Uploaded by ruangritv

02-ประวัติปิโตรเลียม ในประเทศไทย

advertisement
กรรมวิธีการกลัน่ นา้ มันดิบ
กระบวนการกลัน่ นา้ มันดิบ คือ การเปลีย่ นสภาพ
นา้ มันดิบให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ สาเร็จรู ปต่ าง ๆ ตามความ
ต้ องการของตลาดทีแ่ ตกต่ างกันตามประเภทของการใช้
ประโยชน์ เช่ น ก๊ าซหุงต้ ม เบนซิน ดีเซล นา้ มัน
เครื่องบิน นา้ มันก๊ าด นา้ มันเตา ยางมะตอย ฯลฯ
กรรมวิธีการกลัน่ นา้ มันดิบ
กรรมวิธีการกลัน่ นา้ มันดิบ
กระบวนการกลัน่ นา้ มันของแต่ ละโรงกลัน่ จะ
แตกต่ างกันบ้ างขึน้ อยู่กบั องค์ ประกอบหลายประการ
เข่ น คุณสมบัตขิ องนา้ มันดิบทีน่ าเข้ า ชนิดและ
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ สาเร็จรู ปที่ต้องการ แต่ ทวั่ ไป
กระบวนการกลัน่ จะประกอบด้ วยกรรมวิธีย่อยที่
สาคัญดังนี้
กรรมวิธีการกลัน่ นา้ มันดิบ
คาถาม?
การแยก (Separation)
การแยก (Separation)
กรรมวิธีการแยกนา้ มันดิบ คือ การแยกส่ วนประกอบ
ทางกายภาพของนา้ มันดิบ ซึ่งส่ วนมากจะแยกโดย
วิธีการกลัน่ ลาดับส่ วน (Fractional Distillation) คือ
การนานา้ มันดิบมากลัน่ ในหอกลัน่ นา้ มันดิบจะถูก
แยกตัวออกเป็ นนา้ มันสาเร็จรู ปประเภทต่ าง ๆ ตาม
ช่ วงจุดเดือดทีต่ ่ างกัน
การแยก (Separation)
การแยก (Separation)
การแยกนา้ มันดิบด้ วยการกลัน่ ลาดับส่ วน เป็ นวิธีการ
พืน้ ฐาน โดยใช้ หลักว่ าสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
ชนิดต่ าง ๆ ทีร่ วมกันอยู่ในนา้ มันดิบ จะมีระดับของ
จุดเดือดแตกต่ างกันตั้งแต่ -157 องศาเซลเซียส (125
องศาฟาเรนไฮต์ ตา่ กว่ าศูนย์ ) ขึน้ ไป
การแยก (Separation)
จนกระทัง่ ถึงหลาย
ร้ อยองศาเซลเซียส
ด้ วยหลักดังกล่ าวใน
การแยก
สารประกอบที่
รวมกันอยู่นี้ จึงใช้
วิธีการกลัน่
ตามลาดับของ
อุณหภูมิทตี่ ่ างกัน
การแยก (Separation)
ในการกลัน่ ลาดับส่ วน
นา้ มันดิบจะถูกส่ งผ่ านเข้ า
ไปในท่ อเหล็ก ซึ่งเรียง
แถวอยู่ในเตาเผาทีม่ ีความ
ร้ อนขนาด 315-371 องศา
เซลเซียส (600-700 องศา
ฟาเรนไฮต์ ) หลังจากนั้น
นา้ มันดิบทีร่ ้ อน
การแยก (Separation)
รวมทั้งไอร้ อนจะไหลผ่ าน
ไปในหอกลัน่ ไอร้ อนที่
ลอยขึน้ ไปเมื่อได้ รับความ
เย็นจะกลัน่ ตัวเป็ น
ของเหลว ตกบนภาชนะ
รองรับซึ่งจัดเรียงเป็ นชั้น
ๆ หลายสิ บชั้นในหอกลัน่
โดยไอร้ อนจะกลัน่ ตัวเป็ น
ของเหลวตกในชั้นใด ก็
ขึน้ อยู่กบั ช่ วงจุดเดือดของ
นา้ มันส่ วนนั้น
การแยก (Separation)
ชั้นสุ ดยอดของหอกลัน่ มีอุณหภูมติ า่ สุ ดจะเป็ นก๊ าซ
หุงต้ ม (LPG) รอง ๆ ลงมา ซึ่งอุณหภูมสิ ู งขึน้ จะเป็ น
ส่ วนของเบนซิน นา้ มันก๊ าด และดีเซล ตามลาดับ
ส่ วนนา้ มันที่ก้นหอกลัน่ ถ้ านาไปผ่ านกรรมวิธีอนื่ ๆ
จะแยกออกเป็ นนา้ มันหล่ อลืน่ พืน้ ฐาน และส่ วนที่
เหลือจะเป็ นนา้ มันเตาและยางมะตอย ส่ วนต่ าง ๆ
ของนา้ มันดิบที่แยกมาเรียกว่ าผลิตภัณฑ์ "โดยตรง"
การแยก (Separation)
คาถาม?
การเปลีย่ นโครง
สร้ างทางเคมี (Conversion)
การเปลีย่ นโครงสร้ างทางเคมี (Conversion)
คือ การเปลีย่ นแปลงโมเลกุลหรือโครงสร้ างทางเคมี
เพือ่ ให้ คุณภาพของนา้ มันเหมาะสมกับความต้ องการ
ใช้ ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากการกลัน่ ลาดับส่ วน
อาจมีปริมาณไม่ เท่ ากับปริมาณผลิตภัณฑ์ นา้ มันที่
ต้ องการใช้
การเปลีย่ นโครงสร้ างทางเคมี (Conversion)
เช่ น นา้ มันเบนซินที่ใช้ กบั รถยนต์ ที่กลัน่ ได้ จากนา้ มันดิบ
ด้ วยกรรมวิธีการกลัน่ ลาดับส่ วน อาจมีปริมาณไม่ พอกับ
ความต้ องการ ฉะนั้น ผู้กลัน่ นา้ มันจึงต้ องหาทางผลิตนา้ มัน
เบนซินให้ มากขึน้ โดยการเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างโมเลกุล
ของนา้ มัน
การเปลีย่ นโครงสร้ างทางเคมี (Conversion)
หลักพืน้ ฐาน ของกรรมวิธีนี้
ได้ แก่ การทาให้ โมเลกุลของ
นา้ มันหนักแตกตัวด้ วย
ความร้ อน (Thermal
Cracking) หรือทาให้ แตก
ตัวด้ วยสารเร่ งปฏิกริ ิยา
(Catalytic Cracking) หรือ
การเปลีย่ นแปลงโมเลกุล
ของนา้ มันเบาให้ ได้ โมเลกุล
ทีห่ นักกว่ า และมีคุณสมบัติ
ที่แตกต่ างไป
การเปลีย่ นโครงสร้ างทางเคมี (Conversion)
(Polymerization) นอกจากนั้น
ยังมีวธิ ีเปลีย่ นแปลงโครงสร้ าง
ของไฮโดรคาร์ บอนอืน่ ๆ อีก
หลายวิธี เช่ น วิธี แอลกิเลชั่น
(Alkylation) วิธี ไอโซเมอไร
เซชั่น (Isomerization) และวิธี
ปฏิรูปด้ วยสารเร่ งปฏิกริ ิยา
(Catalytic Reforming) ที่ทาให้
เกิดการจัดรูปโมเลกุลของ
ปิ โตรเลียมใหม่ ให้ มีค่าอ๊อกเทน
(Octane) สู ง เป็ นต้ น
คาถาม?
ประเทศไทยมีการสารวจพบ
ปิ โตรเลียมบริเวณใดบ้ าง
ประเทศไทยมีการสารวจพบปิ โตรเลียมบริเวณใดบ้ าง
แหล่งทีส่ ารวจพบแล้ว
บนบกมีอยู่บริเวณภาค
กลางในเขตจังหวัด
สุ โขทัย กาแพงเพชร
พิษณุโลก เพชรบูรณ์
นครปฐม สุ พรรณบุรี
ภาคตะวันอกเฉียงเหนือ
ในเขตจังหวัดขอนแก่น
อุดรธานี และในบริเวณ
อ่าวไทย
ปิ โตรเลียมเกิดมาจากอะไร มีกชี่ นิด
ปิ โตรเลียม คือ สาร
ไฮโดรคาร์ บอนที่เกิดขึน้ เองตาม
ธรรมชาติ โดยอาจมีธาตุอโลหะ
อืน่ ปะปนอยู่ด้วย เช่ น กามะถัน
ไนโตรเจน ออกซิเจน เป็ นต้ น
ปิ โตรเลียม แบ่ งเป็ น 2 สถานะ
คือ ของเหลว (นา้ มันดิบ) และ
ก๊าซ (ก๊าซธรรมชาติ และคอน
เดนเสท : ก๊าซธรรมชาติเหลว)
ปริมาณสารองปิ โตรเลียมของ
ประเทศไทยมีมากน้ อยแค่ ไหน
สิ้นปี 2552 มีปริมาณสารองทีพ่ สิ ู จน์ แล้ ว ดังนี้
* ก๊าซธรรมชาติ 11,026 ล้านลูกบาศก์ฟตุ
* LNG ก๊าซธรรมชาติ เหลว 255 ล้านบาเรล
* น้ ามันดิบ 180 ล้านบาเรล
ยังคงมีการ สารวจอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง
ก๊ าซธรรมชาติเหลว คืออะไร
ก๊าซธรรมชาติทเี่ มื่ออยู่
ในแหล่งกักเก็บใต้ ผวิ
โลก ซึ่งมีความร้ อน
และความกดดันสู ง จะ
มีสภาพเป็ นก๊าซ และ
จะกลายสภาพเป็ น
ของเหลวเมื่อขึน้ มาอยู่
บนพืน้ ผิวโลก
ก๊ าซธรรมชาติเหลว คืออะไร
ก๊าซธรรมชาติเหลว
กับนา้ มันดิบต่ างกันอย่ างไร
ก๊าซธรรมชาติเหลวเมื่ออยู่ใน
แหล่งกักเก็บใต้ ผวิ โลก ซึ่งมี
ความร้ อนและความกดดันสู ง
จะมีสภาพเป็ นก๊าซ และจะ
กลายสภาพเป็ นของเหลวเมื่อ
ขึน้ มาอยู่บนพืน้ ผิวโลก ส่ วน
นา้ มันดิบมีสภาพเป็ น
ของเหลวตั้งแต่ เมื่ออยู่ใน
แหล่งกักเก็บใต้ ผวิ โลก
ก๊าซธรรมชาติที่นามาใช้
กับรถยนต์ คอื ก๊าซอะไร
คือก๊ าซธรรมชาติอดั (Compressed Natural
Gas, CNG) เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนที่มี
ก๊ าซมีเทนเป็ นส่ วนใหญ่ นามาอัดด้ วยความดัน
สู ง (แต่ กย็ งั เป็ นก๊ าซอยู่) บรรจุในถังเพือ่ ความ
สะดวกในการขนส่ งและใช้ เป็ นเชื้อเพลิงใน
ยานพาหนะแทนน้ามันเชื้อเพลิงเบนซินและ
ดีเซล
เราสามารถสารวจหาปิ โตรเลียมได้ อย่ างไร
เริ่มจากการสารวจ
โครงสร้ างทาง
ธรณีวทิ ยา(โครงสร้ าง
ชั้นหิน) ขนาดใหญ่ โดย
ภาพถ่ ายดาวเทียมและ
ภาพถ่ ายทางอากาศ
หากพบโครงสร้ างที่
น่ าสนใจ
เราสามารถสารวจหาปิ โตรเลียมได้ อย่ างไร
จึงทาการสารวจใน
