Uploaded by Boonyong Chira

10.นายกันตพงษ์ แก้วกมล

advertisement
ระเบียบวาระการประชุม
คณะทางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 3/2564
วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 13.30 น.
ณ ห้องประชุมศูนย์ปฏิบตั ิการ (Operation Room) ชั้น 2 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร
ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Application: Zoom Meeting
***************************
ระเบียบวาระที่ 1
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ 2
เรื่องรับรองรายงานการประชุมคณะทางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์
ครั้งที่ 2/2564
ระเบียบวาระที่ 3
เรื่องสืบเนื่อง
3.1 รายงานผลการเข้าร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน
ครั้งที่ 5/2564 (ฝ่ายเลขานุการ)
3.2 ความก้าวหน้าการจัดตั้งสภาเกษตรอินทรีย์ พีจีเอส แห่งประเทศไทย
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
3.3 ความก้าวหน้าการจัดตั้งสถาบันเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3.4 ความก้าวหน้าการรับรองเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ป่าไม้ และอุทยานแห่งชาติ
ผู้แทนกรมป่าไม้/กรมอุทยาน
3.5 การทาเกษตรอินทรีย์ให้เกิดความแม่นยาสูง
3.3.1 เทคโนโลยีโรงคัดบรรจุ
3.3.2 เทคโนโลยีการผลิต
ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตผักอินทรีย์แปลงใหญ่ อ.วังน้าเขียว
3.3.3 เทคโนโลยีการให้น้าแบบอัจฉริยะเพื่อการผลิตพืชผักอินทรีย์มูลค่าสูง
รศ.ดร.ดุสิต อธินุวฒ
ั น์ หัวหน้าทีมงานเฉพาะกิจ
ระเบียบวาระที่ 4
เรื่องเพื่อพิจารณา
4.1 ข้อกาหนดการใช้และการควบคุมสารเคมีด้านการเกษตร
ผู้แทนกรมวิชาการเกษตร
4.2 รูปแบบการส่งเสริมในลักษณะ Protocol to Platform ต้นแบบ PGS
นายสมชัย วิสารทพงศ์
**********************************************************
แบบตอบรับเข้าร่วมประชุมคณะทางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 3/2564
วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน 2564 เวลา 13.30 น.
ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Application: Zoom Meeting
************************************
1. หน่วยงาน................................................................................................................................................................
ชื่อ – นามสกุล (นาย, นาง, น.ส.)…………………………………………………………….......................................................
เป็นผู้แทนหน่วยงานตามคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์
ตาแหน่ง....................................................................................................................................................................
โทรศัพท์ ………………..…………………………………............โทรสาร…………….…………………….…………….........................
มือถือ ……………………....…........................................…E-mail: …………………....................….….…………………..………
 สามารถเข้าร่วมการประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าวได้
 ไม่สามารถเข้าร่วมการประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าวได้ แต่ขอส่งผู้แทน ได้แก่
ชื่อ – นามสกุล (นาย, นาง, น.ส.)……………………………………………………………................................................
ตาแหน่ง.............................................................................................................................................................
โทรศัพท์ ………………..…………………………………............โทรสาร…………….…………………….……………..................
มือถือ ……………………....…........................................…E-mail: …………………....................….….…………………....
2. ผู้ได้รับมอบหมายให้เข้าร่วมประชุม จานวน..................คน ได้แก่
1. ชื่อ – นามสกุล (นาย, นาง, น.ส.)……………………………………………………………............................................
ตาแหน่ง.......................................................................................................................................................
โทรศัพท์ ………………..…………………………………............โทรสาร…………….…………………….……………............
มือถือ ……………………....…........................................…E-mail: …………………....................….….………………
2. ชื่อ – นามสกุล (นาย, นาง, น.ส.)……………………………………………………………............................................
ตาแหน่ง.......................................................................................................................................................
โทรศัพท์ ………………..…………………………………............โทรสาร…………….…………………….……………............
มือถือ ……………………....…........................................…E-mail: …………………....................….….………………
ลงชื่อ.........................................................................................
(......................................................................................)
ตาแหน่ง....................................................................................
หมายเหตุ กรุณาตอบกลับภายในวันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน 2564 เวลา 10.00 น.
ฝ่ายเลขานุการคณะทางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ กรมส่งเสริมการเกษตร
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ organicgroup2563@gmail.com หรือไลน์กลุม่ คณะทางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์
รายงานการประชุมคณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย ครั้งที่ 2/2564
วันพฤหัสบดีที่ ๙ กันยายน 2564 เวลา 13.30 น.
ณ หองประชุม 4/1 ชั้น 4 อาคาร 1 กรมสงเสริมการเกษตร
**********************************
ผูมาประชุม
1. นางพรพิมล ยองสาร
นักวิชาการเกษตรชํานาญการ
