Uploaded by kullathorn

kr20-kr21-reliability

advertisement
ขอควรระวังของ KR.20 / KR.21
ศน.รัชภูมิ สมสมัย
sornorpoom@gmail.com
www.sornorpoom.wordpress.com
บทความนี้ขอเก็บตกองค+ความรู,จากการไปเป0นวิทยากรบรรยายเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน : แนวคิด
สู7การปฏิบัติ ณ โรงเรียนเวียงชัยวิทยาคม อ.เวียงชัย จ.เชียงราย ภายใต,การบริหารงานของ ผอ.เกรียงศักดิ์
ยอดสาร ซึ่งเป0นรุ7นพี่ที่ผมเคารพคนหนึ่ง
บทความนี้ ผมขอเก็บตกในประเด็นที่เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของข,อสอบครับ
เกริ่นนําก7อนนะครับว7า ความเชื่อมั่นคืออะไร
ความเชื่อมั่นของข,อสอบ (Reliability) หมายถึง ความคงที่ของคะแนน หมายถึง ถ,านําข,อสอบฉบับ
หนึ่งไปสอบกับเด็กคนเดิมกี่ครั้ง ๆ ก็ได,คะแนนคงเดิมหรือใกล,เคียงกับคะแนนเดิม แสดงว7าข,อสอบฉบับนั้นมี
ความเชื่อมั่นสูง (สอบกี่ครั้งก็ยังเหมือนเดิม)
ความเชื่ อมั่ น ของข, อสอบจะมี ค7า อยู7 ร ะหว7 า ง -1.00 ถึ ง 1.00 ข, อสอบที่ ดี ควรมี ค7า ความเชื่ อมั่ น สู ง
ยิ่งสูงยิ่งดี ไม7ควรติดลบ ส7วนจะมีค7าเท7าไรถึงจะใช,ได,นั้นยังไม7มีเกณฑ+ที่แน7นอน ทั้งนี้ เพราะค7าความเชื่อมั่นจะ
สูงหรือต่ํานั้น นอกจากจะขึ้นอยู7กับตัวข,อสอบแล,วยังขึ้นอยู7กับองค+ประกอบอื่น ๆ อีก เช7น จํานวนข,อของ
ข,อสอบ ยิ่ งมี มากข, อ ความเชื่ อมั่ น ก็ จ ะยิ่งสู ง ความแตกต7 า งของกลุ7 มเด็ กที่ ไปสอบ ถ, า เด็ กมีความสามารถ
แตกต7างกันมาก การกระจายของคะแนนก็มีมาก ก็จะให,ค7าความเชื่อมั่นสูง เป0นต,น แต7โดยปกติผมจะตั้งเกณฑ+
ความเชื่อมั่นที่ยอมรับได,นั้น ควรมีค7าตั้งแต7 0.70 ขึ้นไป
และการหาความเชื่อมั่นนั้นมีได,หลายวิธี เช7น โดยการสอบซ้ํา (Test - Retest) โดยใช,ข,อสอบคู7ขนาน
(Parallel Form) โดยการแบ7งครึ่งข,อสอบ (Split Half) โดยการหาความคงที่ภายใน เช7น สูตรของคูเดอร+
ริชาร+ดสัน (KR20 KR21) หรือสูตรของครอนบาค (The Coefficient of Alpha: ) เป0นต,น
แต7วันนี้ผมขอมุ7งไปที่สูตรของคูเดอร+ ริชาร+ดสัน (KR20 KR21) ดังนี้
การหาค7าความเชื่อมั่นของข,อสอบโดยใช,สูตรของ Kuder-Richardson นั้นต,องใช,กับแบบทดสอบที่มี
ระบบการให,คะแนนเป0นตอบถูกเป0น 1 คะแนน ตอบผิดได, 0 คะแนน ซึ่งมี 2 สูตรคือ KR20 KR21
โดย KR20 นั้นมีข,อควรระวังดังนี้
(1) ข,อสอบจะต,องเป0นแบบทําถูกได, 1 คะแนน ทําผิดได, 0 คะแนน
(2) เนื้อหาของข,อสอบแต7ละข,อภายในฉบับจะต,องมีความเป0นเอกพันธ+ (Homogeneous)
