Uploaded by eno neemas

KC4501031

advertisement
สถานภาพการผลิตสับปะรดเพื่อการแปรรูปในจังหวัดประจวบคีรีขันธ
Status of Pineapple Production for Pineapple Processing Industry
in Prachuap Khiri Khan Province
วิภาพร วีระไวทยะ1 รวิพิมพ ฉวีสุข1 ปรารถนา ปรารถนาดี1 ธนัญญา วสุศรี2 เจริญชัย โขมพัตราภรณ3
Wipaporn Veerawaitaya1 Ravipim Chaveesuk1 Parthana Parthanadee1 Thananya Wasusri2
Charoenchai Khompatraporn3
บทคัดยอ
ผลการสํารวจเกษตรกรผูผลิตสับปะรดใหกับบริษัทแปรรูปสับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธจํานวน
85 คน พบวา เกษตรกรมากกวารอยละ 80 เปนเกษตรกรภายใตระบบตลาดข อตกลง รูจักและปฏิบัติตาม
แนวทางเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) สําหรับสับปะรด เกษตรกรมีจํานวนพื้นที่เพาะปลูกผันแปรอยูในชวง 19-180
ไร สภาพพื้นที่ปลูกสวนใหญเปนที่ราบลุม (รอยละ 44.7) ดินรวนปนทราย (รอยละ 69.4) เกษตรกรสวนใหญ
พึ่งพาแหลงน้ําธรรมชาติ และสวนนอยมีการใหน้ําสับปะรดเพิ่มในฤดูแลง เกษตรกรทุกรายใชปุยเคมี สูตร 21-00, 15-15-15 และ 0-0-60 รวมกัน แทบทุกรายใชสารเคมีควบคุมและกําจัดวัชพืช และมีถึงรอยละ 9.4 ที่มีการเรง
ผลสุก ซึ่งเปนขอหามของ GAP ปริมาณผลผลิตของเกษตรกรที่สํารวจผันแปรอยูในชวง 3-13 ตันตอไร เฉลี่ย
เทากับ 6.09 ตันตอไร โดยมีขนาดผลสับปะรดผันแปรอยูในชวง 0.8-2.5 กิโลกรัมตอผล เฉลี่ยเทากับ 1.26
กิโลกรัมตอผล นอกจากนี้พบวาสภาพพื้นที่เพาะปลูก ชนิดของดิน ประสบการณในการปลูกสับปะรด การอยู
ภายใตระบบตลาดขอตกลง การปฏิบัติตาม GAP ไมมีอิทธิพลตอปริมาณและขนาดของผลผลิตสับปะรดอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.10 แตการที่เกษตรกรใหน้ําสับปะรดเพิ่มในชวงฤดูแลงสงผลใหปริมาณผลผลิต
เฉลี่ยสูงกวาเกษตรกรที่ไมใหน้ําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.10
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
ABSTRACT
A survey of 85 pineapple farmers who supply pineapples to a certain pineapple processing
company in Prajaubkeereekan province shows that more than 80% are contracted farmers, recognize
and follow the Good Agricultural Practice (GAP) for pineapple. These farmers hold the planting areas
between 19 and 180 Rai. The plantation areas are mostly low plain (44.7%) with a mixture of loose
and sandy soil (69.4%). Most farmers rely on natural water resources and small numbers employ
water irrigation during a period of drought. Every farmer uses chemical fertilizers in a combination of
21-0-0, 15-15-15, and 0-0-60. Nearly all farmers utilize chemicals to control and eliminate weeds and
9.4% of them continue to accelerate the ripening process, which is prohibited by GAP. Pineapple
production yields vary in the range of 3-13 tons per Rai with an average of 6.09 tons per Rai while the
fruit size fluctuates between 0.8 and 2.5 kg per fruit with an average of 1.26 kg per fruit. In addition,
land type, soil type, farmers’ experience, contract farming and GAP practices do not have a
significant effect on the yields and fruit size at a 0.10 level. However, water irrigation during drought
period significantly leads to higher production yields (p<0.10).