กรมสงเสริมการเกษตร
คณะทํางาน
และผูชวยเลขานุการ
ผูรวมประชุมผานระบบ ZOOM Cloud Meetings
1. นางจินตนา อินทรมงคล
2. นายอรรถ เหมวิจิตรพันธ
3. นายปริญญา พรศิริชัยวัฒนา
4. ผูชว ยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (นายวิชัย ไตรสุรัตน)
5. นางสาวอดิศัย เรืองจิระชูพร
ผูแทนกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
6. นายกุลพัชร ภูมิใจอวด
ผูอํานวยการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน
ผูแทนสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องคการมหาชน)
7. นางศิริพร ฤทธิสนธิ์
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
ผูแทนกรมการพัฒนาชุมชน
8. นายพัฒนพงษ สมิติตพัฒน
ผูอํานวยการสํานักโครงการพระราชดําริและกิจการพิเศษ
ผูแทนกรมปาไม
9. นายวีระยุทธ วรรณเลิศสกุล
ผูอํานวยการสวนจัดการที่ดินและชุมชนในพื้นที่ปาอนุรักษ
ผูแทนกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
10. นางสุคนธ ทวมมา
ผูเชี่ยวชาญดานมาตรฐานการรับรองขาว
ผูแทนกรมการขาว
11. นายเกียรติชาย วชิรมงคลพงษ
วิศวกรชลประทานชํานาญการพิเศษ
ผูแทนกรมชลประทาน
12. นางสาวอัมพุชนี นวลแสง
นักวิชาการประมงชํานาญการพิเศษ
ผูแทนกรมประมง
ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษา
ประธานคณะทํางาน
รองประธานคณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
~2~
13. นายกฤติพิพัฒน รัตนนาวินกุล
ผูเชี่ยวชาญดานสงเสริมและพัฒนาสัตวปก
ผูแทนกรมปศุสัตว
14. นางสาวรษิกา สีวิลัย
นักวิชาการเกษตรชํานาญการ
ผูแทนกรมวิชาการเกษตร
15. นายเกรียงไกร นาคเอี่ยม
นักวิชาการสหกรณชํานาญการพิเศษ
ผูแทนกรมสงเสริมสหกรณ
16. นายวิวรรธน สงประเสริฐ
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี
ผูแทนสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
17. นายชาญชัย แพทอง
ผูอ ํานวยการสวนนโยบายและแผนพัฒนาเกษตรกรและองคกรเกษตรกร
ผูแทนสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
18. นางพิรมล เจริญเผา
19. นายกันตพงษ แกวกมล
20. นายพิทักษ สุภนันทการ
21. นายวิชล มนัสเอื้อศิริ
22. นายสมชัย วิสารทพงศ
23. นายสิริกร ลิ้มสุวรรณ
24. นายอุดม หงสชาติกุล
25. ผูชว ยศาสตราจารยดุสิต อธินุวัฒน
26. นางลักษมี เมตตปราณี
นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ
กรมพัฒนาที่ดิน
27. นายรุจ เกษตรสุวรรณ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน
สํานักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทํางาน
และผูชวยเลขานุการ
คณะทํางาน
และผูชวยเลขานุการ
ผูไมมาประชุม
1. นายประพัฒน ปญญาชาติรักษ
2. ผูแทนสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ
3. นางวัลลภา แวน วิลเลี่ยนสวารด
4. นางสัณหจุฑา จิราธิวัฒน
5. ดร.ชมชวน บุญระหงษ
6. นายพิเชษฐ โตนิติวงศ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
~3~
7. นายวิทยา จันทรสม
8. นางปาลลิน พวงมี
ผูอํานวยการกองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร
กรมสงเสริมการเกษตร
9. นางสุภานัน รัศมีลิ่มทอง
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
กองประสานงานโครงการพระราชดําริ
สํานักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
ติดภารกิจ
และผูเขารวมประชุม จํานวน 22 คน รวมทั้งสิ้น 59 คน
1. นางสาวซามีรอ กามะ
ผูอ ํานวยการกองนโยบายและแผน
สถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องคการมหาชน)
2. นางสาวนิภา ทองกอน
ผูอํานวยการสํานักเสริมสรางความเขมแข็งชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน
3. นางพรทิพย ถาวงศ
ผูเชี่ยวชาญดานพัฒนาผลิตภัณฑขาว
กรมการขาว
4. นายภควันต เสรีรักษ
วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ
กรมชลประทาน
5. นายเจนณรงค แจมกระจาง
นักวิชาการประมงปฏิบัติการ
กรมประมง
6. นางสาวอัจจิมา ควรสงวน
นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
กรมวิชาการเกษตร
7. นางสาววราภรณ บัวเผื่อน
นักวิชาการปฏิรูปที่ดินชํานาญการ
สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
8. นางสาววันวิสาข คุณยศยิ่ง
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
9. นายปยยุทธ จิตตจํานงค
เศรษฐกรชํานาญการ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
10. นางสาวมาริษา ลีภัทรกิจ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
11. นายธีรวีย ศิริภาพงษเลิศ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
12. นายเกรียงไกร แสงไข
นักวิชาการเกษตร
กรมพัฒนาที่ดิน
13. นางเนตรนริศ ผดุงศิลป
นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการพิเศษ
กรมสงเสริมการเกษตร
แทน นางปาลลิน พวงมี (คณะทํางานและเลขานุการ)
14. นายอานัติ หุนหลา
ผูอํานวยการกลุมเกษตรชลประทาน
กรมสงเสริมการเกษตร
~4~
15. ดร.วราภรณ พรหมพจน
16. ผศ.ดร.วิลาวรรณ เชื้อบุญ
17. นางสาวสุมนา มณีพิทักษ
18. นางสาวพัชรินภรณ โยธาภักดี
19. นางสาวไพรินทร ศิริพันธ
20. นายพิริยพงศ แจงเจนเวทย
21. นางสาวกัญจนชญา ไขแกว
22. นายศรีสะเกษ สมาน
ที่ปรึกษาดานเกษตรอัจฉริยะ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ
สํานักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ
สํานักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดนครราชสีมา
รักษาการผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรม
คุณวุฒิวิชาชีพ
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน)
นักวิชาการมาตรฐานวิชาชีพ
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน)
รองเลขาธิการสภาเกษตรกรแหงชาติ
สภาเกษตรกรแหงชาติ
เริ่มการประชุม เวลา 13.30 น.
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ
นายปริญญา พรศิริชัยวัฒนา ประธานการประชุม แจงวา การประชุมคณะทํางานขับเคลื่อน
เกษตรอินทรีย ครั้งที่ 2/2564 ผานระบบ ZOOM Cloud Meetings มี 6 วาระ หัวขอหลักเพื่อติดตาม
ความกาวหนาการขับเคลื่อนเกษตรอินทรียของแตละหนวยงานตามที่มีแผนอยู เชน เรื่องขาวอินทรีย ของ
กรมการขาว เรื่องเปาหมายการพัฒนาเกษตรอินทรียเชิงขยาย ของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เรื่องสืบเนื่อง
