๆ 2. ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ที่อาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานตามนโยบายด้านการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ 3. ภั ย สงครามระหว่า งประเทศ ที่ ส่ งผลกระทบต่ อ สภาวะเศรษฐกิ จ ทั่ วโลก ท าให้ ราคาน้ ามั น สิ น ค้ า มี สู งขึ้ น ท าให้ ก าร ดาเนินงานมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นตามไปด้วย 2. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (E : Economic) โอกาส(Opportunities: O) 1. แนวโน้มในการได้รับวงเงินงบประมาณเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปีงบประมาณ ทาให้สามารถสนับสนุนโครงการจัดรูปที่ดินฯ ได้มากขึ้น 2. แนวโน้มด้านการลงทุนของโลกยุคดิจิทัล ด้วยสกุลเงินดิจิทัลที่มากขึ้น ทาให้กองทุนมีทางเลือกที่จะสามารถลงทุนเพื่อหา ผลประโยชน์จากสกุลเงินดิจิทัลได้ อุปสรรค (Threats) 1. งบประมาณของแผ่นดินที่มีอยูจ่ านวนจากัด ไม่เพียงพอต่อการจัดทาระบบสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะให้ครบถ้วน รวดเร็ว ตามความต้องการของประชาชน และตามนโยบายของส่วนราชการ 2. การชะลอตัวของเศรษฐกิจ ทาให้ภาคเอกชนไม่ลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาพื้นที่ 3. อัตราเงินเฟ้อ และค่าครองชีพที่สูงขึ้น 3. ปัจจัยด้านสังคม (S : Social) โอกาส(Opportunities: O) 1. ป ระชาชนมี ค วามต้ อ งการให้ รั ฐ จั ด บ ริ ก ารสาธารณ ะ ระบ บ สาธารณู ป โภคต่ า ง ๆ และพั ฒ นาเมื อ งให้ มี ความน่าอยู่เพิ่มมากขึ้น 2. มีกลุ่มคน สมาคม หรือผู้ศึกษาด้านการวางผังเมือง ให้ความสนใจในประเด็นการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่มากขึ้น อุปสรรค (Threats) 1. เจ้าของที่ดินยังไม่ให้ความร่วมมือในการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้น 2. ประชาชนยังไม่รู้จัก และไม่มีความเข้าใจในเรื่องการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้น 4. ด้านเทคโนโลยี (T : Technological) โอกาส (Opportunities: O) 1. สื่อ สังคมออนไลน์ ระบบดิจิทัลที่ช่วยในการทางาน มีความก้าวหน้า และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสารมีความทันสมัย ใช้งานง่าย และราคาถูก อุปสรรค (Threats) 1. เกิดนวัตกรรม เทคโนโลยี และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยตลอดเวลา ทาให้สิ่งที่ใช้งานอยู่เกิดการล่าสมัยได้เร็ว 2. ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ทาให้เกิดความไม่ปลอดภัยในข้อมูล และทรัพย์สิน สรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์กร (SWOT) (S1) เป็ นองค์ กรมีบ ทบาทหลักการส่งเสริม สนั บสนุน การจัด รูป ที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ในประเทศไทยให้ประสบความสาเร็จ (S2) มีคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะอนุกรรมการในด้าน ต่าง ๆ ที่ช่วยกลั้นกรอง พิจารณา วิเคราะห์ความเหมาะสมต่อการ บริหารงาน และดาเนินการตามภารกิจของกองทุน (S3) องค์กรมีแนวทาง ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การดาเนินงานที่ ชัดเจน (S4) องค์กรมีระบบสารสนเทศที่ช่วยให้การดาเนินของกองทุนเกิด ประสิทธิภาพ (S5) มีกฎหมายที่ให้อานาจให้สามารถดาเนินการสนับสนุนจัดรูป ที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ได้ (S6) เป็ นนิ ติ บุ คคล และเป็ นทุ นหมุ นเวี ยน จึ งสามารถด าเนิ นงาน บริหารงาน ให้เกิดสภาพที่ความคล่องตัวได้ (S7) มี ก ารก าหนดวิ สั ย น์ พั น ธกิ จ ยุ ท ธศาสตร์ โครงสร้ า งการ ดาเนินงานที่ชัดเจน มีการประสานความร่วมมือภายในหน่วยงาน และมีแผนงานในการดาเนินงาน (S8) กองทุ นจัดรูปที่ ดินฯ เป็นทุ นหมุนเวียนที่ช่วยโครงการจัดรูป ที่ดินฯ ได้อย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน (W1) บุ ค ลากรขาดความรู้ ทั ก ษะใหม่ ๆ ในการปฏิ บั ติ งาน(W2) อัตรากาลังไม่เพียงพอ (W3) บุ ค ลากรบางต าแหน่ ง ลาออก/โยกย้ า ย ท าให้ ข าดความ ต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน (W4) ก อ ง ทุ น จั ด รู ป ที่ ดิ น ฯ ต้ อ ง บ ริ ห า ร ส ภ า พ ค ล่ อ ง เพื่อรองรับความต้องการใช้เงินในอนาคต ทั้งในด้านการดาเนินงาน และสนับสนุนโครงการจัดรูปที่ดินฯ (W5) ข า ด ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ท า ใ ห้ ไม่ครอบคลุมการปฏิบัติงาน (W6) กฎหมายรองรั บ (ระเบี ย บ ประกาศ หลั ก เกณฑ์ วิ ธี ปฏิบัติ) ไม่ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน (W7) การสื่อสารประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย (W8) ขาดสิทธิประโยชน์ และสวัสดิการของพนักงานกองทุน และ ขาดความชัดเจนในการเติบโตของสายงานองค์กร (O1) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขัน ประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ซึ่งมีเป้าหมาย ต้องการให้มีการกระจายศูนย์กลางความเจริญ ทางเศรษฐกิจและ สังคม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ (O2) โครงการจัดรูปที่ดินฯ ที่เพิ่มขึ้น ทาให้เกิดความต้องการนาเงิน ไปพัฒนา สาธารณูปโภค สาธารณูปการ (O3) ช่องทางการสื่อสารที่พัฒนามากขึ้น ทาให้การประชาสัมพันธ์ ให้ถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว (O4) การพัฒนาเมืองด้วยการจัดรูปที่ดินฯ ทาให้รัฐบาลประหยัด งบประมาณในการเวนคืนที่ดิน (T1) การดาเนินโครงการจัดรูปที่ดินฯ ไม่เป็นไปตามแผน ส่งผลให้ โครงการไม่สามารถคืนเงินกองทุนได้ (T2) การชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ ท าให้ ภ าคเอกชนไม่ ล งทุ น ใน โครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาพื้นที่ (T3) สถานการณ์ต่างๆ การเกิดภัยภิบัติ หรือโรคระบาด ส่งผลต่อ โครงการจัดรูปที่ดินฯ ไม่สามารถชาระหนี้กองทุนจัดรูปที่ดินฯ ทาให้ ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นการด าเนิ น งานตาม ความปกติ ใ หม่ ( New Normal ) (T4) ขาดการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดรูปที่ดิน