Key Words: pineapple production, demographic data, production factor, contract farming, GAP
R Chaveesuk: ravipim.c@ku.ac.th
1
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Division of Agro-Industry Technology Management, Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University
2
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี
Logistics Management Programme, Graduate School of Management and Innovation, King Mongkut’s University of Technology Thonburi
3
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี
Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology Thonburi
คํานํา
สับปะรดเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย มีปริมาณการผลิตและสงออกผลิตภัณฑสับปะรด
กระปองสูงเปนอันดับหนึ่งของโลก ดวยมูลคาการสงออกมากกวาหนึ่งหมื่นลานบาทตอป โดยในป 2548 นั้นมี
มูลคาถึง 18,102 ลานบาท (กระทรวงพานิชย, 2548) แหลงเพาะปลูกสับปะรดหลักอยูที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ
และกระจายอยูแถบจังหวัดระยอง ชลบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี และราชบุรี มีศักยภาพในการปลูกประมาณ
1.2 ลานไร มีพื้นที่เก็บเกี่ยวอยูในชวง 4-6 แสนไร และมีผลผลิตโดยรวมประมาณ 2.0-2.2 ลานตันตอป เฉลี่ย
ประมาณ 5.5 ตันตอไร ผลผลิตสามารถออกสูตลาดไดทั้งป แตมีปริมาณสูงในชวงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม
และเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2548a) ผลผลิตสับปะรดทั้งหมดจะมีการ
บริโภคภายในประเทศในรูปผลสดรอยละ 26 สงออกในรูปผลสดรอยละ 4 อีกรอยละ 70 จะถูกสงเขาโรงงานแปร
รูปเปนสับปะรดกระปองและน้ําสับปะรด เพื่อสงออก (กระทรวงอุตสาหกรรม, 2546) ถึงแมวาประเทศไทยจะมี
สภาพพื้นที่และดินฟาอากาศเหมาะสมกับการเพาะปลูกและมีความพรอมดานแรงงานในภาคการเกษตร มีคูแขง
ในตลาดโลกไมมากนัก ทวามีปริมาณผลผลิตตอไรต่ํา มีปริมาณและคุณภาพของผลผลิตไมคงที่ มีปริมาณสาร
ไนเตรทตกคางที่เกินมาตรฐาน ปญหาเหลานี้อาจเกิดจากปจจัยสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ เชน สภาพพื้นที่
ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิและปจจัยทางเทคโนโลยีการผลิตของเกษตรกร รวมถึงการรับรูและปฏิบัติตามแนวทาง
เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับสับปะรด (Good Agricultural Practice (GAP) for Pineapple)
ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงจัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมขอมูลสถานการณปจจุบันของการผลิตสับปะรดของเกษตรกร
โดยมีขอบเขตการศึกษาในจังหวัดประจวบคีรีขันธในดานประชากรศาสตร เทคโนโลยีการผลิต การปฏิบัติตาม
แนวทาง GAP และการเขารวมภายใตระบบตลาดขอตกลง (Contract Farming) เพื่อนํามาใชเปนขอมูลพื้นฐาน
ในการกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบการผลิตเพื่อใหเกษตรกรสามารถผลิตสับปะรดที่มีปริมาณพอเพียงและ
คุ ณ ภาพได ม าตรฐาน นํ า ไปสู ก ารเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการแข ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมสั บ ปะรดกระป อ งของไทย
โดยงานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่องการจัดการโซอุปทานของอุตสาหกรรมสับปะรด