จะมีหนวยงานที่เกี่ยวของที่จะเรงใชเครื่องมือรวมกันพัฒนา เทคโนโลยี การเชื่อมโยงของศูนยเทคโนโลยีเกษตร
และนวัตกรรม (AIC) เรื่องเพื่อพิจารณาใหเกษตรกรที่ทําเกษตรอินทรียนําเสนอประเด็นปญหาและแสดงความคิดเห็น
มติที่ประชุม
รับทราบ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมคณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย ครั้งที่ 1/2564
นางพรพิมล ยองสาร นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ผูชวยเลขานุการฯ แจงวา ตามที่ไดมีการประชุม
คณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ หองประชุม ๔/2
ชั้น ๔ กรมสงเสริมการเกษตร นั้น ฝายเลขานุการไดสรุปและแจงเวียนรายงานการประชุมใหคณะทํางาน
พิจารณาแลว เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2564 ซึ่งมีคณะทํางานขอแจงแกไขรายงานการประชุม ดังนี้ สํานักงาน
เศรษฐกิ จ การเกษตร ขอเพิ่ ม รายชื่ อ ผู เ ข า ร ว มประชุ ม จํา นวน 2 คน คื อ นางสาววั น วิ ส าข คุ ณ ยศยิ่ ง
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ และ นางสาวมาริษา ลีภัทรกิจ นักวิเคราะหนโยบายและ
แผนปฏิบัติการ จึงขอใหที่ประชุมใหการรับรองรายงานการประชุมดังกลาว
มติที่ประชุม
รับรองรายงานการประชุม
~5~
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระเบียบวาระที่ 3.1 สรุปรายงานคณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรียตอคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน
เกษตรกรรมยั่งยืน ครั้งที่ 4/2564
โดย นางปาลลิน พวงมี เลขานุการคณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย
นายปริญญา พรศิ ริชัยวั ฒนา ประธานการประชุม แจงว า นางปาลลิน พวงมี เลขานุการ
คณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย ติดภารกิจอบรมหลักสูตรนักบริหารการทูต (นบท.) จึงมอบหมายให
นางเนตรนริศ ผดุงศิลป นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการพิเศษ เปนผูรายงานแทน
คณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรียไดนําเสนอตอคณะอนุกรรมการ ดังนี้
1. ฐานข อมู ลเกษตรอิน ทรีย โดยกรมพัฒนาที่ดิน เปนผูดําเนิน งาน ในฐานขอมูลดังกลาว
รวบรวมขอมูลเกษตรกร ผลิตผล เนื้อที่ปลูกเกษตรอินทรีย และสถานะใบรับรองมาตรฐานเกษตรอิน ทรีย
ซึ่งจากการดําเนินงานพบปญหาความเขาใจคลาดเคลื่อน ดังนั้นกรมพัฒนาที่ดิน จึงมีแผนจะประชุมชี้แจง
สร า งความเข า ใจและอบรมเจ า หน า ที่ ทั้ง ๗ หน ว ยงานที่เ กี่ย วข อ ง เพื่ อให เกิ ดความเข าใจตรงกั น อีก ทั้ ง
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร มีขอเสนอใหเชื่อมโยงทุกหนวยงานใหมาอยูในฐานขอมูลเดียวกัน
2. การทําเกษตรอินทรียในพื้นที่ที่ไมมีเอกสารสิทธิ์ พื้น ที่อุทยานแหงชาติและพื้น ที่ปาไม
ขณะนี้กรมอุทยานแหงชาติและพื้นที่ปาไม สํารวจการถือครองที่ดิน จากประชากรประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ครอบครัว
ที่อยูในเขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และเขตหามลาสัตวปา จะอนุญาตใหราษฎรอาศัยอยูในเขต
พื้นที่ดังกลาวได ตองรอกฎหมายฉบับรอง ซึ่งการรับฟงความคิดเห็นทั้ง ๔ ภาค ยังไมสามารถดําเนินการได
เนื่องจากสถานการณโควิด ทั้งนี้ กรมอุทยานฯ จึงประชาสัมพันธเชิญชวนผูมีสวนไดเสีย ชุมชนที่เกี่ยวของและ
ประชาชน เขารวมแสดงความคิดเห็นตอรางกฎหมายลําดับรอง โดยเปดรับฟงความคิดเห็นผานหนาเว็บไซต
ของกรมอุทยานฯ จนกวาจะดําเนินการจัดประชุมสัมมนาเพื่อรับฟงความคิดเห็นทั้ง ๔ ภาค ได
3. การเชื่อมโยงการทํางานระหวางศูนยเทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (AIC) กับคณะทํางาน
ขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย เพื่อสรางเครื่องมือ One Stop Service Center สนับ สนุน ดานเกษตรอิน ทรีย
ให เ กษตรอิ น ทรี ย มี ค วามแม น ยํ า สู ง ขึ้ น มี ค วามมั่ น คงในการผลิ ต เป น ประโยชน และเชื่ อ มโยงกั บ
ภาคอุต สาหกรรมได ควรดํา เนิน การในลักษณะแซนดบอกซ เริ่มจากกลุมเกษตรกรที่มีความชัดเจน เชน
กลุมวิสาหกิจชุมชนผลิตผักอินทรียแปลงใหญ ชุมชนวังน้ําเขียว ที่มีความตองการเทคโนโลยีโรงคัดบรรจุ ซึ่งไดมี
การประสานกับสํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดนครราชสีมา แลว
๔. การผลิตเกษตรอินทรียโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม ตามที่นําเสนอคณะทํางานฯ เมื่อวันที่ ๑๗
มิถุนายน ๒๕๖๔ ที่ผานมา ประกอบดวย ๑) นายอุกฤษ อุณหเลขกะ นําเสนอเรื่อง สมุดบันทึกการเพาะปลูก
ในแอปพลิเคชัน ใบไม รีคัลท ๒) ผศ.ดร.วิลาวรรณ เชื้อบุญ เรื่อง ชีวภัณฑทางการเกษตรและเกษตรแมนยํา ๓)
นายณัฐชา ลิขิตกิจวรกุล นําเสนอเรื่อง MAGTO “We are Digital Farmers” แมกโต ๔) นายกันตพงษ แกวกมล
นําเสนอ การจัดการพื้นที่เพาะปลูกดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมยุคใหมผสานกับองคความรูระหวางชุมชน
การเกษตร ๕) นักศึกษาปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยมหิดล นําเสนอเรื่อง Smart Farm ของบริษัท สมารท
ฟารม (ไทยแลนด) จํากัด ในการพัฒนางานวิจัยสูนวัตกรรมที่ใชงานไดจริง และที่ประชุมคณะทํางานฯ มีมติให
รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน จัดตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจตอไป
มติที่ประชุม
รับทราบ
~6~
ระเบียบวาระที่ 3.2 สถานการณปจจุบันโครงการขาวอินทรียหนึ่งลานไร
โดย กรมการขาว
นางสุคนธ ทวมมา ผูเชี่ยวชาญดานมาตรฐานการรับรองขาว ผูแทนกรมการขาว รายงานใหที่
ประชุ มทราบว า ได ดํา เนิ น การโครงการส งเสริมการผลิตขา วอิน ทรียม าตั้ง แตป 2560 – 2564 โดยมี
เกษตรกรสมัครเขารวมโครงการตั้งแตป 2560 - 2562 จํานวน 58 จังหวัด จํานวนทั้งสิ้น 5,818 กลุม
130,082 ราย 1,209,911.62 ไร ซึ่งปจจุบันมีเกษตรกรไดรับการรับรองมาตรฐานการผลิตขาวอินทรียแลว
2,259 กลุม 43,399 ราย 466,646.90 ไร และคาดวาจะมีเกษตรกรที่จะไดรับการรับรองมาตรฐานขาว
อินทรียอีกในป 2565 จํานวน 2,396 กลุม 50,500ราย 384,560 ไร รวมพื้นที่ที่เกษตรกรไดรับการ
รับรองมาตรฐานขาวอินทรีย จํานวน 4,655 กลุม 93,899 ราย 851,206.90 ไร ป 2560 - 2564