รายละเอียดต่ อไปโดย
วิธีการทางธรณีฟิสิ กส์ และ
ธรณีวทิ ยา และหากพบ
บริเวณที่น่าจะเป็ นแหล่ งกัก
เก็บปิ โตรเลียม จึงกาหนด
ตาแหน่ งเพือ่ เจาะสารวจหา
ชนิด คุณภาพ และวัด
ปริมาณสารองต่ อไป
ประโยชน์ ทรี่ ัฐและประชาชนจะได้ จาก
การประกอบกิจการปิ โตรเลียมมีอะไรบ้ าง
ประโยชน์ โดยตรงได้ แก่ มี
แหล่งเชื้อเพลิงในประเทศไว้
ใช้ ประโยชน์ ในด้ านพลังงาน
รัฐมีรายได้ จากค่ าภาคหลวง
ปิ โตรเลียม (เฉลีย่ ประมาณ
ร้ อยละ 12.5 ของมูลค่ า
ปิ โตรเลียม)และภาษีเงินได้
ปิ โตรเลียม(ร้ อยละ50 ของผล
กาไรของผู้ประกอบการผลิต
ปิ โตรเลียม)
ก๊ าซธรรมชาติที่ได้ จากแหล่ งใน
ประเทศไทยมีค่าความร้ อนเฉลีย่ ประมาณเท่ าไร
* ประมาณ 1,000 บีทยี ู
ประเทศไทยผลิตปิ โตรเลียมจากแหล่ งในประเทศ
ได้ ปริมาณมากน้ อยเพียงไรเทียบกับการใช้
ผลิตได้ วนั ละประมาณ 500,000 บาเรล
(เทียบเท่ านา้ มันดิบ) หรือ ประมาณ
47%ของการต้ องการใช้ ในประเทศ
ทาไมเราต้ องนาเข้ าปิ โตรเลียมทั้ง ๆ
ทีเ่ รามีแหล่ งปิ โตรเลียมในประเทศ
การผลิตในประเทศไม่ เพียงพอต่ อ
ความต้ องการใช้ (ผลิตได้ เพียง
ประมาณ ร้ อยละ 47 ของต้ องการ
ใช้ )
ประเทศไทยสามารถส่ งออกนา้ มันดิบได้ หรือไม่
ถ้ ามี ตลาดทีส่ าคัญมีประเทศอะไรบ้ าง
หากในประเทศไม่มีผรู้ ับซื้อ ก็
สามารถส่ งออกได้ ตลาดที่สาคัญ
ได้แก่ จีน เกาหลี อินโดนีเซีย และ
ออสเตรเลีย
พืน้ ที่พฒ
ั นาร่ วม หมายถึงอะไร
เป็ นพืน้ ที่คาบเกีย่ วระหว่ าง
ประเทศซึ่งเกิดจากการ อ้าง
สิ ทธิในไหล่ทวีปทับซ้ อนกัน
และตกลงพัฒนาและแสวง
ประโยชน์ ร่วมกัน เช่ นบริเวณ
ทีไ่ ทยและมาเลเซียอ้างสิ ทธิใน
ไหล่ทวีปทับซ้ อนกันในบริเวณ
อ่าวไทยตอนล่าง
( MTJDAหรือ MTJA=
Malaysia-Thailand Joint
Development Area)
ครอบคลุมพืน้ ที่ ประมาณ
7,250 ตารางกิโลเมตร
พืน้ ที่พฒ
ั นาร่ วม หมายถึงอะไร - ต่ อ
โดยอยู่ห่างจากจังหวัด
สงขลาประมาณ 260
กิโลเมตร ห่ างจาก
จังหวัดปัตตานี 180
กิโลเมตร และจากเมือง
โกตาบารู รัฐกลันตัน
ประเทศมาเลเซีย
ประมาณ 150 กิโลเมตร
พืน้ ทีพ่ ฒ
ั นาร่ วม หมายถึงอะไร - ต่ อ
จากการศึกษาข้ อมูล
ด้ านธรณีวทิ ยาธรณี
ฟิ สิ กส์ และจากการ
ประเมินผลข้ อมูลการ
สารวจในปัจจุบัน มี
ความเป็ นไปได้ ทจี่ ะพบ
ก๊ าซธรรมชาติในพืน้ ที่
พัฒนาร่ วมสู งถึง 10
ล้ านล้ านลูกบาศก์ ฟุต
คาถาม?
*ก๊าซธรรมชาติ
*คอนเดนเสท
*LPG *LNG *CNG *LCNG
*ก๊าซมีเทนในชั้นถ่ านหิน
*ก๊าซโซฮอล์
*และไบโอดีเซล คืออะไร
ก๊ าซธรรมชาติ (Natural Gas)
เป็ นปิ โตรเลียมทีอ่ ยู่ในรูป
ของก๊าซที่สภาพแวดล้อม
บรรยากาศ ก๊าซธรรมชาติ
ประกอบด้ วยสาร
ไฮโดรคาร์ บอนเป็ นส่ วน
ใหญ่ และกว่ าร้ อยละ 70
เป็ นก๊าซมีเทน (Methane
:CH4)
ก๊ าซธรรมชาติเหลว
หรือคอนเดนเสท (Condensate)
ประกอบด้ วยสาร
ไฮโดรคาร์ บอนในกลุ่ม
เดียวกับก๊ าซธรรมชาติ แต่
มีลกั ษณะเป็ นของเหลวใน
สภาพบรรยากาศ เพราะว่ า
ปริมาณคาร์ บอนอะตอมใน
โครงสร้ างโมเลกุลมากกว่ า
ก๊ าซธรรมชาติ
*LPG *LNG *CNG *LCNG
ก๊ าซธรรมชาติเหลว
ทีอ่ ยู่ในแหล่ งกักเก็บ
ตามธรรมชาติจะมี
สถานะเป็ นก๊ าซ แต่
เมื่อขึน้ มาอยู่ใน
สภาพบรรยากาศจะ
กลายเป็ นของเหลว
จึงเรียกก๊ าซ
ธรรมชาติเหลว
ก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว
(Liquefied Petroleum Gas : LPG)
ประกอบด้ วยก๊ าซโพรเพน (C3HS) และก๊ าซบิวเทน
(C4H10) ทีถ่ ูกทาให้ เป็ นของเหลวโดยการเพิม่ ความ
กดดัน ใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในครัวเรือน รถยนต์ และโรงงาน
อุตสาหกรรม
ก๊ าซมีเทนในชั้นถ่ านหิน
(Coal Bed Methane)
มีส่วนประกอบและ
นามาใช้ ประโยชน์ ได้
เช่ นเดียวกับก๊ าซมีเทน
ในก๊ าซธรรมชาติ แต่
ต่ างกันทีพ่ บอยู่ในชั้น
ถ่ านหิน ก๊ าซมีเทนที่
เกิดขึน้ จะสะสมตัวใน
3 ลักษณะ ละลายอยู่ใน
ชั้นนา้
ก๊ าซมีเทนในชั้นถ่ านหิน
(Coal Bed Methane)
และแทรกซึมอยู่ในรอย
แตกในชั้นถ่ านหิน การนา
ก๊ าซมีเทนมาใช้ ประโยชน์
จะต้ องสู บนา้ ออกจาก
หลุมผลิตให้ ความกดดัน
ในหลุมผลิตลดลงมาก
ทีส่ ุ ด เพือ่ ให้ ก๊าซมีเทนซึ่ง
มีความดันต่าไหลออกมา
ได้
ก๊ าซมีเทนในชั้นถ่ านหิน
(Coal Bed Methane)
โครงการสารวจหาก๊ าซ
มีเทนในชั้นถ่ านหิน
บริเวณแอ่ งแม่ ทะ อ.แม่
ทะ จ.ลาปาง และบริเวณ
แอ่ งแม่ ละเมา อ.แม่ สอด
จ.ตาก เป็ นโครงการของ
กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
ก๊ าซมีเทนในชั้นถ่ านหิน
(Coal Bed Methane)
และแอ่งเคียนซา อ.พุนพิน จ.สุ ราษฎร์ธานี
ดาเนินการโดยบริ ษทั เอสวีเอสฯ ผูร้ ับสัมปทาน
ปิ โตรเลียม แปลง L71/43 ความคืบหน้าผลสารวจ
ยังไม่พบก๊าซมีเทนในปริ มาณที่น่าสนใจ
LCNG
เป็ นการนา LNG ไปใช้เป็ นเชื้อเพลิงในรถยนต์
เนื่องจาก LNG ที่ถูกขนส่ งมาเก็บรักษาไว้เป็ น
ของเหลวมีอุณหภูมิ ลบ 161 องศาเซลเซียส เมื่อจะ
นาไปเติมในรถยนต์ตอ้ งทาให้อยูใ่ นรู ปของก๊าซ โดย
ผ่านในท่อ ณ อุณหภูมิหอ้ ง และเมื่อจะเติมในถังก๊าซ
รถยนต์ให้ได้ปริ มาณมากต้องอัดที่ความดันประมาณ
200 บาร์
LNG (Liquefied Natural gas)
เป็ นก๊าซธรรมชาติทถี่ ูกทา
ให้ อยู่ในรูปของเหลวเพือ่
ประโยชน์ ในการขนส่ งไป
ใช้ ในที่ไกล ๆ จากแหล่ง
ผลิต ซึ่งการขนส่ งทางท่ อ
ไม่ คุ้มในเชิงเศรษฐศาสตร์
โดยมีกระบวนการเปลีย่ น
สถานะก๊าซธรรมชาติให้
เป็ นของเหลวทีอ่ ุณหภูมิ
ลบ 160 องศาเซลเซียส
LNG (Liquefied Natural gas)
ซึ่งปริ มาตรจะลดลง 600 เท่า และขนส่ ง
โดยเรื อชนิดพิเศษมาที่สถานีรับปลายทาง ที่
จะมีกระบวนการทาให้ LNG กลับ
กลายเป็ นก๊าซธรรมชาติ ก่อนส่ งเข้าท่อ
แจกจ่ายไปใช้ต่อไป
CNG (Compressed Natural Gas)
เป็ นการนาก๊าซธรรมชาติ มาอัดก่อนเติมลงถัง
ก๊าซรถยนต์เพื่อให้ได้ปริ มาณมาก โดยปกติ จะ
ใช้ความดันประมาณ 200 บาร์
นา้ มันก๊ าซโซฮอล์
เป็ นนา้ มันผสมระหว่ าง
เบนซินกับเอทานอลบริ
สุ ทธิ์ ร้ อยละ 99.5 ใน
สั ดส่ วน 90 : 10 จึงมี
คุณสมบัตทิ วั่ ไปคล้ าย
นา้ มันเบนซิน มีค่าออก
เทน 95 สามารถใช้ ได้ กบั
เครื่องยนต์ เบนซิน
นา้ มันก๊ าซโซฮอล์
ระบบจ่ ายนา้ มันแบบ
หัวฉีด เอทานอลผลิตได้
จากพืชชนิดต่ าง ๆ เช่ น
นา้ มันสาปะหลังสด
นา้ อ้ อย และกากอ้ อย คิด
ในปริมาณชนิดละ 1 ตัน
จะผลิตเอทานอลได้
ประมาณ 180, 70 และ
260 ลิตร ตามลาดับ
นา้ มันไบโอดีเซล
เป็ นผลิตภัณฑ์ ที่ได้
จากการนานา้ มันพืช
ชนิดต่ าง ๆ หรือ
นา้ มันสั ตว์ (นา้ มัน
ใหม่ หรือนา้ มันทีใ่ ช้
แล้ว) ไปผ่ าน
กระบวนการทางเคมี
โดยการเติม
แอลกอฮอล์และ
ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา
ภายใต้ สภาวะทีม่ ี
นา้ มันไบโอดีเซล
อุณหภูมเิ พือ่ เปลีย่ น
โครงสร้ างทางเคมีของนา้ มัน
ให้ เป็ น Oranic Acid Ester
ซึ่งมีคุณสมบัตใิ กล้ เคียงกับ
นา้ มันดีเซล จึงเรียกชื่อว่ า ไบ
โอดีเซล สาหรับนา้ มันปาล์ม
หรือนา้ มันมะพร้ าวทีไ่ ม่ ผ่าน
กระบวนการทางเคมีดังกล่าว
ข้ างต้ น แต่ นามาใช้ โดยตรง
หรือผสมกับนา้ มันดีเซล ไม่
ถือว่ าเป็ นนา้ มันไบโอดีเซล
คาถาม?