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
อุปกรณและวิธีการ
งานวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจโดยการสัมภาษณและการใชแบบสอบถามกับเกษตรกรในจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ ในเบื้องตนมีการรวบรวมขอมูลจากเอกสารวิชาการ บทความ รายงานของหนวยงานตาง ๆ ที่
เกี่ ย วข อ งกั บ การผลิ ต สั บ ปะรด สั ม ภาษณ ตั ว แทนและกลุ ม ผู นํ า กลุ ม เกษตรกรผู ผ ลิ ต สั บ ปะรดในจั ง หวั ด
ประจวบคีรีขันธ เพื่อ นํามาสรางแบบสอบถามแลวนําไปทดสอบกับเกษตรกรเพื่อปรั บปรุงแบบสอบถามให
สมบูรณขึ้น แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้น ประกอบดวยขอมูล 2 สวน คือ สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและ
สังคมบางประการของเกษตรกร สวนที่ 2 การปฏิบัติของเกษตรกรที่เกี่ยวกับการผลิตสับปะรด
กลุมเปาหมายของการสํารวจโดยแบบสอบถามคือ เกษตรกรผูผลิตและสงสับปะรดเขาสูโรงงานแปรรูป
สับปะรดขนาดใหญในจังหวัดประจวบคีรีขันธ คือ บริษัททิปโกฟูดส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) การเก็บ
ตัวอยางเกษตรกรใชวิธีการสุมตัวอยางตามสะดวกโดยคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางที่ระดับความเชื่อมั่นในการ
ประมาณปริมาณผลผลิตสับปะรด รอยละ 95 กําหนดใหความกวางของชวงความเชื่อมั่นเปน 0.6 ตัน/ไร และผล
จากการสํารวจเบื้องตน พบวา คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณผลผลิตรวมตอไรเปน 2.54 ตัน/ไร คํานวณ
จํานวนผูตอบแบบสอบถามขั้นต่ําที่ตองใชคือ 69 คน ซึ่งงานวิจัยนี้ไดสัมภาษณเกษตรกรทั้งหมด 85 คน
วิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามและประมวลผลขอมูลทั้งหมดดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ SPSS
13.00 ซึ่งสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก พรรณนาสถิติ ประกอบดวย การวิเคราะหแจกแจงความถี่ การหา
คาเฉลี่ย และการหาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และอนุมานสถิติ ประกอบดวย การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
กับประชากร 2 กลุม และการวิเคราะหความแปรปรวน ที่ระดับนัยสําคัญ 0.10
ผลและวิจารณ
ลักษณะทางประชากรศาสตร
เกษตรกรผูตอบแบบสอบถาม มีอายุอยูในชวงวัยกลางคน (36-55 ป) มากที่สุด และมีมากกวารอยละ
80 ที่ใชแรงงานในครอบครัวเพียงไมเกิน 3 คน ดังนั้นจึงมีแนวโนมที่จะมีแรงงานหลักในภาคการผลิตที่ลดลง
ระดั บ การศึ ก ษาของเกษตรกรส ว นใหญ อ ยู ใ นระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษา ซึ่ ง อาจส ง ผลต อ การยอมรั บ และ
ความสามารถในการรับถายทอดและประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหม โดยเฉพาะทางดานสารสนเทศ ซึ่งจําเปนตอ
การบริ ห ารจั ด การระบบโซ อุ ป ทาน นอกจากนี้ ก ารถ า ยทอดความรู ค วรหลี ก เลี่ ย งการใช ศั พ ท ท างวิ ช าการ
ประสบการณของเกษตรกรในดานการเพาะปลูก คอนขางหลากหลาย มีทั้งที่ปลูกมามากกวา 15 ป และไมเกิน 5
ป แสดงใหเห็นวาผลตอบแทนจากการผลิตสับปะรดยังเปนที่จูงใจ เกษตรกรที่สํารวจมากกวารอยละ 80 เปน
เกษตรกรภายใตระบบตลาดขอตกลง เปนผูรูจักและปฏิบัติตามแนวทาง GAP สําหรับสับปะรด รายละเอียดดัง
แสดงใน Table 1
ลักษณะการรับรูขอมูลความรูเกี่ยวกับการปลูกสับปะรด
เกษตรกรในทองที่ที่ทําการศึกษา ไดรับความรูเกี่ยวของกับการปลูกสับปะรดจากแหลงตาง ๆ ซึ่งสวน