จะตองจายเงินอุดหนุน 3,656.80 ลานบาท
1. ผลการจายเงินอุดหนุนใหแกเกษตรกร
กรมการขาวไดจายเงินอุดหนุนใหแกเกษตรกรที่ผานเกณฑการประเมินและมีสิทธิ์ไดรับ
เงินอุดหนุน ดังนี้
๑.๑ ป 2560 (T1, T2) เกษตรกร 909 กลุม 19,822 ราย 185,252.60 ไร จํานวน
379.35 ลานบาท
๑.๒ ป 2561 (T1, T2, T3) เกษตรกร 2,459 กลุม 50,987 ราย 485,098.85 ไร
จํานวน 1,154.65 ลานบาท
๑.๓ ป 2562 (T1, T2, T3) เกษตรกรผานเกณฑการประเมินและมีสิทธิ์ไดรับเงินอุดหนุน
4,683 กลุม 93,404 ราย 778,120.65 ไร จํานวน 2,122.79 ลานบาท กรมการขาวไดดําเนินการ
จายเงินอุดหนุนใหแกเกษตรกรแลว 3,299 กลุม 66,285 ราย 508,194.15 ไร จํานวน 1,202.69 ลานบาท
ดังนั้น ยั งขาดเงินอุดหนุ นสําหรับจายใหแกเกษตรกรอีก 1,384 กลุม 27,119 ราย
269,926.50 ไร จํานวน 917.80 ลานบาท จึงจําเปนตองขอใชงบประมาณจากงบกลางรายการเงินสํารอง
จายเพื่อกรณีฉุกเฉิน หรือจําเปน พ.ศ. 2564 สําหรับนําไปจายใหแกเกษตรกรเปนการชวยเหลือและสราง
แรงจูงใจในการพัฒนาการผลิตขาวอินทรียใหยั่งยืนตอไป
๑.๔ ป 2563 (T2,T3) เกษตรกรผานเกณฑการประเมินและมีสิทธิ์ไดรับเงินอุดหนุน
(T2) 2,443 กลุม 51,465 ราย 387,168.25 ไร 1,161.51 ลานบาท (T3) 1,433 กลุม 28629 ราย
270,489.75 ไร 1081.96 ลานบาท รวมทั้งสิ้น 3,876 กลุม 80,094 ราย 657,658 ไร จะตองใชเงิน
อุดหนุน 2,243.47 ลานบาท (ใชงบประมาณป 2565)
2. ผลผลิตขาวขาวอินทรีย
ขาวเปลือก 851,206.90 ไร x 400 กก/ไร = 340,482,760 กิโลกรัม
3. ตลาดขาวอินทรีย
3.1 การเชื่อมโยงตลาดขาวอินทรียป 2563/64 มีผูประกอบการคาขาว จํานวน 35 ราย
จัดทําบันทึกขอตกลงการซื้อขาย (MOU) กับกลุมเกษตรกร จํานวน 553 กลุม เกษตรกร 10,144 ราย พื้นที่
117,634.25 ไร ประมาณการผลผลิต 38,382.50 ตัน ปริมาณผลผลิตที่จะขาย 18,771.78 ตัน ผลการ
ซื้อขายจริง ผูประกอบการคาขาว จํานวน 20 ราย ซื้อขายผลผลิตจากกลุมเกษตรกร 279 กลุม เกษตรกร
2,326 ราย ผลผลิตที่ซื้อขาย 4,092.88 ตัน ราคารับซื้อผลผลิตเฉลี่ย 11.88 บาท/กิโลกรัม มูลคาที่รับซื้อ
ผลผลิต 50,713,687.74 บาท คิดเปนรอยละ 21.80 จากผลผลิตที่จะซื้อขาย
~7~
3.2 การเชื่อมโยงตลาดประชารัฐระดับชุมชน/จังหวัดป 2563/64 มีการดําเนินงาน
จับคูซื้อขายขาวอินทรีย ดําเนินการจํานวน 30 จังหวัด มีมูลคาที่รับซื้อผลผลิต 6,702,300 บาท
3.3 การเชื่อมโยงตลาดสงออกขาวอินทรียไปตางประเทศ ป 2563/64 ไดรับการจัดสรร
โควตา EU สงออกขาวไปสหภาพยุโรปใหผูประกอบการคาขาวที่เขารวมโครงการฯ จากกระทรวงพาณิชย
จํานวน 1,700 ตัน ยังไมรับรายงานสรุปผล
4. เปรียบเทียบผลประโยชนที่ไดรับกับงบประมาณที่ใชจากการดําเนินงานโครงการสงเสริม
การผลิตขาวอินทรีย ป 2560 – 2563 มีพื้นที่ผานการประเมินตามระบบการผลิตขาวอินทรียไทย (Organic
Thailand) มีพื้นที่สะสม 2,554,287 ไร ซึ่งพื้นที่ดังกลาวไมมีการใชส ารเคมีในการผลิต ซึ่งสามารถลด
ปริมาณการใชสารเคมีไดถึง 127,715 ตัน ทําใหมูลคาการใชสารเคมีลดลงประมาณ 2,043,429,760 บาท
และเกษตรกรสามารถเพิ่มมูลคาขาว มีชองทางตลาดมากขึ้น รวมทั้งสุขภาพและสิ่งแวดลอมดีขึ้นจากการลด
การปนเปอนสารเคมีจากแปลงนา
5.ปญหาและอุปสรรค
5.1 ไมสามารถทําการตรวจประเมินแปลงผลิตขาวอินทรียไดตามแผนที่กําหนด เนื่องจาก
มีขอจํากัดในการจางบุคคลภายนอกทําการตรวจประเมิน
5.2 การจัดทําเอกสารหลักฐานขอมูลที่ใชในการประกอบการพิจารณาการเบิกจายเงิน
อุ ด หนุ น ให เ กษตรกรมี ป ริ มาณมาก และมี กระบวนการจัดทําหลายขั้น ตอนทําใหการเบิกจายเงิน อุดหนุ น
ไมเปนไปตามแผนที่กําหนด
5.3 ไดรับงบประมาณในการดําเนินงานโครงการและเงินอุดหนุนไมเ ปนไปตามคําขอ
งบประมาณประจําป ทําใหตองไปขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากงบกลางรายการเงินสํารองจายเพื่อกรณี
ฉุกเฉินหรือจําเปนจากคณะอนุกรรมการนโยบายและบริหารขาวแหงชาติ และคณะรัฐมนตรี
นายปริญญา พรศิ ริชัยวัฒ นา ประธานการประชุม แจงว า ที่ประชุมคณะทํางานฯ ไดเคย
ประสานกับ บริษัท ปตท.น้ํามัน และการคาปลีก จํากัด (PTTOR) เรื่องการจําหนายสิน คาเกษตรอิน ทรีย
ในพื้นที่ ปมนํ้ามัน PTT จึงเสนอให กรมการขาวหารือกับ PTTOR เพื่อเปนตลาดรองรับโครงการขาวอินทรีย
มติที่ประชุม
รับทราบ
ระเบียบวาระที่ 3.3 ความกาวหนาเปาหมายการขยายการผลิตเกษตรอินทรียหนึ่งลานไรที่ตั้งเปาหมาย
ตามแผนตามแผนปฏิบัติการดานเกษตรอินทรีย พ.ศ. 2560 - 2565 (ยุทธศาสตร
การพัฒนาเกษตรอินทรีย)
โดย สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
นายชาญชั ย แพทอง ผู อํ า นวยการส ว นนโยบายและแผนพั ฒ นาเกษตรกรและองค ก ร
เกษตรกร ผูแทนสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานใหที่ประชุมทราบวา
๑. เรื่องเดิม
มติคณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรียแหงชาติ ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 10 กันยายน
2563 เห็นชอบแผนปฏิบัติการดานเกษตรอินทรีย พ.ศ. 2560 – 2565 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้
๑.๑ วิสัยทัศน “ประเทศไทยเปนผูนําเกษตรอินทรียในภูมิภาคอาเซียน ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และเปนที่ยอมรับในระดับสากล ภายในป 2565”
~8~
๑.๒ เปาหมายและตัวชี้วัด
(1) พื้นที่เกษตรอินทรียไมนอยกวา 1.3 ลานไร ภายในป 2565
(2) มีจํานวนเกษตรกรที่ทําเกษตรอินทรียไมนอยกวา 80,000 ราย ภายในป 2565
(3) อัตราการขยายตัวของมูลคาสินคาเกษตรอินทรียเฉลี่ยรอยละ 3 ตอป
1.3 ประเด็นการพัฒนาเกษตรอินทรีย ประกอบดวย 3 ประเด็น ดังนี้
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 สงเสริมการวิจัย พัฒนานวัตกรรม ฐานขอมูล และถายทอด
องคความรูเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย ประกอบดวย 3 ประเด็นยอย ไดแก (1) สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเกษตร
อินทรีย (2) พัฒนาฐานขอมูลดานเกษตรอินทรีย และ (3) พัฒนาและถายทอดองคความรูเกี่ยวกับเกษตร
อินทรีย
ประเด็ น การพั ฒ นาที่ 2 พั ฒ นาการผลิ ต และการบริ ห ารจั ด การเกษตรอิ น ทรี ย
ประกอบดวย 2 ประเด็นยอย ไดแก (1) สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย และ (2) บริหาร
จัดการโครงสรางพื้นฐานและปจจัยการผลิต