และ KR21 นั้นมีข,อควรระวังดังนี้
(1) ข,อสอบจะต,องเป0นแบบทําถูกได, 1 คะแนน ทําผิดได, 0 คะแนน
(2) ข,อสอบแต7ละข,อจะต,องมีความยากง7ายเท7ากัน
(3) เนื้อหาของข,อสอบแต7ละข,อภายในฉบับจะต,องมีความเป0นเอกพันธ+ (Homogeneous)
จากข, อควรระวั งของสูตรทั้งสองนั้น จะเห็นได,ว7า KR20 มี ข,อควรระวังที่เ ป0นไปได,มากกว7า KR21
โดยเฉพาะข,อ 2 ของสูตร KR21 ที่กล7าวว7า ข,อสอบแต7ละข,อจะต,องมีความยากง7ายเท7ากัน
ในความเป0นจริงแล,ว เราจะพบได,ว7าเป0นการยากมากที่ครูเราจะแต7งข,อสอบ แล,วให,ข,อสอบทุกข,อมี
ความยากง7ายเท7ากัน เราก็เลยเลี่ยงไปคํานวณหาค7าความเชื่อมั่นโดยใช,สูตร KR20 แทน
จากข,างต,น ค7าความเชื่อมั่นยิ่งสูง ยิ่งดี (ใกล,เคียงกับ 1.00) แล,วมีปaจจัยใดบ,างที่ส7งผลต7อค7าความ
เชื่อมั่น?
เท7าที่ผมไปค,นคว,าเพิ่มเติม สรุปได,ว7าปaจจัยที่ส7งผลต7อความเชื่อมั่นมีดังนี้
1. ความชั ด เจนของคํ า ชี้ แจง ข, อสอบที่ มีคํ า ชี้ แจงที่ ชั ด เจนจะให, ค วามเชื่ อมั่ น สู ง กว7 า ข, อ สอบที่ มี
คําชี้แจงที่ไม7ชัดเจน
2. การกระจายของคะแนน ข,อสอบที่มีการกระจายของคะแนนมากจะให,ความเชื่อมั่นสูงกว7าข,อสอบ
ที่มีการกระจายของคะแนนน,อย
3. ความเป0นเอกพันธ+ของนักเรียน (Group Homogeneous) ข,อสอบที่ผู,สอบมีความแตกต7างกัน
มาก จะให,ค7าความเชื่อมั่นสูง
4. ความยากของข,อสอบ แบบทดสอบที่มีความยากง7ายพอเหมาะจะมีความเชื่อมั่นสูง
5. ความเป0 นปรนัย ในการให,คะแนน ข,อสอบที่มีความเป0 นปรนัย ในการให,คะแนนมากจะมีความ
เชื่อมั่นสูง
6. วิ ธี ก ารที่ ใ ช, ใ นการคํ า นวณ สู ต รที่ ใ ช, ใ นการคํ า นวณหาค7 า ความเชื่ อ มั่ น ต7 า งกั น จะทํ า ให, ค7 า
ความเชื่อมั่นต7างกัน
7. จํานวนข,อของข,อสอบ ข,อสอบที่มีจํานวนข,อมากจะให,ค7าความเชื่อมั่นสูงกว7าข,อสอบที่มีจํานวน
ข,อน,อย
8. ภาวะที่ไม7เป0นปกติในการสอบ การไม7ปฏิบัติตามเงื่อนไขในการสอบจะมีผลทําให,ค7าความเชื่อมั่น
ต่ํา เช7น การให,เวลาสอบเกินกว7าที่กําหนด ความเจ็บปhวยของผู,สอบ การทุจริตในการสอบ ฯลฯ
ท,ายนี้สิ่งที่สําคัญในการเลือกใช,สถิติประเภทต7าง ๆ นั้นก็คือ เงื่อนไขของสถิติในแต7ละตัว ดังเช7นที่ผม
ยกตัวอย7าง KR20 KR21 นั้นเองครับ เพราะงานของเราจะด,อยคุณค7าในทันที หากเราทําทุกอย7างมาเป0นอย7างดี
แต7วิเคราะห+ข,อมูลด,วยการเลือกใช,สถิติที่ผิดประเภท ต,องระวัง แล,วพบกันใหม7 สวัสดีครับ
ขอเคารพด,วยจิตคารวะในความเพียร
ณ กลุ7มนิเทศฯ
16 พฤษภาคม 2560
Download