ใหญไดรับจากตัวแทนของบริษัทที่รับซื้อผลผลิตสับปะรด รองลงมาคือ จากสมาชิกในครอบครัวหรือญาติที่ปลูก
สับ ปะรด (Table 2) จะเห็ นไดวา เกษตรกรสนใจรั บรู ขอ มูลเพิ่ม เติ มจากลู กคา ญาติ สนิทหรื อ เพื่อ นบา นที่ มี
ประสบการณในการเพาะปลูกมานานมากกวาแหลงความรูจากทางราชการ การที่เกษตรกรไดรับความรูจาก
ตัวแทนของบริษัทมากที่สุด เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญอยูภายใตระบบตลาดขอตกลงของบริษัท และบริษัทมี
การติดตามและสงเสริมใหเกษตรกรปฏิบัติตามหลักการของ GAP เปนประจํา สื่อขาวสารความรูเกี่ยวกับ
สับปะรดหลักที่เกษตรกรใชคือคําแนะนําหรือเอกสารเผยแพร รองลงมาคือ วิทยุ ดังนั้นการสงเสริมความรูหรือ
เสนอแนะวิธีการแกไขปญหาการผลิตสับปะรดของเกษตรกรควรจะเนนการดําเนินการผานสื่อทั้ง 2 ประเภทนี้
เกษตรกรสวนใหญศึกษาหาวิธีแกปญหาดวยตนเองหรือปรึกษากับเพื่อนบาน เปนผลมาจากสภาพแวดลอมทาง
ธรรมชาติ และลักษณะการผลิตของเกษตรกรแตละรายไมเหมือนกัน อยางไรก็ตามเกษตรกรมากกวาครึ่งหนึ่งมี
การติดตอกับเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรของรัฐบาลโดยเฉพาะในเรื่องระบบการลงทุนและการใชปุย
ปจจัยการผลิตสับปะรด
เกษตรกรสวนใหญใชที่ของตนเองและเชาเพื่อการปลูกสับปะรด โดยเกษตรกรที่ทําการศึกษามีจํานวน
พื้นที่เพาะปลูกอยูในชวง 19-180 ไร เฉลี่ย 50 + 33 ไร สวนใหญมีพื้นที่การถือครองนอยกวา 70 ไร (Table 3)
และยังพบวาเกษตรกรบางสวนปลูกสับปะรดเปนพืชแซมพืชประเภทอื่น ๆ เชน มะมวง มะพราว ยางพารา
สภาพพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกรสวนใหญเปนพื้นที่ราบลุม รองลงมาคือพื้นที่ราบสูง และที่อื่น ๆ เชน ที่เชิงเขา
ดินในทองที่สวนใหญเปนดินรวนปนทราย เกษตรกรสวนมากใชน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา คลอง หวย
รองลงมา ไดแก แหลงน้ําที่สรางขึ้นเอง เชน บอ รองน้ํา แตเกษตรกรพึ่งพาระบบชลประทานนอยมาก
เกษตรกรที่สํารวจทุกรายปลูกสับปะรดพันธุปตตาเวีย (Table 4) ซึ่งเหมาะสมสําหรับการผลิตสับปะรด
กระปอง ลักษณะวัสดุปลูก (ตนพันธุ) เปนชนิดหนอพันธุเกือบทั้งหมด ใชปริมาณหนอพันธุอยูในชวง 4,00010,000 ตนตอไร เฉลี่ยประมาณ 6,000 + 1,140 ตนตอไร การปลูกดวยหนอ มีขอดีคือตนเจริญเติบโตเร็วและเนา
ยาก แตราคาหนอแพง ขนาดตนโตไมสม่ําเสมอ ซึ่งแตกตางจากเกษตรกรแถบระยองที่ใชจุกในการปลูก เกษตรกร
สวนใหญใชหนอพันธุจากไรของตนเอง โดยขนาดหนอพันธุที่เกษตรกรเลือกใชเปนหนอขนาดกลาง รองลงมา
ไดแก หนอขนาดเล็ก ซึ่งเปนการดีเนื่องจากการปลูกดวยหนอขนาดใหญในชวงฝนชุกนั้น เมื่อผานชวงหนาวแลว
ผลผลิตบางสวนมักออกผลและใหผลที่ไมสมบูรณ (วิจิตร, 2545)
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
Table 1 Demographic data of 85 pineapple farmers.
Demographic Data
Age
Education
Experience
< 25 yrs
26-35 yrs
36-45 yrs
46-55 yrs
> 56 yrs
< Primary education
Primary education
Secondary education
Diploma
Bachelor’s degree
> Bachelor’s degree
< 5 yrs
6-10 yrs
11-15 yrs
16-20 yrs
> 21 yrs
Yes / No
Yes / No
Yes / No
Percentage
4.7
17.6
36.5
30.6
10.6
3.5
76.5
15.3
2.4
1.2
1.2
20.0
22.4
7.1
20.0
30.6
85.5 / 14.5
84.2 / 15.8
82.4 / 17.6
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
Under contract farming
Be aware of GAP
Follow GAP
Table 2 Knowledge acquisition of pineapple farmers.