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 พัฒนาการตลาด การบริการ และมาตรฐานเกษตรอินทรีย
ประกอบดวย 3 ประเด็นยอย ไดแก (1) พัฒนาตลาดสินคาและบริการเกษตรอินทรีย (2) ผลักดันมาตรฐาน
และระบบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย และ (3) การประชาสัมพันธเกี่ยวกับเกษตรอินทรียสูผูบริโภคทั้งใน
และตางประเทศ
2. ขอเท็จจริง
จากขอมูลพื้นที่เกษตรอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2562 ซึ่งเปน
การรวบรวมขอมูลจากภาครัฐ (กรมการขาว กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง กรมหมอนไหม
สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และกรมพัฒนาที่ดิน) และภาคเอกชน (วังขนายและจากเว็บไซตของ
สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.)) พบวา ป 2562 มีพื้นที่ที่ไดรับการรับรองเกษตรอินทรีย (พืช ปศุสัตว
และสั ต ว น้ํ า ) อยู ที่ 531,620.67 ไร (คิ ดเปน รอยละ 40.89 ของพื้น ที่เปา หมาย) คงเหลือพื้น ที่ที่ตอ ง
ดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวอีก 763,380 ไร ทั้งนี้ ยังไมไดรวมพื้นที่เกษตรอินทรียจาก
โครงการสงเสริมการผลิตขาวอินทรีย (1 ลานไร) ของกรมการขาว
3. ขอคิดเห็นของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
3.1 กรมพัฒนาที่ดินรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ 7 หนวยงาน ไดแก กรมการขาว กรม
วิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง กรมหมอนไหม และสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม ควรตองเรงดําเนินการพิจารณาและปรับปรุงขอมูลในระบบฐานขอมูลกลางเกษตรอินทรียให
เปนปจจุบัน
3.2 รายงานขอมูลพื้นที่เกษตรอินทรีย
1) ที่ผานมา สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรรวบรวมขอมูลที่เผยแพรของหนวยงาน
ภาคเอกชน ประกอบกับข อมูลของหนวยงานภาครัฐ ซึ่งปจจุ บันหนวยงานภาคเอกชนไมไดเผยแพรขอมู ล
อยางเชนที่ผานมา จึงเห็นสมควรขอความอนุเคราะหจากหนวยงานภาคเอกชนในการสนับสนุนขอมูลใหกับ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเพื่อนําไปใชประกอบการจัดทํารายงานใหสอดคลองกับฐานขอมูลเดิมที่เคย
จัดทําไว
2) นอกจากนี้ ขอความรวมมือจากสํานักงานมาตรฐานสิน คาเกษตรและอาหาร
แหงชาติ (มกอช.) ประสานขอมูลจากหนวยงานตรวจรับรอง (CB) ภาคเอกชนที่ มกอช.รับผิดชอบ และจัดสง
ใหสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เพื่อนําไปใชประกอบการจัดทํารายงานภาพรวมการพัฒนาเกษตรอินทรีย
ของประเทศไทยใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น
~9~
ตารางพื้นที่เกษตรอินทรียและจํานวนเกษตรกรที่ทําเกษตรอินทรียของไทย ป 2560-2564
2560
หนวยงาน
หนวยงานของ
รัฐบาล1/
⋅ กรมประมง
⋅ กรมปศุสตั ว
⋅ สํานักงาน
ปฏิรูปที่ดิน
เพื่อ
เกษตรกรรม
(ส.ป.ก.)**
⋅ กรมวิชาการ
เกษตร
⋅ กรมการขาว
⋅ กรมหมอน
ไหม
⋅ กรมพั* ฒนา
ที่ดิน
หนวยงานของ
เอกชน2/
2561
2562
อัตราเพิ่ม
ของพื้นที่
3/
3/
ป 2561จํานวน
จํานวน
พื้นที่ (ไร)
พื้นที่ (ไร)
2562
(ราย)
(ราย)
(รอยละ)
13,221 139,853.80 41,512 343,061.92 145.30
จํานวน3/
(ราย)
พื้นที่ (ไร)
8,001
82,791.69
38
152
1,615
2,130.04
8,348.01
44
197
424
782.14
6,366.97
3,650.00
223
222
5,679
2,864.35
6,641.47
25,965.02
266.22
2.01
611.37
1,194
13,197.36
4,880
54,330.93
6,432
61,701.39
13.57
4,838
-
57,855.02
-
7,461
51
73,423.90
38.60
28,444
79
241,535.00
107.30
228.96
177.98
164
1,261.26
164
1,261.26
433
4,247.39
236.76
2,753 148,154.68 2,753 217,577.45 2,906 188,558.75
+142
+408
+119
กลุม
กลุม
กลุม
142 กลุม 74,470.87 408 กลุม 143,893.64 119 กลุม 108,235.90
⋅ สํานักงาน
มาตรฐาน
เกษตร
อินทรีย
(มกท.)
499
12,313.43 499
12,313.43
652
18,952.47
⋅ วังขนาย
2,254 61,370.38 2,254 61,370.38 2,254 61,370.38
⋅ มาตรฐาน
เอกชนอื่น ๆ
รวมทุก
10,754 230,946.00 15,974 357,431.25 44,418 531,620.67
หนวยงาน
+142
+408
+119
กลุม
กลุม
กลุม
-13.34
-24.78
53.92
0.00
48.73
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2562)
หมายเหตุ:
1/ พื้นที่ของหนวยงานของรัฐบาลไดรวบรวมจากพื้นที่ที่ไดรับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียไทย (Organic Thailand)
และการรับรองแบบมีสวนรวม (PGS) ของมูลนิธิเกษตรอินทรียไทยและมูลนิธิสายใยแผนดิน
2/ พื้นที่ของเอกชนไดรวบรวมจากพื้นที่ที่ไดรับการรับรองมาตรฐานตางประเทศ อาทิ IFOAM USDA EU
3/ จํานวนเกษตรกรในแตละป ยังไมไดรวมจํานวนสมาชิกในกลุมเกษตรกร
มติที่ประชุม
รับทราบ
~ 10 ~
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องสืบเนื่อง
ระเบียบวาระที่ 4.1 ความกาวหนาการเชื่อมโยง AIC กับคณะทํางานเกษตรอินทรีย
๑) การสนับสนุนกลุมวิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญ อําเภอวังน้ําเขียว
โดย ผูแทนสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
จากการประชุ ม คณะทํ า งานขั บ เคลื่ อ นเกษตรอิ น ทรี ย ครั้ ง ที่ 1/2564 เมื่ อ วั น ที่ 17
มิถุนายน 2564 มีนายปริญญา พรศิริชัยวัฒนา เป นประธานการประชุมฯ ที่ประชุมเห็นควรใหศูนย AIC
จังหวั ด นครราชสี มาดํ า เนิ น การช ว ยเหลื อสนับ สนุน ทางวิช าการ เรื่อง การจัดทําโรงรวบรวมผลผลิตตาม
มาตรฐาน GMP แกวิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญ นิคมเศรษฐกิจพอเพียง อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา
ซึ่ ง ได รั บ การสนั บ สนุ น การทํา การเกษตรอิ น ทรียจ ากกรมสง เสริม การเกษตร และสํา นัก งานปฏิรูป ที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม
นางสาวสุ มนา มณีพิทักษ นั กวิ เคราะหน โยบายและแผนชํานาญการพิเศษ กองนโยบาย
เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน ผูแทนสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ รายงานวา
ไดทําบันทึกสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ กษ 0207/1111 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2564
โดยขอให ทางสํา นั กงานเกษตรและสหกรณจังหวัด นครราชสีม าประสานศูน ย AIC จัง หวัด นครราชสีม า