ที่มาของคาว่ าปิ โตรเลียม
ที่มาของคาว่ าปิ โตรเลียม
ปิ โตรเลียม (Petroleum) มาจากภาษาละติน 2
คา คือ เพตรา (Petra) แปลว่ า หิน และ โอ
เลียม (Oleum) แปลว่ า น้ามัน
นา้ มันดิบมีสถานะเป็ นอะไร
มีสถานะตามธรรมชาติ
เป็ นของเหลว
ประกอบด้ วยสาร
ไฮโดรคาร์ บอนระเหยง่ าย
เป็ นส่ วนใหญ่ แบ่ งเป็ น 3
ชนิด ตามคุณสมบัตแิ ละ
ชนิดของไฮโดรคาร์ บอนที่
ประกอบอยู่ คือ
นา้ มันดิบมีสถานะเป็ นอะไร
1) น้ามันดิบฐานพาราฟิ น
2) น้ามันดิบฐานแอสฟัลต์ และ
3) น้ามันดิบฐานผสม
น้ามันดิบทั้งสามชนิดนี้ เมื่อนามากลัน่ แล้วจะให้
ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมในสั ดส่ วนที่แตกต่ างกัน
คาถาม?
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุขภาพของคนอย่ างไร
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร
ปัญหาพิษจากสารปรอทที่
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคน
นั้น ขึน้ อยู่กบั มันเข้ าสู่
ร่ างกายเราโดยวิธีใด (หายใจ
การบริโภค การสั มผัส และ
การฉีดเข้ าสู่ ร่างกาย) ใน
ปริมาณเท่ าใด เป็ นระยะเวลา
นานเท่ าใด และการ
ตอบสนองของร่ างกาย
บุคคลคนนั้นต่ อสารปรอท
(ขึน้ อยู่กบั อายุ และสุ ขภาพ
ของผู้ทไี่ ด้ รับสารปรอท นั้น)
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร (ต่ อ)
โดยธรรมชาติแล้ว ความ
เข้ มข้ นของปริมาณสาร
ปรอทในอากาศนั้นมักจะ
ต่า และไม่ มีผลโดยตรงต่ อ
ร่ างกายของคน แต่ ถ้ามัน
เข้ าไปปนเปื้ อนอยู่ในนา้
หรือผ่ านเข้ าสู่ กระบวนการ
ทางด้ านชีววิทยาแล้ว
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร (ต่ อ)
มันจะกลายเป็ นสารพิษที่
ปนเปื้ อนอยู่ในปลาและ
สั ตว์ ต่างๆ ทีก่ นิ ปลา ดังนั้น
คนจึงมีสิทธิที่จะรับสาร
ปรอทได้ จากการกินปลา
(สารพิษทีม่ ีอนั ตรายทีส่ ุ ด
ดังกล่าวจะอยู่ในรูปของ
methylmercury)
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร (ต่ อ)
การเกิดอันตราย
จากสารปรอทจึง
น่ าที่จะเกิดจากการ
กินมากกว่ า เพราะ
สารปรอทนั้นได้
เข้ ามาอยู่ในวงจร
ของห่ วงโซ่ อาหาร
ของคนแล้ ว
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร (ต่ อ)
รูปแบบทางเคมีของปรอท
แบ่ งออกเป็ น ธาตุ(โลหะ)
สารประกอบอนินทรีย์ และ
สารประกอบอินทรีย์
รูปแบบทีม่ ีผลต่ อสุ ขภาพ
ของคน คือ
Methymercury,
Elemental mercury(ธาตุ
ปรอท) และสารประกอบ
ปรอทที่เป็ นอนินทรีย์ และ
อินทรีย์
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร (ต่ อ)
ตามปกติ ถ้ าร่ างกายของเรารับสารปรอทเข้ าไปใน
จานวนไม่ มาก ระบบการกาจัดสารพิษที่เรามีจะ
สามารถกาจัดมันได้ ด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ
ดังนั้น ถ้ าได้ พยายามป้องกัน และปฏิบัตติ ามกฎ
ระเบียบ ตามทีท่ ที่ างานของท่ านได้ กาหนดไว้ อย่ าง
ครบถ้ วนบริบูรณ์ แล้ ว ปริมาณทีส่ ะสมอยู่ในร่ างกาย
คงจะไม่ ผลต่ อสุ ขภาพถึงขั้นรุนแรงแน่ นอน
ปัญหาสารปรอทจากการทางาน
จะมีผลต่ อสุ ขภาพของคนอย่ างไร (ต่ อ)
ข้ อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับสารปรอท กรุณาค้ น
ได้ ใน www.epa.gov/mercury ซึ่งเป็ น
แหล่งข้ อมูลของ U.S. Environmental
Protection Agency
คาถาม?
หากต้ องการจะฝึ กงานที่กรม
เชื้อเพลิงธรรมชาติ จะต้ องดาเนินการอย่ างไร
หากต้ องการจะฝึ กงานที่กรม
เชื้อเพลิงธรรมชาติ จะต้ องดาเนินการอย่ างไร
การพิจารณานักศึกษาฝึ กงานจะขึ้นอยูก่ บั แต่ละส่ วน
ราชการภายในของกรมที่จะพิจารณาว่าจะรับหรื อไม่
และถ้าจะรับจะรับจานวนเท่าใด โดยคานึงถึงสาขา
วิชาเอกให้ตรงกับภารกิจของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
เพื่อที่จะให้เจ้าหน้าที่สามารถอธิบายงาน ดูแล หรื อ
ชี้แนะแนวทางต่าง ๆ ต่อการทางานในอนาคตได้
อย่างทัว่ ถึงและเกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ผทู ้ ี่จะเข้ามา
ฝึ กงาน
ลาดับขั้นของการดาเนิน
การขอฝึ กงานจะมีคร่ าว ๆ ดังนี้
1. ติดต่อเบื้องต้นถึงลักษณะงานให้ตรงกับสาขาวิชาที่เรี ยน
กับส่ วนราชการภายในที่สนใจ
2. เมื่อได้ลกั ษณะงานที่ตรงตามความต้องการแล้ว ต้องให้
หัวหน้าส่ วนราชการ ณ ที่น้ ีหมายถึงอธิการบดีหรื อผูท้ ี่มี
อานาจสูงสุ ดในการส่ งเข้ามาฝึ กงาน ทาหนังสื อแสดงความ
จานงพร้อมรายละเอียด (จานวน วิชาเอก ระยะเวลา ฯลฯ)
เพื่อขอฝึ กงานส่ งมายัง อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 1010
อาคารชินวัตร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 25 ถนนวิภาวดีรังสิ ต จตุจกั ร
กรุ งเทพฯ 10900
ลาดับขั้นของการดาเนิน
การขอฝึ กงานจะมีคร่ าว ๆ ดังนี้ (ต่ อ)
3. งานบริ หารงานทัว่ ไป สานักงานเลขานุการกรม รับ
หนังสื อ
4. ฝ่ ายการเจ้าหน้าที่ สานักงานเลขานุการกรม จะแจ้งเวียน
หนังสื อนั้นแก่ส่วนราชการภายในทั้งหมด ในขั้นตอนนี้แต่
ละส่ วนราชการจะใช้เวลาพิจารณาไม่เกิน 1 สัปดาห์
5. ฝ่ ายการเจ้าหน้าที่ สานักงานเลขานุการกรม จะทา
หนังสื อแจ้งตอบต่อไป
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร
การนาปิ โตรเลียมมาใช้ ประโยชน์
จะต้ องนาทรัพยากรปิ โตรเลียมที่
ผ่ านกระบวนการแปรรู ปเพือ่ เพิม่
มูลค่ าแล้ ว ทั้งจากการกลัน่
นา้ มันดิบ การแยกก๊ าซธรรมชาติ
และการแยกก๊ าซธรรมชาติเหลว
จะได้ ออกมาเป็ นผลิตภัณฑ์
ปิ โตรเลียมหลากหลายประเภท
ตามคุณสมบัตทิ แี่ ตกต่ างกัน ซึ่ง
จะตอบสนองความต้ องการใช้ ที่
แตกต่ างกันด้ วย
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1. ผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากกระบวนการกลัน่ นา้ มันดิบ
1.1 ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas ; LPG)
ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว หรือก๊าซหุงต้ ม หรือแอลพีจี เป็ นผลิตภัณฑ์
ทีไ่ ด้ จากส่ วนบนสุ ดของหอกลัน่ ในกระบวนการกลัน่ นา้ มัน
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
หรือผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากการแยก
ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซปิ โตรเลียม
เหลวมีจุดเดือดตา่ มาก จะมี
สภาพเป็ นก๊ าซในอุณหภูมแิ ละ
ความดันบรรยากาศ ดังนั้น ใน
การเก็บรักษาก๊าซปิ โตรเลียม
เหลวจะต้ องเพิม่ ความดันหรือ
ลดอุณหภูมิ เพือ่ ให้ ก๊าซ
ปิ โตรเลียมเหลวเปลีย่ นสภาพ
จากก๊าซเป็ นของเหลว เพือ่ ความ
สะดวกและประหยัดในการเก็บ
รักษา
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
ก๊าซปิ โตรเลียมเหลวใช้ เป็ นเชื้อเพลิง
ได้ ดี และเวลาลุกไหม้ ให้ ความร้ อน
สู ง และมีเปลวสะอาดซึ่งโดยปกติจะ
ไม่ มสี ี และกลิน่ แต่ ผ้ ผู ลิตได้ ใส่ กลิน่
เพือ่ ให้ สังเกตได้ ง่ายในกรณีทเี่ กิดมี
ก๊าซรั่วอันอาจก่อให้ เกิดอันตรายได้
การใช้ ประโยชน์ ก็คอื การใช้ เป็ น
เชื้อเพลิงสาหรับหุงต้ ม เป็ น
เชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ และ
รถยนต์ รวมทั้งเตาเผาและเตาอบ
ต่ าง ๆ
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.2 นา้ มันเบนซิน (Gasolin)
น้ ามันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่ องยนต์เบนซิ น หรื อ
เรี ยกว่าน้ ามันเบนซิ น ได้จากการปรับแต่งคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลัน่ น้ ามันโดยตรง และ
จากการแยกก๊าซธรรมชาติเหลว น้ ามันเบนซิ นจะ
ผสมสารเคมีเพิ่มคุณภาพ เพื่อให้เหมาะกับการใช้งาน
เช่น เพิ่มค่าออกเทน สารเคมีสาหรับป้ องกันสนิมและ
การกัดกร่ อนในถังน้ ามันและท่อน้ ามัน เป็ นต้น
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.3 นา้ มันเชื้อเพลิง
เครื่องบินใบพัด
(Aviation Gasoline)
ใช้ สาหรับเครื่องบินใบพัด มี
คุณสมบัติคล้ายกับนา้ มัน
เบนซินในรถยนต์ แต่ ปรุง
แต่ งคุณภาพให้ มีค่าออกเท
นสู งขึน้ ให้ เหมาะสมกับ
เครื่องยนต์ ของเครื่องบินซึ่ง
ต้ องใช้ กาลังขับดันมาก
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.4 นา้ มัน
เชื้อเพลิง
เครื่องบินไอพ่น
(Jet Fuel) ใช้ เป็ น
เชื้อเพลิงไอพ่นของสาย
การบินพาณิชย์เป็ นส่ วน
ใหญ่ มีช่วงจุดเดือด
เช่ นเดียวกับนา้ มันก๊าด
แต่ ต้องสะอาดบริสุทธิ์มี
คุณสมบัตบิ างอย่ างดีกว่ า
นา้ มันก๊าด
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.5 น้ามันก๊ าด (Kerosene)
ประเทศไทยรู ้จกั ใช้น้ ามันก๊าด
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 แต่เดิมใช้
เพื่อจุดตะเกียงแต่ปัจจุบนั ใช้
ประโยชน์หลายประการ เช่น
เป็ นส่ วนผสมสาหรับยาฆ่าแมลง
สี ทาน้ ามันชักเงา ฯลฯ
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.6 นา้ มันดีเซล (Diesel Fuel)
เครื่ องยนต์ดีเซล เป็ นเครื่ องยนต์ที่มีพ้นื ฐานการทางาน
แตกต่างจากเครื่ องยนต์เบนซิน คือ การจุดระเบิดของ
เครื่ องยนต์ดีเซลใช้ความร้อนซึ่งเกิดขึ้นจากการอัดอากาศ
อย่างสูงในลูกสูบ มิใช่เป็ นการจุดระเบิดของหัวเทียนเช่น
ในเครื่ องยนต์ที่ใช้น้ ามันเบนซิน ปัจจุบนั เราใช้ประโยชน์
ได้หลากหลายมักเป็ นเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่มีความสาคัญ
ทางเศรษฐกิจ เช่น รถบรรทุก รถโดยสาร รถแทรกเตอร์
เป็ นต้น
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.7 นา้ มันเตา (Fuel Oil)
น้ ามันเตาเป็ นเชื้อเพลิง
สาหรับเตาต้มหม้อน้ า
และเตาเผาหรื อเตาหลอม
ที่ใช้ในโรงงาน
อุตสาหกรรม เครื่ อง
กาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่
เครื่ องยนต์เรื อเดินสมุทร
และอื่น ๆ
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
1.8 ยางมะตอย (Asphalt)
ยางมะตอยเป็ นผลิตภัณฑ์ส่วนที่หนัก
ที่สุดที่เหลือจากการกลัน่ น้ ามัน
เชื้อเพลิง และนายางมะตอยที่ผา่ น
กรรมวิธีปรับปรุ งคุณภาพจะได้ยางมะ
ตอยที่มีคุณสมบัติดีข้ ึน คือ มีความ
เฉื่ อยต่อสารเคมีและไอควันแทบทุก
ชนิด มีความต้านทานสภาพอากาศ
และแรงกระแทกกระเทือน มีความ
เหนียวและมีความยืดหยุน่ ตัวต่อ