Knowledge Acquisition
Source
Media
Problem consulting
Contact with agricultural
extension officer
Member of family/Relatives
Neighbors
Agricultural extension officers
Expert/Professor
Company officers
Training
Others
Radio
Television
Newspaper
Brochures
Others
Neighbors
Relatives
Oneself
Leader of community
Government officers
Others
Percentage
24.7
18.8
9.4
1.2
35.3
1.2
9.4
14.5
6.6
2.6
65.8
10.5
30.6
10.6
35.3
3.5
2.4
17.6
Yes / No
61.2 / 38.8
การเตรี ย มต น พั น ธุ ข องเกษตรกรส ว นใหญ ใ ช ก ารชุ บ ด ว ยสารเคมี จํ า พวกฟอสอี ทิ ล -อะลู มิ เ นี ย ม
(Fosetyl-Al) และบางสวนเลือกใชการฉีดพนแทน เพื่อปองกันการเนาจากเชื้อรา ตามแนวทางของ GAP แตมี
เกษตรกรสวนนอยที่คัดขนาดหนอกอนปลูก ซึ่งการคัดขนาดหนอมีขอดี คือ ตนสับปะรดโตสม่ําเสมอ ตนเล็กไม
ถูกแยงน้ํา อาหาร และแสงแดด สามารถบังคับผลไดพรอมกัน ทําใหเก็บเกี่ยวพรอมกัน ประเมินปริมาณผลผลิต
งาย และประหยัดตนทุนในการบังคับผลและเก็บเกี่ยว (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2548b)
Table 3 Land use and environmental conditions of pineapple production.
Land and Environments
Land ownership
Land size
Land type
Soil type
Owned
Rented
Owned and rented
< 40 Rai
41-70 Rai
71-100 Rai
> 101 Rai
Low plain
Plateau
Others
Mixture of loose and sandy soil
Mixture of loose soil and clay
Others
Natural
Man made
Irrigation system
Others
Percentage
38.8
8.3
52.9
40.0
30.6
18.9
10.6
44.7
34.1
21.2
69.4
18.8
11.8
35.4
31.6
11.0
22.0
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
Water resource
1 Rai = 0.4 hectare
Table 4 Pineapple material for production.
Planting Material
Percentage
Variety
Pattawia
100
Type
Sucker
96.5
Sucker and Crown
3.5
Source
Owned
84.5
Purchase from neighbors
15.5
Size
Small (300-500 gram)
30.9
Medium (501-700 gram)
59.2
Large (701-900 gram)
9.9
Preparation
Chemical dipping
55.4
Chemical spraying
34.1
Size grading
32.9
แนวทางการปฏิบัติในการผลิตของเกษตรกร
ในชวงการเตรียมดินกอนการปลูก เกษตรกรสวนใหญใชการไถดะรวมกับการไถแปร (Table 5) ซึ่งการ
ไถดะทําเพื่อกําจัดวัชพืช สวนการไถแปรชวยใหดินแตกละเอียดและปรับระดับหนาดิน ระบบปลูกสวนใหญเปน
ระบบแถวคู เนื่องจากประหยัดพื้นที่ปลูกและตนทุนการปลูก ตนขึ้นหนาแนนทําใหมีวัชพืชนอย ลดการไหมของ
ผลและชวยลดโรคผลแกน สงผลใหผลผลิตตอไรสูงขึ้น (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2548b) มีเกษตรกรสวน
นอยที่ใชปูนขาวหลังจากขั้นตอนการเตรียมดินเพราะสภาพดินในจังหวัดประจวบคีรีขันธเปนกรดจัดถึงเปนกรด