และหน ว ยงานที่ เ กี่ย วของ เพื่ อดํ า เนิน การชวยเหลือสนับ สนุน ทางวิช าการดังกลาว และบัน ทึกสํานักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ กษ 0207/1394 ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2564 โดยขอเชิญเกษตรและ
สหกรณจังหวัด หรือผูแทนเขารวมการประชุมคณะทํางานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย ครั้งที่ 2/2564 เพื่อชี้แจง
ในวาระติ ด ตามความก า วหน า การสนั บ สนุ น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผั ก อิ น ทรี ย แ ปลง อํ า เภอวั ง น้ํ า เขี ย ว จั ง หวั ด
นครราชสีมา ผานทางระบบ Zoom Meeting
นางไพรินทร ศิริพันธ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ ผูแทนสํานักงานเกษตรและ
สหกรณจังหวัดนครราชสีมา ไดรายงานวาไดประสานงานกับหนวยงานในศูนย AIC จังหวัดนครราชสีมา ในการ
สนับสนุนวิชาการแกวิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญฯ ทราบวาไมมีหนวยงานไปใหการสนับสนุนทาง
วิชาการวิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญฯ เนื่องจากวิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญฯ ไมไดขอรับการ
สนับสนุ นจากหนวยงานใด มีเพี ยงสํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสี มาได กํากับ ดูแลการชําระเงิน คืนของ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนาคุณภาพพืชผักวังน้ําเขียวจังหวัดนครราชสีมา เพื่อรองรับผลกระทบจาก
การเปดเสรีทางการคา ไดนําเงินมากอสรางโรงเรือนเพาะชํากลาผัก โรงเรือนรวบรวมคัดแยกบรรจุหองเย็น
และโรงเรือนปลูกผักของเกษตรกร 103 ราย ซึ่งไดชําระเงินหมดแลว และปดบัญชีเมื่อเดือนเมษายน 2564
นอกจากนี้ไดออกตรวจสอบพื้นที่วิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อําเภอวังน้ําเขียว
จังหวัดนครราชสีมา และทราบวาวิสาหกิจชุมชนผักอินทรียแปลงใหญฯ ไดเสนอโครงการภายใตแผนงาน/
โครงการ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 คือ โครงการฝกอาชีพการทํากสิกรรมไรสารพิษเศรษฐกิจพอเพียง
งบประมาณ 531,125 บาท โดยมีสํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา เปนหนวยงานเสนอของบประมาณ
จากจังหวัดนครราชสีมา ขณะนี้อยูระหวาง ครม. พิจารณา
ประธานคณะทํางานฯ ไดกลาววา นายอํานาจ หมายยอดกลาง เปนกลุมกสิกรรมไรสารพิษ
วังน้ําเขียว เกษตรและสหกรณจังหวัดนครราชสีมาประสานผิดกลุม ที่ตองการใหประสานเปนกลุมของวิสาหกิจชุมชน
ผักอินทรียแปลงใหญนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา
~ 11 ~
มติที่ประชุม
ประธานคณะทํางานฯ ไดขอใหกองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน
ประสานการติดตามความกา วหนาการสนั บสนุน วิส าหกิจชุมชนผักอินทรียแ ปลงใหญ อํา เภอวัง น้ํา เขีย ว
จัง หวัด นครราชสีม า ซึ่ง มีน างจิรัช ญา สติย านุช เปน ประธานวิส าหกิจ ชุม ชนผักอินทรียแปลงใหญนิคม
เศรษฐกิจพอเพียง อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมาอีกครั้ง
๒) การขับเคลื่อนเกษตรอัจฉริยะ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
โดย ประธาน : ดร.วราภรณ พรหมพจน ที่ปรึกษาดานเกษตรอัจฉริยะ
ตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายเทคโนโลยีเกษตร ๔.๐ ไดมีคําสั่งที่ ๑/๖๔ ลงวันที่
๒๔ กุ มภาพั น ธ ๒๕๖๔ แต งตั้ งคณะอนุ กรรมการขับ เคลื่อนเกษตรอัจ ฉริย ะของกระทรวงฯ เพื่อใหมีการ
ขับเคลื่อนเทคโนโลยีจากตนน้ําถึงปลายน้ํา และมีเปาหมายในการขับเคลื่อนนโยบายเทคโนโลยีเกษตร ๔.๐
ของกระทรวงฯ โดยใช เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เปน เครื่อ งมือ เพื่อ ใหบ รรลุเ ปา หมายตามนโยบายที่จ ะยกระดับ
การพัฒนากระทรวงฯ ภาคเอกชนและเกษตรกร
ดร.วราภรณ พรหมพจน ที่ ป รึ ก ษาด า นเกษตรอั จ ฉริ ย ะ ได ใ ห ข อ คิ ด เห็ น เพื่ อ เชื่ อ มโยง
การขับเคลื่อนเกษตรอินทรียวา การขับ เคลื่อนงานดานเกษตรอัจ ฉริย ะของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
มีโครงสราง
- ป 2560 แตงตั้งคณะกรรมการโครงการแปลงเรียนรูเกษตรอัจฉริยะ
- ป 2562 แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอัจฉริยะ
- ป 2563 แตงตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเกษตรอัจฉริยะ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ภายใตคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายเทคโนโลยีเกษตร 4.0
มีหนาที่
๑. กําหนดทิศทางการขับเคลื่อนเกษตรอัจฉริยะ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยใช
เทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อพัฒนากระบวนการผลิต แปรรูป และการตลาดสินคาเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพ
๒. ขับ เคลื่อนโครงการที่เ กี่ย วของกับ เกษตรอัจ ฉริย ะ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
เพื่อขับเคลื่อนการวิจัย คนควาเทคโนโลยีสมัยใหม ที่รองรับการพัฒนาเกษตรอัจฉริยะ ตลอดจนการพัฒนา
บุคลากรในทุกระดับ
๓. บูรณาการความรวมมือ กับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งภายในและ
ตางประเทศ
๔. ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายเทคโนโลยีเ กษตร 4.0 ของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณมอบหมาย
เปาหมายของการทําเกษตรอั จฉริ ยะ มีระบบการผลิตแบบเกษตรอัจ ฉริย ะ ใชเทคโนโลยี
อัจฉริยะ/ระบบเซนเซอรเพื่อการติดตาม การวิเคราะห/วางแผนเพื่อการตัดสินใจแบบอัจฉริยะ การควบคุม
ระบบการผลิตแบบอัจฉริยะ ทายสุดเปาหมายคือการพยากรณผลผลิตและการจัดการดานการตลาดมาชวย
กระบวนการวางแผนการตัดสินใจ
~ 12 ~
เกษตรอัจฉริยะ ลดการใชปจจัย การผลิต ลดการใชเ วลา ลดการใชแรงงาน เพิ่มผลผลิต
มีการเพิ่มคุณภาพการผลิต โมเดลเกษตรอัจฉริยะการผลิตพืช ความอุดมสมบูรณของดิน พันธุพืชที่เหมาะสม
การอารักขาใหปุย มีการนําเครื่องจักรกลไปใช การใหปุยตามคาวิเคราะหดิน การใหน้ํา เทคโนโลยีดาวเทียม
และอากาศยานไรคนขับ Big data Platform สุดทายระบบชวยตัดสินใจ และการใชประโยชน
ผลที่ไดจากการทําเกษตรอัจฉริยะ
๑. แปลงเรียนรูเกษตรอัจฉริยะ
๑) ขาว ที่ จ.สุพรรณบุรี การปลูกขาว ๔ เดือน ระดับน้ํา อากาศความชื้น ทํางานภายใต
MOU บริษัทลอกเลย กับ กรมการขาว