อุณหภูมิระดับต่าง ๆ ดี
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2. ผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากกระบวนการแยกก๊ าซธรรมชาติ
2.1 ก๊าซมีเทน (C1) ใช้เป็ นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้ า
และให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม และหาก
นาไปอัดใส่ ถงั เรี ยกว่า ก๊าซธรรมชาติอดั สามารถใช้
เป็ นเชื้อเพลิงในรถยนต์ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ น
เชื้อเพลิง (NGV) ได้ นอกจากนี้ยงั เป็ นวัตถุดิบในการ
ผลิตปุ๋ ยเคมีได้ดว้ ย
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2.2 ก๊าซอีเทน (C2)
เป็ นวัตถุดิบใน
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี
ขั้นต้นเพื่อผลิตเอทิลีน
ซึ่งเป็ นสารตั้งต้นในการ
ผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใย
พลาสติกโพลีเอทิลีน
(PE) เพื่อใช้ผลิตเส้นใย
พลาสติก และผลิตภัณฑ์
พลาสติกชนิดต่าง ๆ
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2.3 ก๊ าซโพรเพน (C3)
ใช้ผลิตโพรพิลีน ซึ่งเป็ นสารตั้งต้นใน
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี เพื่อใช้ในการผลิตเม็ด
พลาสติกโพลีโพรพิลีน (PP) เช่น ยางในห้อง
เครื่ องยนต์ หม้อแบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพ
น้ ามันเครื่ องรวมทั้งใช้เป็ นเชื้อเพลิงในโรงงาน
อุตสาหกรรมได้อีกด้วย
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2.4 ก๊ าซบิวเทน (C4)
ใช้ เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิ
โตรเคมี และสามารถนามาผสม
กับโพรเพนอัดใส่ ถังเป็ นก๊าซ
ปิ โตรเลียม (ก๊าซหุงต้ ม) เพือ่
นามาใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในครัวเรือน
เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับยานยนต์ ใช้
ในการเชื่อมโลหะ และยังนาไปใช้
ในโรงงานอุตสาหกรรมบาง
ประเภทได้ ด้วย
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2.5 ก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum
Gas ; LPG) มีคุณสมบัตเิ หมือนกับข้ อ 1.1
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2.6 ก๊ าซโซลีนธรรมชาติ (NGL ; Naturl Gas
Liquid, C5+)
แม้วา่ จะมีการแยกคอนเดนเสทออกเมื่อผลิตขึ้น
มาถึงปากบ่อ บนแท่นผลิตแล้ว แต่กย็ งั มี
ไฮโดรคาร์บอนบางส่ วนหลุดไปกับ
ไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็ นก๊าซ เมื่อผ่าน
กระบวนการแยกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติแล้ว
ไฮโดรคาร์บอนเหลวนี้จะถูกแยกออก
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
และถูกเรี ยกว่า ก๊าซโซลีนธรรมชาติ หรื อ NGL
(Natural Gas Liquid) แล้วส่ งเข้าไปยังโรงกลัน่
น้ ามันเป็ นส่ วนผสมของผลิตภัณฑ์น้ ามัน
สาเร็ จรู ปได้เช่นเดียวกับคอนเดนเสท เป็ น
วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีระยะที่ 2
(ขั้นปลาย) และยังเป็ นตัวทาละลาย ซึ่งนาไปใช้
ในอุตสาหกรรมบางประเภทได้เช่นกัน
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
2.7 ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2)
เป็ นผลพลอยได้ จากกระบวนการแยกก๊าซ ซึ่งสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ ได้ หลากหลาย เช่ น เป็ นนา้ แข็งแห้ งสาหรับใช้ ใน
อุตสาหกรรมถนอมอาหาร เป็ นวัตถุดิบสาหรับในการทาฝนเทียม
นา้ ยาดังเพลิง สร้ างควันหรือหมอกจาลอง ผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่ม เป็ น
ต้ น
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
3. ผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากอุตสาหกรรมต่ อเนื่อง
3.1 น้ ามันหล่อลื่น (Lubricating Oils) หรื อบางครั้งเรี ยก
น้ ามันเครื่ อง มีคุณสมบัติช่วยหล่อลื่น ระบายความร้อน
รักษาความสะอาดเครื่ องยนต์ ป้ องกันสนิมและการกัด
กร่ อน ฯลฯ
ปิ โตรเลียมมีประโยชน์ อย่ างไร (ต่ อ)
3.2 จาระบี (Greases)
เป็ นผลิตภัณฑ์หล่อลื่นประเภทหนึ่งที่ใช้กบั การหล่อ
ลื่น ในที่ซ่ ึ งน้ ามันหล่อลื่นไม่สามารถจะทาหน้าที่โดย
สมบูรณ์ เช่น ตลับลูกปื น ทั้งยังสามารถป้ องกันมิให้ฝนุ่
เข้าไปอยูร่ ะหว่างผิวโลหะได้
คอนเดนเสท คืออะไร
คอนเดนเสท ก็คอื ก๊าซธรรมชาติเหลว เป็ น
ก๊ าซธรรมชาติทอี่ ยู่ในสถานะก๊ าซเมือ่ อยู่ใต้
ดิน แต่ เปลีย่ นสถานะเป็ นของเหลวเมือ่ อยู่
บนผิวดิน สาหรับวิธีการผลิตก็จะเหมือน
การแยกก๊าซก็จะเหมือนวิธีการแยกก๊าซ
ธรรมชาติทั่วไป
คาถาม?
Platform มีกแี่ บบ
Platform มีกแี่ บบ
Platform แบ่ งออกเป็ น 2 แบบ ตาม
รูปแบบของการติดตั้ง คือ Fixed
platform และ Processing &
floating storage offloading
platform (PFSO)
Platform มีกแี่ บบ
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
1. Jacket
เป็ นขาหยัง่ เหล็กที่มีลกั ษณะโครงสร้างเป็ น
3 มิติ (truss structure) โดยโครงสร้างเหล็ก
ส่ วนนี้จะจมอยูใ่ ต้ทะเลทั้งหมด และวางอยู่
บนพื้นทะเลที่เป็ นทรายหรื อโคลน เพื่อให้มี
การติดตรึ งไว้อย่างมัน่ คงกับพื้นทะเล จึงต้อง
ตอกเสาเข็ม (piles) ต่อจาก jacket
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
ให้ลึกลงไปจากพื้นทะเลอีก จนกว่าจะถึงชั้น
ดินดานหรื อชั้นดินแข็ง และมัน่ ใจว่า jacket
นั้น มีความแข็งแรงพอ ที่จะรับน้ าหนักของ
โครงสร้าง และอุปกรณ์ต่างๆ ที่วางไว้อยู่
ข้างบน คือ บน topside ทั้งหมดได้ โดยเฉลี่ย
แล้ว jacket มีน้ าหนัก 35-9,990 ตัน ถ้าจมอยู่
ใต้น้ าลึก 8-138 เมตร
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
1.1 Riser
เป็ นโครงสร้างเหล็กส่ วนบนจาก jacket ที่โผล่พน้ น้ า
ขึ้นมา เป็ นโครงสร้างที่อยูร่ ะหว่าง jacket กับ topside
โดยทัว่ ไป riser จะมีความสูงเฉลี่ย ประมาณ 10 เมตร
แต่อย่างไรก็ตาม ความสู งของ riser จะเป็ นเท่าใดนั้น
ก็ข้ ึนอยูก่ บั ความสู งของคลื่นในบริ เวณที่ platform
นั้น ตั้งอยู่ คือ riser ต้องสู งพ้นระดับคลื่นสู งสุ ดเท่าที่
เคยมีการวัดได้ในอดีต
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
1.2 ชนิดของ platform แบ่ งตามลักษณะโครงสร้ างของ
jacket (ตามจานวนขาของ jacket) คือ
1.2.1 Vent, single/small (3 cond.) jacket & riser
1.2.2 4 legs, conventional piles
1.2.3. 4 legs with skirt piles
1.2.4 more than 4 legs (6, 8,....), conventional piles
1.2.5 more than 4 legs (6, 8,....), with skirt piles เป็ นต้น
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
2. Topside
เป็ นส่ วนที่ติดตั้งอยูด่ า้ นบนของ jacket เหนือ riser
เพื่อใช้เป็ นพื้นที่สาหรับการวางอุปกรณ์ เครื่ องจักร
เครื่ องยนต์ เครื่ องกล ฯลฯ ที่จาเป็ น เพื่อใช้สาหรับ
การดาเนินงานต่างๆ ในการผลิตปิ โตรเลียม โดย
อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้น ที่นามาติดตั้งบน topside ก็
แยกประเภทตามลักษณะของการใช้งาน ทาให้
สามารถแบ่ง platform ออกเป็ นชนิดต่างๆ ตาม
ลักษณะการใช้งานได้ ดังนี้
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
2.1 Wellhead platform
(แท่ นหลุมผลิต หรือ
production platform)
ที่จะมีการติดตั้งอุปกรณ์
การผลิตต่างๆ เหนือหลุม
ผลิต ในพื้นที่ผลิตต่างๆ จะ
มี wellhead platform
จานวนเท่าใดนั้น ก็ข้ ึนอยู่
กับปริ มาณสารอง
ปิ โตรเลียม
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
2 Processing platform (แท่ น
กลางเพือ่ กระบวนการผลิตและ
แยกปิ โตรเลียม)
จะมีการติดตั้งอุปกรณ์แยก น้ า
คาร์บอนไดออกไซด์ สารปรอท สิ่ ง
ปนเปื้ อนที่ไม่ตอ้ งการ ฯลฯ ก่อนส่ ง
ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลว
และ/หรื อน้ ามันดิบ เข้าสู่ขบวนการส่ ง
ต่อ ต่อไป นอกจากนี้มีการติดตั้ง
อุปกรณ์ทางวิศวกรรมปิ โตรเลียมอื่นๆ
ที่จาเป็ นต่อการ process
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
3 Living quarter
platform (แท่ นทีพ่ กั
อาศัย)
ที่จะมีการติดตั้งที่พกั และ
สิ่ งอานวยความสะดวก
อื่นๆ ที่จาเป็ นแก่การพัก
อาศัย เพื่อให้ผปู ้ ฏิบตั ิงาน
สามารถอยูอ่ าศัยได้ขณะ
ทางานอยูใ่ นพื้นที่ผลิต
ปิ โตรเลียมนั้น ๆ
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
2.5 Flare platform
(แท่ นเผาก๊ าซทิง้ )
เมือ่ มีก๊าซทีไ่ ม่ ต้องการเกิดขึน้
ก็ต้องเผาทิง้ ไป โดยทัว่ ไป
platform แบบนี้ มักจะมีขนาด
เล็ก และมีเพียง 3 ขา เพราะ
jacket ไม่ ต้องรองรับนา้ หนัก
ทีอ่ ยู่บน topside มากนัก มีการ
ติดตั้งเพียงอุปกรณ์ เพือ่
รวบรวมก๊ าซ และอุปกรณ์ อนื่
ๆ เท่ าที่จาเป็ น เท่ านั้น
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
2.6 Compression
platform (แท่ นเพิม่
แรงดัน)
เมือ่ ก๊าซทีผ่ ลิตได้ มีแรงดันลดลง
ก็ต้องมีการเพิม่ แรงดัน โดยใช้
compressor เพือ่ ให้ ก๊าซทีผ่ ลิต
ได้ สามารถเดินทางเข้ าสู่ ท่อเพือ่
เดินทางต่ อไปจนถึงจุดรับก๊ าซ
เพือ่ การค้ าได้ จึงมีขบวนการเพิม่
แรงดันบน platform นี้ อุปกรณ์
ต่ างๆ ทีต่ ิดตั้งก็ต้องใช้ เพือ่ การนี้
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
Processing & floating
storage offloading
platform นั้น มีลกั ษณะเป็ น
ทั้งเรือที่ทาการผลิต
ปิ โตรเลียม และทาการกัก
เก็บก๊าซธรรมชาติเหลวและ
นา้ มันดิบได้ ในตัวเองแบบ
ลอยนา้ โดยเรือดังกล่าวจะ
จอดหยุดอยู่กบั ที่ ณ
ตาแหน่ งทีแ่ น่ นอน มีการ
ตอกหมุดติดตรึงไว้ อย่ างดี
กับพืน้ ทะเล
Platform มีกแี่ บบ (ต่ อ)
เพื่อไม่ให้เคลื่อนที่ไปมาได้ และมีความมัน่ คงสูง
เสมือนหนึ่งเป็ น fixed platform เพียงแต่ไม่มี
jacket ที่หยัง่ ลงไปเพื่อวาง platform ไว้บนพื้น
ทะเลเท่านั้น จึงมีความคล่องตัวสูง เพราะ
สามารถใช้เป็ นทั้ง wellhead, processing, storage
และ offloading ได้ใน platform เดียวกัน
คาถาม?