จัดมาก (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2547) จึงตองปรับสภาพดินใหเปนดางเล็กนอย ในขั้นตอนการใสปุย
เกษตรกรทุกรายใชปุยเคมี โดยเฉพาะปุยสูตร 21-0-0 สูตร 15-15-15 และ สูตร 0-0-60 รวมกัน ธาตุไนโตรเจน
จําเปนตอการเจริญเติบโตใหตนสมบูรณ และธาตุโปแตสเซียมชวยใหตนทนทานตอโรค ผลสับปะรดเนื้อแนนสี
สวย เพิ่ม ปริมาณน้ําตาลในผล และเพิ่มปริมาณกรดเพื่อชวยลดโรคผลแกน (กระทรวงเกษตรและสหกรณ,
2548a) อยางไรก็ตามเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดตนทุน และลดปริมาณการใชปุยเคมีเกินความตองการ
ของสับปะรด ซึ่งจะตกคางในดินและในสับปะรดรุนถัดไปโดยเฉพาะสารไนเตรท จึงควรมีการใหขอมูลเกษตรกร
ในดานขององคประกอบของธาตุอาหารในดินในพื้นที่ดังกลาว ซึ่งมีการวิเคราะหอยูแลวจากกรมพัฒนาที่ดิน
พรอมทั้งคําแนะนําในการใสปุยในปริมาณเหมาะสม เกษตรกรสวนนอยมีการใหน้ําสับปะรดเพิ่มในฤดูแลงหรือ
ฝนทิ้งชวง (รอยละ 27) โดยการลากสายยางไปตามพื้นที่เพาะปลูกและพนน้ําใหกระจายใหทั่ว ในสวนขั้นตอน
การบังคับดอก สวนใหญนิยมใชถานแกส (CaC2)
เกษตรกรสวนใหญประสบกับปญหาศัตรูที่ทําลายสับปะรด เชน นก หนู กระรอก ดวง เปนตน แตมีสวน
นอยที่ใชสารเคมีกําจัดศัตรูดังกลาว เนื่องจากกลัวการตกคางของสารเคมีในผลสับปะรดเมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยว
โรคที่เกิดกับสับปะรด สวนมากจะเปนโรคตนเนา ซึ่งเกษตรกรมีวิธีแกปญหาคือ จุมหนอพันธุกอนปลูกและพน
ดวยสารปองกันกําจัดโรคตนเนา และโรคผลแกน ซึ่งเกษตรกรถึงรอยละ 89 ที่มีการใชสารเคมีปองกันโรคพืช
จําพวกฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม (Fosetyl-Al)
ลักษณะการเก็บเกี่ยวสับปะรดสวนใหญ เปนแบบทยอยเก็บ เนื่องจากผลผลิตสุกไมพรอมกัน ถึงแมวา
GAP จะหามใชสารเคมีทุกชนิดในการเรงผลสุก เนื่องจากจะทําใหน้ําหนักและคุณภาพของผลสับปะรดลดลง
(Bartholomew, 2003) แตยังมีเกษตรกรรอยละ 9.4 ที่ใชสารเคมีเรงผลสุก ดังนั้นจึงควรมีการรณรงคเพิ่มเติม
เกษตรกรจะประเมินวันเก็บเกี่ยวสับปะรดจากการพิจารณาสีของเปลือกสับปะรดเปนหลัก และเสริมดวยการนับ
อายุหลังการบังคับดอก เกษตรกรที่สํารวจมีปริมาณผลผลิตอยูในชวง 3-13 ตันตอไร เฉลี่ยเทากับ 6.09 + 1.71
ตันตอไร โดยมีขนาดผลสับปะรดพรอมเก็บเกี่ยวอยูในชวง 0.8-2.5 กิโลกรัมตอผล เฉลี่ยเทากับ 1.26 + 0.38
กิโลกรัมตอผล ซึ่งเบี่ยงเบนจากมาตรฐานการรับซื้อสับปะรดของโรงงานที่กําหนดขนาดผลอยูระหวาง 1.0-2.5
กิโลกรัม (กระทรวงอุตสาหกรรม, 2530) อยูเล็กนอย หลังขั้นตอนการเก็บเกี่ยว เกษตรกรสวนใหญฟนหรือตัดใบ
ของตนสับปะรดทิ้ง และหักหนอออกจากแปลงเพื่อปลูกใหม
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
Table 5 Pineapple farmer’s cultural practices.