๒) ออย ที่ อ.วังน้ําเย็น จ.สระแกว มีแปลงเรียนรู และแปลงเปรียบเทียบ
๓) กลุ มวิ ส าหกิ จ ชุ มชนแปลงใหญขาวโพดช็อป ของนางสุริย า เลิ ศสรานนท มีแปลง
เปรียบเทียบ
๔) แปลงเรียนรูเกษตรอัจฉริยะทุเรียน ผูจัดการแปลงกรมสงเสริมการเกษตร โดยกรมสงเสริม
การเกษตร ระบบการใหน้ํา ทํารวมกับ กสก. กับ เอกชน
๕) แปลงเรียนรูเกษตรอัจฉริยะสมโอ อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม
๖) แปลงเรียนรูเกษตรอัจฉริยะการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมแบบพัฒนา โดยมีหลักการคือ
ตรวจวั ดคุณภาพน้ํ า ควบคุมการให อาหาร ควบคุมคุณภาพน้ํา และเพิ่มจํานวนจุลิน ทรียและเติมลงในบอ
อัตโนมัติ ประหยัดพลังงาน ไมตองตีน้ําตลอดเวลา ที่จ.สุราษฎรธานี มีการขยายผลเพิ่ม จํานวน ๔ ฟารม
ในจังหวัดจันทบุรี สมุทรสาคร นครปฐม และจังหวัดชุมพร
๒. การสรางการรับรูดานเกษตรอัจฉริยะ
“ติดอาวุธดานเกษตรอัจฉริยะ” คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเกษตรอัจฉริยะ ภายใตคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนนโยบายเทคโนโลยีเกษตร 4.0 จัดบรรยายสรางการรับรูดานเกษตรอัจฉริยะ โดยนายอลงกรณ พลบุตร
ที่ปรึกษารัฐมนตรีว าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในฐานะประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบาย
เทคโนโลยีเกษตร 4.0 ใหเกียรติเปนประธานเปดการบรรยาย และมอบนโยบายการขับเคลื่อนเกษตรอัจฉริยะ
ไปสูศูนยเทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (Agritechand Innovation Center: AIC) ทั้ง 77 จังหวัด ผานระบบ
การประชุ ม ทางไกลออนไลน (Web Conference) ให กั บ บุ ค ลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ประกอบดวย สานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด ทั้ง 77 จังหวัด และหนวยงานในพื้นที่ อาทิเชน ศูนยวิจัยขาว
ชลประทานจังหวัด พัฒนาที่ดินจังหวัด เกษตรจังหวัด ประมงจังหวัด และปศุสัตวจังหวัด เปนตน
๓. การพัฒนา IoTs Platform เกษตรอัจฉริยะ
- หลั ก การคื อ ทํา เกษตรแม น ยํา ด ว ยการใช เ ทคโนโลยี เ กษตรอั จ ฉริ ย ะและข อ มู ล
เพื่อบริหารจัดการ มุงเนนเกษตรกรเปนศูนยกลาง สามารถเขาถึงเทคโนโลยีเกษตรไดงายและใชงานขอมูล
ดานการเกษตรมีคุณภาพโดยไมมีคาใชจาย สนับสนุนการตัดสินใจประกอบกิจกรรมตลอดหวงโซการผลิต
เนนการแกไขปญหาเกษตรแปลงใหญเกรด A
- จั ด ทํ า ชุ ด ข อ มู ล และข อ มู ล ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ สร า งระบบเกษตรแม น ยํ า ได แ ก ข อ มู ล
ดาวเที ย มสํา รวจ ข อมู ล น้ํา ฝน ระบบจั ด การขอ มูล พัน ธุพืช ระบบจัด การขอ มูล เกษตรกร โรคพืช /แมลง
การเจริญเติบโตพืช การดูแลรักษาเบื้องตน มีคลังขอมูลเกษตรอัจฉริยะ ขอมูลปริมาณน้ําฝนใหสอดคลองกับ
ความตองการน้ํา เพื่อวิเคราะหการกําหนดวันเริ่มปลูก การใชขอมูลเตือนภัยศัตรูพืชในการปองกันการระบาด
สามารถใหคําแนะนําการเพาะปลูก
~ 13 ~
๔. การพัฒนาเครือขายวงแหวนการใชเครื่องจักรกลเกษตร โครงการสรางเครือขายบริการ
เครื่ องจั กรกลการเกษตรร ว มกั น ของชุ มชน เครื่องจักรกลสว นตัว เครื่อ งจัก รรับ จา ง เครื่อ งจัก รสหกรณ
กลุมวิสาหกิจ กลุมเกษตรกร นําเครื่องมือกอใหเกิดรายได สามารถจองเครื่องจักร
๕. การจัดทํา Innovation Catalog ดานเกษตรอัจฉริยะ ของศูนยเทคโนโลยีเกษตรและ
นวัตกรรม (Agri-tech and Innovation Center : AIC)
วัตถุประสงค
- เพื่อรวบรวมการจัดทํา Innovation Catalog ดานเกษตรอัจฉริยะ ของศูนยเทคโนโลยี
เกษตรและนวัตกรรม
- เพื่อใหเปนแนวทางในการพัฒนา นําเสนอ ประสานงานขับเคลื่อนเทคโนโลยีเกษตร
อัจฉริยะ และมีผลดําเนินการอยางไร ในเรื่องของเกษตรอัจฉริยะ หรือจะมีการบูรณาการรวมกันไดอยางไร
เพื่อใหสามารถเห็นผลเปนรูปธรรมเพื่อใหเกษตรกรสามารถเขาถึงได
ผลการดําเนินงาน
- รวบรวม Innovation ทั้งสิ้น ๗๕ จังหวัด จํานวน ๗๖ ศูน ย AIC รวบรวมได ๘๖๑
Innovation แบงเปน ๑๖ กลุม ไดแก กลุมเครื่องจักรกล กลุมหุนยนตการเกษตร กลุมการใชโดรน กลุมเกษตร
แมนยํา กลุมโรงเรือนอัจฉริยะ กลุมระบบการใหน้ํา กลุม Weather Station กลุม IoTs ดานการเกษตร
กลุมพลังงานทดแทนเพื่อการเกษตร กลุมพลังงานชีว มวล กลุม Post – Harvest กลุมพัฒ นาผลิตภัณฑ
กลุมการบริหารจัดการผลิต กลุมศูนยความเปนเลิศ/นวัตกรรม/การเรียนรู/สงเสริมถายทอด/วิจัย กลุมเกษตร
อินทรีย ใน ๑๖ กลุม เปนกลุมจํานวนมากที่สุดศูนยความเปนเลิศนวัตกรรมดานการเรียนรู
นายปริ ญ ญา พรศิ ริ ชัย วั ฒนา ประธานการประชุมฯ มีขอคิดเห็นวา ตองการหาแนวรวม
เกษตรอินทรียมีความแมนยําสูง และเลือกเครื่องมือที่เปนเทคโนโลยีใชกับกลุมเกษตรกรที่มีความพรอม ไดแก
ทําแซนดบลอกกลุมวิสาหกิจชุมชนผักแปลงใหญ ที่ อ.วังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา มี ๕๒ โรงเรือน สมาชิก ๒๕ ราย
มติที่ประชุม
ดร.วราภรณ นําเสนอใหมีการจัดตั้งกลุมยอยเพื่อที่จะหารือกัน ในความรวมมือตอไป และ
นายอานัติ หุนหลา ผูอํานวยการกลุมเกษตรชลประทาน เปนผูประสานงาน เบอรติดตอ 08 1807 8017
ระเบียบวาระที่ 4.2 ความกาวหนาการขับเคลื่อนฐานขอมูลเกษตรอินทรีย
1) การจัดทําระบบฐานขอมูลเกษตรอินทรีย
โดย กรมพัฒนาที่ดิน
นายเกรี ย งไกร แสงไข นั กวิช าการเกษตร กรมพัฒ นาที่ดิน รายงานใหที่ป ระชุมทราบวา
ความกา วหนา การจั ดทํ าระบบฐานข อมู ลกลางเกษตรอินทรียของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เนื่องจาก
สถานการณการแพรระบาดเชื้อไวรัส โควิด - 19 จึงทําใหไมสามารถดําเนินการจัดฝกอบรมแบบปกติได ดังนั้น
กรมพัฒนาที่ดินจึงไดดําเนินการจัดทําสื่อการเรียนรูออนไลนสาธิตการใชงานระบบฐานขอมูลกลางเกษตรกร
ที่ไดรั บใบรั บรองมาตรฐานเกษตรอิ นทรีย ภายใตการกํากับดูแลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อให
เจาหนาที่สามารถเรียนรูวิธีการใชงานระบบฐานขอมูลฯ ผานระบบออนไลนไดสะดวก ถือเปนการปรับรูปแบบ
การเรียนรูใหสอดคลองกับการทํางานสูความปกติใหม (New Normal) และชวยใหการดําเนินงานโครงการ
เกษตรอินทรียของกระทรวงเกษตรและสหกรณบรรลุวัตถุประสงคไดในที่สุด โดยคาดวาจะดําเนินการจัดทําสื่อ
การเรียนรูแบบออนไลน แลวเสร็จภายในเดือนธันวาคม 2564
~ 14 ~
นางสาวรษิ กา สี วิ ลัย นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ผูแทนกรมวิช าการเกษตร กลาวว า