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรูป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ?
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ?
ประเทศไทยใช้ระบบ
การค้าเสรี จึงไม่สามารถ
แทรกแซงตลาดได้มาก
นัก ถึงแม้วา่ น้ ามันดิบจะ
สามารถผลิตได้ใน
ประเทศ แต่กรรมสิ ทธิ์ก็
เป็ นของผูร้ ับสัมปทาน
ซึ่งได้รับความเสี่ ยงใน
การลงทุนสารวจและ
ผลิต การขายจึงเป็ นเอก
สิ ทธิ์ ของผูร้ ับสัมปทาน
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ?
แต่ รัฐมีส่วนลดพิเศษให้
ในการขายนา้ มันให้ กบั
เอกชนภายในประเทศ
ดังนั้นนา้ มันชนิด
เดียวกันทีข่ าย
ภายในประเทศ เมื่อ
เปรียบเทียบกับส่ งขาย
ไปต่ างประเทศ จึงมี
ราคาต่ากว่ าเล็กน้ อย
นอกจากนั้น การอ้างอิง
ราคานา้ มันสาเร็จรูป
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคาน้ามัน
สาเร็จรูป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ?
ณ ประเทศสิ งคโปร์ เป็ น
หลัก เพราะเป็ นประเทศที่มี
ตลาดการส่ งออกนา้ มันที่
ใหญ่ ทสี่ ุ ดในภูมิภาคเอเชีย
และอยู่ใกล้ประเทศไทยมาก
ทีส่ ุ ด หากราคานา้ มันใน
ประเทศถูกกว่ าสิ งคโปร์ ผู้ค้า
นา้ มันในประเทศจะส่ งออก
นา้ มันไปขายทีสิงคโปร์ แทน
การขายในประเทศ
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ?
ซึ่งอาจทาให้ เกิดภาวะการขาดแคลนในประเทศได้ หากราคานา้ มัน
ในประเทศแพงกว่ า ผู้ค้านา้ มันก็จะซื้อนา้ มันจากสิ งคโปร์ แทนการ
ซื้อจากโรงกลัน่ ภายในประเทศ ซื่งจะทาให้ โรงกลัน่ นา้ มันขาดทุน
และอาจต้ องเลิกกิจการ
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
ราคานา้ มันสิ งคโปร์ เป็ น
ตัวเลขราคาทีผ่ ู้ค้านา้ มัน
จากประเทศต่ างๆ ใน
ภูมิภาคเอเชียเข้ าไปตก
ลงซื้อ-ขายผ่ านตลาด
กลางสิ งคโปร์ ไม่ ใช่
ราคาที่ประเทศสิ งคโปร์
หรือโรงกลัน่ ในสิ งคโปร์
ประกาศเพือ่ ซื้อขายเอง
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
ทั้งนี้ ตลาดซื้อ-ขายระหว่ างประเทศทีเ่ ป็ นแหล่ งใหญ่ มี
เพียง 3 แห่ ง คือ:
1. ตลาดนิวยอร์ก (NYMEX-New York Merchantile
Exchange)
2. ตลาดลอนดอน (IPE-International Petroleum
Exchange)
3. และตลาดสิ งคโปร์ (SIMEX-Singapore Monetary
Exchange)
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
สาหรับสาเหตุทที่ าให้ สิงคโปร์ เป็ นตลาดกลางซื้อ-ขายนา้ มัน
ของภูมิภาคเอเชียนั้น ประกอบด้ วย
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
1.สิ งคโปร์ มีกาลังการกลัน่ เหลือ
เพือ่ การส่ งออกมากทีส่ ุ ด
สิ งคโปร์ มีกาลังการกลัน่ 1.2-1.5
ล้านบาร์ เรลต่ อวัน สามารถ
ส่ งออกได้ ประมาณ 8 แสนถึง 1
ล้านบาร์ เรลต่ อวัน เมือ่ เทียบกับ
ประเทศไทยมีกาลังการกลัน่
ประมาณ 10.2 ล้านบาร์ เรลต่ อ
วัน แต่ เหลือส่ งออกประมาณ 1.7
แสนบาร์ เรลต่ อวัน
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
การกลัน่ ทีส่ ิ งคโปร์ เป็ นการกลัน่ เพือ่ การส่ งออกที่แท้ จริง ถือเป็ น
การกลัน่ เพือ่ การส่ งออก เนื่องจากโรงกลัน่ อืน่ ในเอเชีย แม้ จะมี
กาลังการกลัน่ มากกว่ าสิ งคโปร์ แต่ กเ็ ป็ นการกลัน่ เพือ่ บริโภคใน
ประเทศเป็ นหลัก
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคาน้ามัน
สาเร็จรูป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
เมื่อมีปริมาณเหลือจึงส่ งออก การทีโ่ รงกลัน่ ในสิ งคโปร์ กลัน่ เพือ่
การส่ งออกเป็ นหลัก ทาให้ ราคาจาหน่ ายของตลาดสิ งคโปร์
สะท้ อนราคาส่ งออกสากลทีแ่ ท้ จริง และสะท้ อนความสามารถใน
การจัดหาและสภาพความต้ องการนา้ มันสาเร็จรูปของภูมภิ าค
เอเชีย
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคาน้ามัน
สาเร็จรูป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
2.ทาเลที่ต้งั ของสิ งคโปร์
เป็ นเมืองท่ าทีส่ าคัญ สภาพ
ทางภูมิศาสตร์ ของ
ประเทศสิ งคโปร์ เอือ้ ต่ อ
การเป็ นจุดศูนย์ กลางการ
เดินเรือของเอเชีย เป็ นจุด
รับนา้ มันดิบจาก
ตะวันออกกลางและเป็ น
จุดกระจายนา้ มันสาเร็จรูป
ไปยังพืน้ ทีต่ ่ างๆ ในเอเชีย
ได้ โดยสะดวก
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
3.ระบบการจัดการและสิ่ งอานวยความสะดวกเพียบพร้ อม
สิ งคโปร์ มีนโยบายการบริหารประเทศ โดยมุ่งเน้ นทีจ่ ะจูงใจและ
อานวยความสะดวกให้ กบั การลงทุน และการทาธุรกิจระหว่ าง
ประเทศเช่ น
ระบบบริหารราชการที่มีประสิ ทธิภาพสามารถติดต่ อจัดตั้ง
หน่ วยงานหรือบริษัทเพือ่ ทาธุรกิจได้ สะดวกรวดเร็ว การมี
มาตรการจัดเก็บภาษีธุรกิจในอัตราตา่ เพือ่ จูงใจผู้ลงทุนสู ง เป็ นเหตุ
ให้ บริษัท
หรือตัวแทนจากประเทศในเอเชียสามารถเข้ ามาทาธุรกิจเจรจา
ติดต่ อซื้อ-ขายผ่ านตลาดสิ งคโปร์ ได้ อย่ างคล่องตัว ความเป็ นสากล
ในเชิงธุรกิจ และความพร้ อมในระบบการขนส่ งทางเรือ
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคาน้ามัน
สาเร็จรูป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
สาเหตุทตี่ ้ องใช้ ราคาสิ งคโปร์ เป็ นฐานคานวณ
1.สะท้อนราคาตลาดและอุปสงค์-อุปทานในภูมิภาคนี้อย่าง
แท้จริ ง เนื่องจากในตลาดกลางสิ งคโปร์แห่งนี้มีผซู ้ ้ื อ-ขาย
จานวนมากจากทุกประเทศไทยในเอเชีย
จึงไม่มีผซู้ ้ือ-ขายรายใดรายหนึ่งสามารถเข้าไปแทรกแซง
หรื อปั่นราคาได้ ราคาที่ตลาดสิ งคโปร์จึงเป็ นราคาที่สะท้อน
สภาพตลาดและสภาวะอุปสงค์อุปทานในภูมิภาคเอเชียและ
ของตลาดโลกอย่างแท้จริ ง
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
2.สะท้ อนต้ นทุนการนาเข้ าของไทยในระดับต่าสุ ด ตลาดสิ งคโปร์
เป็ นตลาดซื้อ-ขายระหว่ างประเทศและเป็ นตลาดส่ งออกที่ใหญ่
ทีส่ ุ ดในภูมิภาคเอเซีย ซึ่งใกล้ไทยมากทีส่ ุ ด ดังนั้น ต้ นทุนในการ
นาเข้ าจึงเป็ นต้ นทุนทีถ่ ูกทีส่ ุ ดทีโ่ รงกลัน่ ไทยต้ องแข่ งขันด้ วย
ขณะเดียวกัน สิ งคโปร์ มีระยะทางทีใ่ กล้ประเทศไทยมากทีส่ ุ ด เมื่อ
เทียบกับตลาดนา้ มันสากลอืน่ คือที่นิวยอร์ กและลอนดอน หาก
ประเทศไทยจะต้ องนาเข้ านา้ มัน การนาเข้ านา้ มันจากสิ งคโปร์ จะมี
ต้ นทุนต่าสุ ด ดังนั้นการกาหนดราคานา้ มันของไทยจาเป็ นต้ อง
พิจารณาจากระดับที่แข่ งขันได้
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
3.ทาให้ เกิดสมดุลในการผลิตและการจัดหาของประเทศ เนื่องจากประเทศ
ไทยมีนโยบายระบบการค้ านา้ มันเสรี สามารถนาเข้ า-ส่ งออกได้ อย่างเสรี
หากไม่ กาหนดราคาขึน้ -ลงไปตามตลาดสิ งคโปร์ จะทาให้ เกิดปัญหาไม่ สมดุล
ในการผลิตและการจัดหาของประเทศขึน้
กล่ าวคือ หากไทยกาหนดราคาของตนเองโดยรัฐเข้ าไปควบคุมราคาของโรง
กลัน่ (ไม่ ว่าจะด้ วยการกาหนดให้ ราคาคงที่ หรือใช้ ราคานา้ มันดิบบวกด้ วย
ค่ าใช้ จ่ายคงที่)
เมือ่ ใดทีร่ าคาทีก่ าหนดเองต่ากว่ าราคาตลาดสิ งคโปร์ จะทาให้ โรงกลัน่ นา
นา้ มันส่ งออกไปขายที่ตลาดสิ งคโปร์ เพราะจะได้ ราคาสู งกว่ า ซึ่งอาจทาให้
ปัญหานา้ มันขาดแคลนในประเทศได้
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
และในทางกลับกัน หากเมื่อใดราคาสิ งคโปร์ ลดลงจนต่ากว่ า
ราคาทีก่ าหนดเอง ผู้ค้านา้ มันในประเทศก็ไม่ อยากซื้อจาก
โรงกลัน่ เพราะนาเข้ ามาจากตลาดสิ งคโปร์ จะถูกกว่ า
ซึ่งทั้งสองกรณีจะทาให้ เกิดการนาเข้ า-ส่ งออกขึน้ โดยไม่
จาเป็ น ทาให้ ประเทศต้ องสู ญเสี ยเงินตราต่ างประเทศในการ
จ้ างเรือขนส่ งนา้ มันเนื่องจากประเทศไทยมีเรือบรรทุก
นา้ มันไม่ เพียงพอ
ทาไมต้ องอ้ างอิงราคานา้ มัน
สาเร็จรู ป ณ ประเทศสิ งคโปร์ ? (ต่ อ)
4.ทุกประเทศในภูมภิ าคเอเชียใช้ ราคาตลาดสิ งคโปร์ ตัวอ้ างอิง ทั้งในการเจรา
ซื้อ-ขาย ระหว่ างประเทศ และใช้ เป็ นฐานการคานวณต้ นทุนราคา
ภายในประเทศ
ส่ วนการทีร่ าคาขายปลีกนา้ มันของแต่ ละประเทศมีความแตกต่ างกันนั้น ขึน้ อยู่
กับระบบการจัดเก็บภาษีหรือการจ่ ายเงินอุดหนุนของแต่ ละประเทศ
สั มปทาน คือ การทีร่ ัฐอนุญาตให้ เอกชนจัดทาบริการสาธารณะหรือจัดทา
ประโยชน์ เกีย่ วกับทรัพยากรธรรมชาติ ภายในระยะเวลาและตามเงือ่ นไขที่
รัฐกาหนด ณ ทีน่ ี้ สั มปทานปิ โตรเลียมในประเทศไทย คือ
คาถาม?
ความแตกต่ างของสั มปทาน
แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต?
ความแตกต่ างของสั มปทาน แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต?
ความแตกต่ างของสั มปทาน
แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต? (ต่ อ)
ความแตกต่ างของสั มปทาน
แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต? (ต่ อ)
การให้สิทธิผกู ขาดแก่ผรู ้ ับสัมปทานเพียงผู ้
เดียว ในการประกอบกิจการปิ โตรเลียมใน
พื้นที่ที่ได้รับสัมปทาน โดย:
1) ให้ สิทธิสารวจและผลิตปิ โตรเลียมในบริเวณหนึ่ง
ภายในเวลาทีก่ าหนด
2) ปิ โตรเลียมทีพ่ บเป็ นของผู้รับสั มปทาน
ความแตกต่ างของสั มปทาน
แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต? (ต่ อ)
3) ผู้รับสั มปทานจะต้ องลงทุนและรับความเสี่ ยงทั้งหมด
และ
4) ผู้รับสั มปทานปิ โตรเลียมจะต้ องชาระผลประโยชน์ ให้
รัฐในรู ปของค่ าภาคหลวง ผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ
และภาษีเงินได้
ความแตกต่ างของสั มปทาน
แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต? (ต่ อ)
แหล่ งสารวจจะแบ่ งออกเป็ นแปลงต่ าง ๆ ทั้งจาก
บนบกและทะเล ซึ่งผู้สนใจจะต้ องเข้ ามายืน่ ขอ
สั มปทานเพือ่ เข้ ามาสารวจ โดยจะต้ องเป็ นไป
ตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.2514
ความแตกต่ างของสั มปทาน
แหล่ งสารวจ และพืน้ ที่ผลิต? (ต่ อ)
(เป็ นกฎหมายทีใ่ ช้ บังคับในการบริหาร จัดการ และกากับ
ดูแลการประกอบกิจการสารวจและผลิตปิ โตรเลียม) เมื่อได้
สิ ทธิ์ในแปลงสั มปทานนั้น ๆ แล้ ว จึงจะมีสิทธิ์สารวจได้
พืน้ ที่ผลิต คือ พืน้ ที่ที่พบว่ าแปลงสั มปทานนั้น ๆ มี
ศักยภาพในการดาเนินการนาปิ โตรเลียมมาใช้ ประโยชน์ ได้
คาถาม?
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม
ขั้นตอนการดาเนินกิจการสารวจและผลิตปิ โตรเลียม
ขั้นตอนที่ 1
การกาหนดแปลงสัมปทานและประกาศเชิญ
ชวน เจ้าหน้าที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ศึกษา
ข้อมูลพื้นที่ที่จะให้มีการสารวจปิ โตรเลียม
โดยจะกาหนดเขตแปลงสารวจ
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม(ต่ อ)
กาหนดค่าคงที่แสดงภาพธรณี วทิ ยาของ
แปลงสารวจ และกาหนดค่าลดหย่อนพิเศษ
เพื่อให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมตั ิ และ
กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติจะออกประกาศลงใน
ราชกิจจานุเบกษา
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม(ต่ อ)
เพื่อกาหนดเขตพื้นที่แปลงสารวจที่จะเปิ ดให้ยนื่
ขอสัมปทานทัว่ ประเทศหรื อเฉพาะบางพื้นที่
ขณะที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพลังงานจะออก
ประกาศเชิญชวนให้ยนื่ ขอสัมปทาน
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
ขั้นตอนที่ 2
การประกาศเชิญชวนและยืน่ ขอสัมปทาน
กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ จะจัดส่ งเอกสารการ
ประกาศเชิญชวนให้บริ ษทั ปิ โตรเลียมทัว่
โลก และให้ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องแก่บริ ษทั ที่
สนใจยืน่ คาขอ
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
เมื่อบริ ษทั ปิ โตรเลียมที่สนใจศึกษาข้อมูลของแปลง
สารวจที่จะยืน่ ขอและข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ก็ตอ้ ง
ยืน่ คาขอหลักฐานและเอกสารต่าง ๆ ตามที่กาหนดใน
ประกาศเชิญชวนภายในเวลาที่กาหนด
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
(เอกสารเชิญชวน ได้แก่ คาขอ รายละเอียดของ
พื้นที่แปลงสารวจ คุณสมบัติผยู้ นื่ ขอสัมปทาน
วิธีการยืน่ ขอ หลักเกณฑ์การพิจารณา ข้อสงวน
สิ ทธิ์อื่น ๆ) ทั้งนี้ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติจะ
จัดทา Data Pakage ของพื้นที่แปลงสารวจต่าง ๆ
ไว้ให้ศึกษาและจาหน่ายต่อไปด้วย
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
ขั้นตอนที่ 3 การพิจารณาคาขอและออกสั มปทาน
1) คณะกรรมการรับคาขอสัมปทาน เอกสารคาขอ
2) นาส่ งคณะอนุกรรมการพิจารณาคาขอสัมปทานโดย
มีเจ้าหน้าที่ดา้ นเทคนิคของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็ น
ผูช้ ้ ีแจงข้อมูล
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
3) คณะกรรมการปิ โตรเลียมจะพิจารณาผูท้ ี่เหมาะสมได้รับ
เลือกให้เป็ นผูร้ ับสัมปทานในแปลงสารวจที่ยนื่ ขอตามที่
คณะอนุกรรมการพิจารณาคาขอสัมปทานเสนอ
4) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงอุตสาหกรรมคัดเลือกผูท้ ี่
เหมาะสมได้รับเลือกให้เป็ นผูร้ ับสัมปทานตามที่
คณะกรรมการปิ โตรเลียมพิจารณาและนาเสนอให้
คณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมตั ิ และ
5) เมื่อได้รับการอนุมตั ิรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพลังงาน
ออกสัมปทานปิ โตรเลียมให้แก่บริ ษทั ที่ได้รับคัดเลือก
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
ขั้นตอนที่ 4 สารวจ
บริษัททีไ่ ด้ รับสั มปทานดาเนินการสารวจทางธรณีวทิ ยา ธรณีฟิสิ กส์ และเจาะสารวจ
ขั้นตอนที่ 5 พัฒนา
การพัฒนาแหล่ งผลิตปิ โตรเลียมจะต้ องคานึงถึงการอนุรักษ์ ทรัพยากรพลังงานและการใช้
ประโยชน์ อย่ างคุ้มค่ าทีส่ ุ ด การนาวิธีการ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย อยู่ในหลักการปฏิบตั ิงาน
ปิ โตรเลียมทีด่ ี มีความปลอดภัย
และการจัดการผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม โดยผู้สัมปทานจะต้ องส่ งรายละเอียดการ
ดาเนินงานให้ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติพจิ ารณา เมือ่ ออกแบบระบบการผลิต จะก่ อสร้ าง
หรือติดตั้งอุปกรณ์ การผลิต
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
และจะเปลีย่ นแปลงแก้ ไขเพิม่ เติมภายหลัง ในขั้นตอน
เหล่ านีจ้ ะต้ องถูกตรวจสอบโดยพนักงานเจ้ าหน้ าทีต่ าม
พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.2514
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
ขั้นตอนที่ 6 ผลิต ขาย และจาหน่ าย
โดยจะมีการกาหนดจุดซื้ อขาย มาตรวัด คานึงถึงการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ความปลอดภัยและ
สิ่ งแวดล้อม และราคาซื้ อขายต่อไป
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
องค์ กรของรัฐและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ อง
1. เจ้าหน้าที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กากับดูแลการ
ประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม
พ.ศ.2514
2. อธิ บดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ อนุมตั ิแผนการ
ดาเนินงานของผูร้ ับสัมปทาน กาหนดสถานที่ขาย
ปิ โตรเลียม ออกประกาศกรม
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
3. คณะอนุกรรมการคณะต่ าง ๆ พิจารณากลัน่ กรองคาขออนุญาต
ในเรื่องต่ าง ๆ ก่อนนาเสนอคณะกรรมการปิ โตรเลียม
4. คณะกรรมการปิ โตรเลียม ให้ คาปรึกษาแก่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงพลังงาน อนุญาตนาเข้ าบุคคล/อุปกรณ์ อนุญาตถือ
กรรมสิ ทธิ์ที่ดิน ให้ ความเห็นชอบราคาก๊าซ
5. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน อนุมัติพนื้ ทีผ่ ลิต ออก
กฎกระทรวง เพิกถอนสั มปทาน
6. คณะรัฐมนตรี อนุมัติให้ และโอนสั มปทาน รับผู้เข้ าร่ วม
ประกอบกิจการ ต่ อระยะเวลาสารวจและผลิต อนุมัติให้ เปลีย่ น
ปริมาณงาน กาหนดค่ าคงทีส่ ภาพทางธรณีวทิ ยาของแปลงสารวจ
ขั้นตอนการดาเนินกิจการ
สารวจและผลิตปิ โตรเลียม (ต่ อ)
กล่ าวโดยสรุปแล้ วกิจการปิ โตรเลียมตามพระราชบัญญัติ
ปิ โตรเลียม จะรวมถึงการสารวจ ผลิต เก็บรักษา ขนส่ ง ขาย
หรือจาหน่ าย โดยปิ โตรเลียมเป็ นของรัฐ
ผู้ใดสารวจหรือผลิตปิ โตรเลียมต้ องได้ รับสั มปทาน ซึ่งจะมี
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขในการขอสั มปทานกาหนด
โดยกฎกระทรวง และแบบสั มปทานกาหนดโดย
กฎกระทรวง (ฉบับที่ 17)
คาถาม?