เริ่มตนการจัดทําระบบฐานขอมูลเกษตรอินทรียนี้ ตองการใหนําเขาขอมูลเปนไฟลเอ็กเซลไดเลย เนื่องจาก
แตละหนวยงานมีขอมูลมากนอยตางกัน แบบฟอรมแตกตางกัน ประเด็นปญหาคือไมสามารถเชื่อมฐานขอมูลได
ซึ่งขณะนี้เปนการกรอกขอมูลใหมดวยมือ ทําใหเกิดความลาชาเสียเวลา และบุคลากรทํางานแบบ Work from
Home
มติที่ประชุม
รับทราบและมอบหนวยงานที่เกี่ยวของนําขอมูลเกษตรกรที่ไดรับใบรับรองมาตรฐานเกษตร
อินทรียที่มีอยู สงใหกรมพัฒนาที่ดินเพื่อรวบรวมขอมูลพรอมที่จะรายงานตอคณะอนุกรรมการฯ ภายในวันที่ 15
กันยายน 2564 เพื่อใหกรมพัฒนาที่ดินมีขอมูลอีกชองทางหนึ่ง
2) การเชื่อมโยงฐานขอมูลเกษตรอินทรียของกรมพัฒนาที่ดินกับสํานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร
โดย สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
จากการประชุ ม คณะทํ า งานขั บ เคลื่ อ นเกษตรอิ น ทรี ย ครั้ ง ที่ 1/2564 เมื่ อ วั น ที่ 17
มิถุนายน 2564 นายปริ ญญา พรศิริชัยวัฒ นา ประธานการประชุมเห็นควรให มีความเชื่อมโยงฐานขอมู ล
เกษตรอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ไปถึงสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรดวย เนื่องจาก ศสก. เปนแหลง big data
ที่สามารถเผยแพรได ผู แทนสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร แจงวาในเบื้องตนมีการเชื่อมโยงขอมูลเกษตร
อินทรียแลว ดําเนินการโดยกรมพัฒนาที่ดิน ในสวนของการประชาสัมพันธสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ขอเสนอ 2 แนวทาง 1) หลายหนวยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณมีฐานขอมูลของตนเองที่เกี่ยวของกับ
งานดานเกษตรอินทรีย แตยังไมไดมีการเชื่อมโยงใหมาอยูในแหลงเดียวกัน 2) นําฐานขอมูลไปเชื่อมโยงที่
เว็บไซตของกรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย เพื่อใหครบวงจรการผลิตถึงการตลาด
นายปยยุทธ จิตตจํานง เศรษฐกรชํานาญการ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร นําเสนอเว็บไซต
https://www.nabc.go.th ของศูน ยขอมูล เกษตรแหงชาติ National Agricultural Big Data (NABC)
ประกอบดวย 236 ชุดขอมูล 59 องคกร 14 กลุม และสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรมีความยิน ดีที่จ ะ
เชื่อมโยงขอมูลเกษตรอินทรียเขาสูระบบนี้ สามารถเผยแพรขอมูลนี้ใหกับบุคคลอื่นไดใชตอ การจับคูเจรจา
ธุรกิจเกิดงายขึ้นเปนประโยชนตอผูประกอบการและเกษตรกร
นายสมชั ย วิ สารทพงศ ใหความคิ ดเห็ นวา คณะทํางานขับ เคลื่อนเกษตรอิน ทรียตองการ
ขอมูล สถิติ ที่เป น ปจ จุ บัน เห็น ดว ยกับ การรวมรวบเป น รายไตรมาส หากรอขอมูล ของสํานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรจะชาไป 1 ป เพราะตองทําการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแตละหนวยงานกอนการเผยแพร
นายวิชัย ไตรสุรัตน ผูชวยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ใหความคิดเห็นวา สํานักงาน
เศรษฐกิจการเกษตรเปนผูรับผิดชอบเรื่อง Big Data ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งขอมูล Big Data
เกี่ยวของและเชื่อมโยงกับหลายหนวยงาน ขอฝากให สศก. พิจารณารูปแบบการเก็บขอมูลใหเปนมาตรฐาน
เดียวกัน สามารถนําไปใชประโยชนและเปนขอมูลที่นาเชื่อถือ
มติที่ประชุม
รับทราบ
~ 15 ~
ระเบียบวาระที่ 4.3 ความกาวหนาการจัดตั้งคณะทํางานเฉพาะกิจ
โดย รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน
จากการประชุมทีมงานขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564
นายปริญญา พรศิริชัยวัฒนา ประธานการประชุมฯ มอบหมายใหฝายเลขานุการประสานงานกับ รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน
จัดตั้งทีมงานเฉพาะกิจ เรื่องการใชเทคโนโลยีเพื่อการผลิตเกษตรอินทรียใหเกิดความแมนยําสูงขึ้น โดยรวบรวม
สมาชิกทีมงาน และใหกองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร สนับสนุนกิจกรรมที่
เกี่ยวเนื่องและอํานวยความสะดวกในการประชุมรวมกัน
รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน รายงานความกาวหนาจัดตั้งทีมงานเฉพาะกิจ เรื่องการใชเทคโนโลยี
เพื่อการผลิตเกษตรอินทรียใหเกิดความแมนยําสูงขึ้น โดยไดแจงชื่อทีมงานเฉพาะกิจ จํานวน 6 คน ไดแก
1. รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร เปนหัวหนาทีมงาน
เฉพาะกิจ
2. ผศ.ดร.วิลาวรรณ เชื้อบุญ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร
3. ผศ.ดร.พักตรเพ็ญ ภูมิพันธ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร
4. นายสมชัย วิสารทพงศ
5. นายอุกฤษ อุณหเลขกะ ผูบริหาร บริษัท รีคัลทประเทศไทย จํากัด
6. นายณัฐชา ลิขิตกิจวรกุล ผูบริหาร บริษัท เอส.จี.ทูเกเตอร จํากัด
เพื่อที่จะรองรับในเรื่องของการทํางานในเรื่องเกษตรแมนยํา เพื่อสนับสนุนในเรื่องของวังน้ําเขียวแซนดบล็อก
นอกจากนี้ สํานักงานวิจัยแหงชาติไดมอบทุนใหทําการพัฒนาเทคโนโลยีการใหน้ําแบบอัจฉริยะเพื่อการผลิต
พืชผักอินทรียมูลคาสูงเชิงพาณิชยแบบมีสวนรวมกับชุมชนเกษตรกรรายยอย
มติที่ประชุม
รับทราบ
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ 5.1 แนวทางการปองกันการใชสารเคมีในพื้นที่ใกลเคียงกับพื้นที่เกษตรอินทรีย
โดย นายกันตพงษ แกวกมล
นายกันตพงษ แกวกมล ใหขอมูลตอที่ประชุมวา ไดนําขอรองเรียนของเกษตรกรผูผลิตเกษตร
อิน ทรี ย ที่ได รับ ผลกระทบจากสารเคมี การเกษตร ของแปลงขางเคียง พรอมนําเสนอแนวทางเพื่ อใหทาง
คณะทํางานฯ ไดพิจารณา ดังนี้
1. มาตรการทางกฎหมายที่มีอยูตองถูกบังคับใชอยางจริงจัง
1.1 การควบคุมการใชอยางจริงจัง ไมใหสงผลกระทบตอแปลงขางเคียงและสิ่งแวดลอม
1.2 การควบคุมการซื้อขาย การครอบครอง หรือยกเลิกสารเคมีที่เปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม
ผูใชสารเคมี และแปลงขางเคียง หากพิสูจนไดวาสารเคมีเหลานั้นมีผลเสียตอสภาพอากาศ ดิน น้ํา
1.3 ผูผลิตสารเคมีตองรับผิดชอบตอผลิตภัณฑของตนเอง ตองมีการเก็บบรรจุภัณฑของตน
ไปทําลาย
2. มาตรการการใหความรู
2.1 การสงเสริมการใหความรูทางเกษตรอินทรีย เกษตรทฤษฏีใหม ในรูปแบบออนไลน เชน
การอบรมผ านทางสถาบั นคุณวุฒิ วิชาชีพ ซึ่ งมีหลักสูตรที่ไดเชื่อมโยงองคความรูระหวางสองมหาวิทยาลัย คือ
Download