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร?
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร?
การกักเก็บปิ โตรเลียม (petroleum
traps) ตามคาจากัดความของนัก
ธรณี วทิ ยาแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ:
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร? (ต่ อ)
1. Structural traps
เป็ นการกักเก็บที่เกิดขึ้นจากกการเกิดการ
เปลี่ยนแปลงของชั้นหิ นที่มีสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนอยูด่ ว้ ย ตัวอย่างของ
structural traps ได้แก่ fault trap และ
anticlines
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร? (ต่ อ)
1.1 Fault trap
เกิดจากชั้นหิ นต่างๆ ที่อยูท่ ี่ดา้ นต่างๆ ของ
รอยเลื่อนของหิ น ได้เกิดการเคลื่อนตัวไปอยู่
ในตาแหน่งที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่ของ
ปิ โตรเลียม ได้แก่ดา้ นที่มีช้ นั หิ นที่ไม่
สามารถให้ของไหลซึมผ่านไปได้
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร? (ต่ อ)
(impermeable layer) ที่อยูด่ า้ นหนึ่งของ fault
เกิดการเคลื่อนตัวไปอยูด่ า้ นที่อยูต่ รงข้ามกับชั้น
หิ นที่มีปิโตรเลียมอยู่ (petroleum bearing
formation) ทาให้การเคลื่อนที่ของปิ โตรเลียมได้
ถูกสกัดกั้นไว้โดย impermeable layer
1.1 Fault trap
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร? (ต่ อ)
1.2 Anticline
เป็ นโครงสร้างที่เกิดการโก่งตัวของชั้นหิ น
เป็ นรู ปโค้ง (arch) ปิ โตรเลียมได้เคลื่อนที่ข้ ึน
สู่ส่วนบนสุ ดของโครงสร้างนี้ โดยมีหิน
impermeable ที่สกัดกั้นไม่ให้ปิโตรเลียม
เคลื่อนที่ต่อไปได้ เกิดเป็ น petroleum trap
ต่อไป
1.2 Anticline
ปิ โตรเลียมมีลกั ษณะแหล่งกักเก็บอย่ างไร? (ต่ อ)
2. Stratigraphic traps
เป็ นการกักเก็บที่เป็ นผลจากการที่แหล่งกักเก็บ
(reservoir bed) ได้ถูกปิ ดกั้นโดยชั้นหิ นอื่นๆ
หรื อชั้นหิ นเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเรื่ องความ
พรุ น (porosity) หรื อความสามารถให้ของไหล
ซึมผ่านไปได้ (permeability) ใน reservoir bed
นั้นเอง
2. Stratigraphic traps
คาถาม?
โอเปก
องค์ กรร่ วมประเทศผู้ผลิตนา้ มัน
เพือ่ การส่ งออก
โอเปก
(องค์ กรร่ วมประเทศผู้ผลิตนา้ มันเพือ่ การส่ งออก)
OPEC (Organization of the Petroleum Exporting
Countries) ประวัติโดยย่ อของโอเปก
องค์กรร่ วมประเทศผูผ้ ลิตน้ ามันเพื่อการส่ งออกหรื อ
ชื่อย่อว่า ”โอเปก” นั้น เป็ นองค์กรร่ วมของรัฐบาล
ระหว่างประเทศที่มีความถาวร เริ่ มก่อตั้งขึ้นในการ
ประชุมที่กรุ งแบกแดด ประเทศอิรัก เมื่อวันที่10-14
กันยายน 2503 โดยมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่
โอเปก
(1) อิหร่ าน
(2) อิรัก
(3) คูเวต
(4) ซาอุดอิ าระเบีย และ
(5) เวเนซู เอล่ า ต่ อมา มีสมาชิกอีก 8 ประเทศ มา
เพิม่ เติม ได้ แก่ :
โอเปก
(1) ประเทศ กาต้ า (2504)
(2) อินโดนีเซีย (2505)
(3) ลิเบีย (2505)
(4) สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ (2510)
(5) แอลจีเรีย (2512)
(6) ไนจีเรีย (2514)
(7) เอกวาดอร์ (2516-2535)
(8) กาบอง (2518-2537) ในช่ วง 5 ปี แรก โอเปกมีสานักงานใหญ่ ต้งั อยู่ที่
นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ต่ อมา เมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2508 จึงย้ายที่
ทาการไปอยู่ทกี่ รุ งเวียนนา ประเทศออสเตรีย
โอเปก
จุดประสงค์ ในการตั้งโอเปกขึน้ มานั้น เพือ่ เป็ นตัวกลาง
ประสานงานด้ านนโยบายนา้ มันระหว่ างประเทศผู้ผลิตนา้ มัน ใน
การรักษาระดับราคาให้ มีความเป็ นธรรม และสร้ างความมั่นคง
ให้ แก่ประเทศผู้ผลิตปิ โตรเลียม
ก่อให้ เกิดการผลิตอย่ างมีประสิ ทธิภาพ สร้ างเศรษฐกิจ และรักษา
ระดับความสม่าเสมอในการผลิตปิ โตรเลียม เพือ่ ให้ เพียงพอในการ
ป้อนเข้ าสู่ ตลาดโลก โดยผู้ผลิตจะได้ รับผลตอบแทนทีเ่ ป็ นธรรม ใน
การได้ รับการคืนทุนทีไ่ ด้ ลงไปในอุตสาหกรรมการผลิตปิ โตรเลียม
โอเปก
ยุค 1960S (2503-2512)
โอเปกที่ก่อตั้งขึ้นเป็ นครั้งแรกโดยรวมสมาชิกได้ 5
ประเทศผูผ้ ลิตน้ ามัน ที่เป็ นประเทศกาลังพัฒนา เพื่อแสดง
ตนในการประกาศตัวว่าประเทศสมาชิกเหล่านี้ ว่ามี
ความชอบธรรมตามกฎหมายในการก้าวเข้าสู่ ตลาดการค้า
น้ ามันโลก ที่เคยเป็ นของบริ ษทั น้ ามันยักษ์ใหญ่ของโลก ใน
นามของ “Seven Sisters”
โอเปก
***** หมายเหตุ จากผู้แปล Seven Sisters คือ บริษัท
นา้ มันยักษ์ ใหญ่ ทที่ รงอิทธิพลของโลก ได้ แก่
(1) Standard Oil of New Jersey, ปั จจุบนั นี้ คือ
ExxonMobil
(2) Royal Dutch Shell Anglo-Dutch
(3) British Anglo-Persian Oil Company
โอเปก
ต่ อมาเป็ น British Petroleum ต่ อมาเมือ่ BPAmoco
ทีเ่ กิดควบรวมกับ Amoco (ซึ่งเดิม คือ Standard Oil
of Indiana) ปัจจุบันนี้ คือ BP
(4) Standard Oil of Newyork ต่อมาเป็ น Mobil เมื่อ
ควบรวมกับ Exxon ปัจจุบนั คือ ExxonMobil
(5) Texaco ที่ควบรวมกับ Chevron ปั จจุบนั นี้ คือ:
ChevronTexaco
โอเปก
(6) Standard Oil of California (Socal) ที่กลายเป็ น
ของ Chevron ปั จจุบนั นี้ คือ ChevronTexaco
(7) Gulf Oil ที่หุน้ ส่ วนใหญ่แล้วเป็ นของ Chevron ที่
ปั จจุบนั นี้ คือ ChevronTexaco โดยเครื อข่ายสถานี
น้ ามันในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือของสหรัฐอเมริ กา
ใช้ชื่อว่า ChevronTexaco *****
โอเปก
ดังนั้น ปัจจุบันนี้ บริษทั นา้ มันทีย่ งั เหลือรอดอยู่ใน
วงการ คือ
(1) ExxonMobil
(2) ChevronTexaco
(3) Shell และ
(4) BP เท่านั้น
โอเปก
กิจกรรมของโอเปกจะเป็ นไปตามปกติ คือ เมื่อมีการ
ก่อตั้งขึ้นมาแล้ว ก็ได้กาหนดให้มีสานักงาน
เลขาธิ การขององค์กร โดยเริ่ มงานที่นครเจนีวาก่อน
จะย้ายไปยังกรุ งเวียนนาในเวลาต่อมาในปี 2508
ตลอดระยะเวลาดังกล่าว ได้มีการประชุมตกลงกัน
ระหว่างกลุ่ม และเจรจาต่อรองกับบริ ษทั น้ ามันต่างๆ
โดยมีประเทศสมาชิกจากเดิม 5 ประเทศ ในตอน
ก่อตั้ง แล้วเพิ่มเป็ น 10 ประเทศในทศวรรษนี้เอง
โอเปก
ยุค 1970S (2513-2522)
โอเปกเริ่มมีชื่อเสี ยงจนเป็ นทีร่ ้ ู จักอย่ างกว้ างขวางในทศวรรษนีเ้ อง โดย
ประเทศสมาชิกได้ เข้ าไปควบคุมอุตสาหกรรมการผลิตปิ โตรเลียมในประเทศ
ของตน และร่ วมกันประกาศราคานา้ มันดิบในตลาดโลก
ในระหว่ างนีไ้ ด้ เกิดวิกฤตราคานา้ มันโลก 2 ครั้ง มีการหยุดการขนส่ งนา้ มัน
จากประเทศในกลุ่มอาหรับในปี 2516 และเกิดการปฏิวตั ิในประเทศอิหร่ าน
ในปี 2522 ทั้งสองกรณีนี้
ทาให้ เกิดการขาดแคลนนา้ มัน ราคานา้ มันพุ่งสู งขึน้ อย่ างมาก จึงมีการ
ประชุ มสุ ดยอดผู้นาของโอเปกขึน้ เมือ่ เดือนมีนาคม 2518 นอกจากนีโ้ อเปก
ได้ มีมติรับประเทศไนจีเรียเข้ าเป็ นสมาชิกลาดับที่ 11 ในปี 2514
โอเปก
ยุค 1980S (2523-2532)
ราคานา้ มันพุ่งขึน้ สู งลิบลิว่ ในต้ นทศวรรษนี้ ก่ อนทีจ่ ะเริ่มลดราคาลงอย่ าง
ต่ อเนื่องในเวลาต่ อมา จนเกิดพังพาบลงไปในทีส่ ุ ดวิกฤตราคานา้ มันโลกครั้ง
ที่ 3 ในปี 2529 ราคานา้ มันได้ ดงิ่ ลงอย่ างต่ อเนื่องเรื่อย ๆ
จนถึงปี ท้ าย ๆ ของทศวรรษนี้ โดยไม่ เหลือร่ องรอยของอดีตแห่ งความ
รุ่ งโรจน์ เมือ่ ต้ นทศวรรษนีเ้ ลย ซึ่งเป็ นการเตือนว่ าในการเติบโตของความ
ต้ องการ ต้ องมีการเชื่อมประสานระหว่ างผู้ผลิตทั้งหลาย
ถ้ าต้ องการให้ ตลาดมีความยัง่ ยืนได้ ในอนาคต ราคาก็ต้องมีความเป็ นธรรม
นอกจากนีป้ ระเด็นเรื่องสิ่ งแวดล้ อมก็ได้ เริ่มเข้ ามามีบทบาท โดยถูกจัดให้ อยู่
เป็ นวาระการประชุ มในเวทีระดับโลก
โอเปก
ยุค 1990S (2533-2542)
วิกฤตราคานา้ มันโลกครั้งที่ 4 เริ่มอีกในต้ นศตวรรษนี้ จากการเกิดการสู้ รบใน
ตะวันออกกลาง เมือ่ ราคาเกิดการพุ่งทะยานขึน้ อย่ างแรงทันที จากการกังวล
ของตลาดว่ าการผลิตจากกลุ่มโอเปกเพิม่ ขึน้ ได้ ไม่ มาก
ต่ อมาราคาจึงค่ อนข้ างคงที่จนถึงปี 2543 เมือ่ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขนึ้ ได้ เกิดการรวมตัวกันของโอเปกและประเทศผู้นา
การผลิตปิ โตรเลียมนอกกลุ่มโอเปกเพือ่ เข้ ามาเยียวยาปัญหานี้
จนสิ้นทศวรรษนีไ้ ด้ เกิดกระแสเร่ งด่ วนของโครงการควบรวมกิจการของ
บริษัทนา้ มันยักษ์ ใหญ่ ท้งั หลายเข้ าด้ วยกัน ก่อให้ เกิดความก้าวหน้ าทาง
เทคโนโลยีของอุตสาหกรรมอย่ างยิง่ ใหญ่ ส่ วนใหญ่ แล้ วในช่ วงทศวรรษนี้
บรรยากาศของการเจรจาต่ อรองระหว่ างนานาชาติดาเนินไปท่ ามกลางความ
เปลีย่ นแปลงของความต้ องการใช้ นา้ มันในอนาคต
โอเปก
การบริหารองค์ กรของโอเปก
สมาชิกโอเปกให้ ความร่ วมมือกันในการกาหนดนโยบายการผลิตนา้ มัน เพือ่ ช่ วยให้ เกิดความ
มัน่ คงในตลาดนา้ มัน
และช่ วยให้ ประเทศผู้ผลิตนา้ มันได้ รับการคืนทุนให้ คุ้มกับทีไ่ ด้ ลงทุน นอกจากนีน้ โยบายนีย้ งั
ได้ กาหนดขึน้ เพือ่ สร้ างความมัน่ ใจให้ แก่ ผ้ ูบริโภคว่ าจะได้ รับนา้ มันตามความต้ องการ
อย่ างต่ อเนื่อง และยัง่ ยืน
องค์ กรด้ านพลังงานและไฮโดรคาร์ บอนจะจัดให้ มกี ารประชุ ม ปี ละ 2 ครั้ง ในการทบทวน
บทบาท และสถานะในตลาดนา้ มันโลก รวมทั้งคาดการณ์ อนาคต เพือ่ จะได้ ตกลงร่ วมกัน
ในการแสดงบทบาทอย่ างเหมาะสม ในการสร้ างความมัน่ คงให้ แก่ ตลาดนา้ มัน
ประเทศสมาชิกยังมีการจัดการประชุ มอืน่ ๆ ตามระดับความสนใจ ได้ แก่ การประชุ มของ
ผู้เชี่ยวชาญด้ านปิ โตรเลียมและด้ านเศรษฐศาสตร์ การประชุ มของผู้แทนระหว่ างประเทศ
รวมทั้งงานเฉพาะกิจอืน่ ๆ เช่ น การประชุ มของคณะกรรมการด้ านสิ่ งแวดล้ อม เป็ นต้ น
โอเปก
การตกลงใจเพือ่ หาจุดเหมาะสมของการผลิตนา้ มันเพือ่ ให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของ
ตลาดนั้นจะเกิดขึน้ ในการประชุ มของโอเปก รายละเอียดและผลของการประชุ มจะมี
แถลงการณ์ ออกมาทุกครั้ง
สานักเลขาธิการโอเปกเป็ นองค์ กรทีม่ สี ถานะถาวรในการร่ วมงานกันของรัฐบาลประเทศต่ าง
ๆ สานักเลขาธิการทีม่ ฐี านการทางานทีก่ รุ งเวียนนา ตั้งแต่ ปี 2508 นั้น ได้ ดาเนินงานด้ าน
การวิจัย และงานด้ านบุคคล ของประเทศสมาชิก รวมทั้งการเผยแพร่ ข้อมูลและข่ าวสาร
ต่ างออกไปทัว่ โลก
ภาษาราชการทีใ่ ช้ คือ ภาษาอังกฤษ
แปลและเรียบเรียงจาก http://www.opec.org/aboutus/functions/function.htm
โดย วลัย ตะเวทิพงศ์
คาถาม?
ถ่ านหินแต่ ละชนิดใช้ เวลากาเนิดกีป่ ี ?
แหล่ งถ่ านหินในประเทศไทย
ถ่ านหินแต่ ละชนิดใช้ เวลากาเนิดกีป่ ี ?
ก่ อนอืน่ ต้ องขอสร้ างความเข้ าใจก่ อนว่ า กระบวนการ
เกิดถ่ านหินนั้น ต้ องใช้ เวลาทางธรณีวทิ ยา (Geologic
time scale) มาบรรยายเรื่องดังกล่ าว
ข้ อมูล จาก www.answers.com/topic/coal-1 นั้น
พอจะสรุปได้ ดังนี้
ถ่ านหินแต่ ละชนิดใช้ เวลากาเนิดกีป่ ี ?(ต่ อ)
1. ช่ วงเวลาทีเ่ กิดการทับถมของพืชต้ นกาเนิดถ่ านหิน ทีค่ รอบคลุมพืน้ ทีส่ ่ วนใหญ่ ในโลกนี้
จะเกิดอยู่ในชั้นหินยุคคาร์ บอนนิเฟอรัส (Carboniferous era) คือ ระหว่ างเวลา 280-345
ล้ านปี ก่ อน ได้ แก่ ถ่ านหินทีพ่ บในประเทศต่ างๆ ในทวีปยุโรป เป็ นต้ น
และอายุทางธรณีวทิ ยาดังกล่ าว สามารถเทียบเคียงได้ กบั หินชุ ดเพนซิลเวเนียน
(Pennsylvanian age) ในทวีปอเมริกาเหนือ คือ ระหว่ างเวลา 286-320 ล้ านปี ก่ อน
2. ส่ วนในทวีปออสเตรเลียนั้น ถ่ านหินจะเกิดในชั้นหินยุคเพอเมียน (Permian era) คือ
ระหว่ างเวลา 245-286 ล้ านปี ก่ อน
3. สาหรับในประเทศนิวซีแลนด์ ถ่ านหิน จะเกิดในชั้นหินปลายยุคครีเตเซียส และต้ นยุค
เทอร์ เชียรี (Late Cretaceous and Early Tertiary) คือ ระหว่ างเวลา 66-57 ล้ านปี ก่ อน
ประเภทของถ่ านหิน
ถ่ านหินแต่ ละชนิดใช้ เวลากาเนิดกีป่ ี ?(ต่ อ)
4. ในขณะที่ แหล่ งถ่ านหินในประเทศไทยทีม่ กี ารสารวจพบ และมีการทาเหมืองถ่ านหิน
ลิกไนต์ เชิงพาณิชย์ แล้ วนั้น ส่ วนใหญ่ จะเป็ นชั้นหินยุคเทอร์ เชียรี (Tertiary era) คือ
ระหว่ างเวลา 66-23 ล้ านปี ก่ อน จนถึงอายุอ่อนกว่ านี้ เป็ นต้ น
***** หมายเหตุ ต่ อไปนี้ สรุปโดย ผู้เขียน (วลัย) เท่ านั้น ***** คือ :
จากข้ อมูลข้ างต้ น จะเห็นได้ ว่า ในการทีจ่ ะแยกว่ า ถ่ านพืทต้ องใช้ เวลานานเท่ าไรจึงจะ
กลายเป็ นลิกไนต์ ---ซับบิทูมนิ ัส---บิทูมนิ ัส---แอนทราไซต์ ฯลฯ นั้น
คงจะไม่ สามารถกาหนดเวลาใน scale ธรรมดา/ปกติ ได้ เลย เพราะเป็ นการเกิดทีเ่ กิดจาก
การเปลีย่ นแปลง โดยกระบวนการทางธรณีวทิ ยา (Geological processs) เป็ นเวลานาน
นับล้ าน ๆ ปี ขึน้ ไป
จากซากพืชทีล่ ้ มตายทับถมกันอยู่ในชั้นหินตะกอนต่ างๆ ต่ อมาเมือ่ เกิดมีการเปลีย่ นแปลง
สภาพภูมปิ ระเทศ และภูมอิ ากาศของโลก ในเวลาหลายร้ อยล้ านปี ก่ อน ทรากพืชเหล่ านั้น
จึงต้ องตกอยู่ภายใต้ ความร้ อน และความกดดัน (ความลึกจากผิวโลก และนา้ หนักของชั้น
หินตะกอนทีท่ บั ถมอยู่ข้างบนชั้นทรากพืช) ต่ างๆ
ถ่ านหินแต่ ละชนิดใช้ เวลากาเนิดกีป่ ี ?(ต่ อ)
ภายใต้ สภาพแวดล้ อมทีป่ ราศจากออกซิเจน ดังกล่ าว ทั้งหมดข้ างต้ น จึงทาให้ ซากพืชเหล่ านั้น
เกิดการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัติท้งั ทางเคมี และฟิ สิ กส์ กลายเป็ นถ่ านหินชั้นคุณภาพต่ างๆ
ซากพืชทีถ่ ูกความร้ อน และความกดดันน้ อย ก็เกิดการเปลีย่ นแปลงน้ อย กลายเป็ นถ่ าน
ลิกไนต์ ส่ วนทีถ่ ูกผลกระทบมากก็กลายเป็ นถ่ านบิทูมนิ ัส ต่ อไป (คือ ความเป็ นพืช/ไม้
ลดลงจนกลายเป็ นคาร์ บอนล้ วนๆ)
กระบวนการทางธรณีวทิ ยานี้ จึงเป็ นการเปลีย่ นแปลงซากพืชทีเ่ ป็ นสารอินทรีย์ ไปเป็ นการ
สะสมตัวของสารคาร์ บอนเนเซียส (Carbonaceous depositsม, คาร์ บอน) กลายเป็ นถ่ าน
หินชั้นคุณภาพต่ างๆ ต่ อไป
ดังนั้น โอกาสทีซ่ ากพืชทีท่ บั ถมในแอ่ งตะกอนต่ างๆ จะเกิดการเปลีย่ นแปลงไปเป็ นถ่ านหินชั้น
คุณภาพต่ างๆ จึงขึน้ อยู่กบั เวลา และความลึกของแอ่ งสะสมตัว เป็ นเครื่องกาหนดหลัก
ข้ อมูล เรียบเรียง และความคิดเห็นจาก คุณวลัย ตะเวทิพงศ์
ถ่ านหินแต่ ละชนิดใช้ เวลากาเนิดกีป่ ี ?(ต่ อ)
ขอขอบคุณ
ทีม่ า : DMF in touch ฉบับที่ 100
http://dmf.go.th/intranet/in_touch/index.html
คาถาม?
ขอได้ รับความขอบคุณ
ต่ อคณะผู้จดั ฝึ กอบรม
Download