Practices
Land and soil preparation
Plant arrangement
Fertilizer use
Chemical fertilizer
Weed control
Flower acceleration
Ripening acceleration
Pests
Fruit diseases
Harvesting
Maturity determination
Practices after harvesting
Plough roughly/ Plough in regular furrows
Plough roughly/ Plough in regular furrows/
Loosen plow
Single row
Double row
Chemical fertilizer
Chemical fertilizer and biofertilizer
Chemical and organic fertilizer
Chemical, organic fertilizer and
biofertilizer
21-0-0
15-15-15
0-0-60
Foliar fertilizers / Additives/ Hormone
30-20-10
Urea (46-0-0)
Control chemicals
Eradicating chemicals
Control and eradicating chemicals
Gas (CaC2)
Ethephon (2-Choloethyphosphonic acid)
Gas and Ethephon
Yes / No
Present / Absent
Use chemical control / Not use
Present / Absent
Use chemical control / Not use
All at one time
Multiple times
Date count
Listening to fruit sound
Fruit color
Sucker removal
Leaf pruning
Fertilizing
Percentage
74.1
25.9
7.1
92.9
38.8
31.8
15.3
14.1
90.6
71.8
78.8
56.4
10.6
64.7
1.30
1.30
97.40
62.2
17.6
20.3
9.4 / 96.6
75.3 / 24.7
15.7 / 84.3
85.9 / 14.1
89.4 / 10.6
13.4
86.6
58.8
10.6
91.8
38.0
82.0
16.5
การวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยทางสังคมและปจจัยการผลิต
ผลการศึกษาอิทธิพลของประสบการณในการเพาะปลูกสับปะรดของเกษตรกร การเขารวมระบบตลาด
ขอตกลงและการปฏิบัติตาม GAP ตอปริมาณและขนาดของผลผลิตสับปะรดที่ไดเปนดัง Table 6 พบวา
ประสบการณในการปลูกไมทําใหปริมาณและขนาดของของผลผลิตสับปะรดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติ แมวาในประสบการณปลูกชวง 16-20 ป จะมีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุด และประสบการณปลูกในชวง
นอยกวา 5 ป มีขนาดผลเฉลี่ยใหญที่สุด การเขารวมระบบตลาดขอตกลงและการปฏิบัติตาม GAP หรือไมก็ตาม
ไมสงผลใหปริมาณและขนาดของของผลผลิตสับปะรดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ถึงแมผลผลิตเฉลี่ย
และขนาดผลเฉลี่ยของเกษตรกรที่เขารวมระบบตลาดขอตกลงและการปฏิบัติตาม GAP จะดีกวาเกษตรกรที่ไมได
ทําสัญญาและเกษตรกรที่ไมปฏิบัติตาม GAP เกษตรกรบางรายใหขอคิดเห็นวา การปลูกสับปะรดตามขอปฏิบัติ
ของ GAP นั้นจะทําใหไดรับผลผลิตนอยลงเนื่องจากใสปุยนอยลง แตในความเปนจริงลูกคาตองการสับปะรดที่มี
ทั้งปริมาณและคุณภาพที่ดี และสม่ําเสมออยางตอเนื่อง ดังนั้นเกษตรกรที่ปลูกสับปะรดตามหลักการ GAP จึง
นาจะมีผลตอบแทนระยะยาวที่ดีกวา ซึ่งควรจะมีการศึกษาถึงผลการปฏิบัติตาม GAP ตอผลตอบแทนในรูปตัว
เงินในระยะยาวเพิ่มเติม อยางไรก็ตามในการศึกษาผลการปฏิบัติตาม GAP ของทุเรียน และมังคุด ในจังหวัด
จันทบุรี ระยอง และตราด พบวา เกษตรกรที่ปฏิบัติตาม GAP สวนใหญมีตนทุนการผลิตทุเรียน และมังคุดลดลง
แตราคาขายผลผลิตเทาเดิมและขายไดในราคาเดียวกันกับเกษตรกรที่ไมปฏิบัติตาม GAP (อรพินและคณะ,
2548)
ผลการวิเคราะหอิทธิพลของปจจัยการผลิตบางตัวตอปริมาณและคุณภาพของผลผลิตสับปะรดเปนดัง
Table 7 การใชที่ราบลุมไมสงผลใหมีปริมาณและขนาดผลผลิตเฉลี่ยตางจากที่ราบสูงอยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติ ซึ่งแนวทาง GAP ระบุวา สภาพพื้นที่ที่เหมาะสมของการปลูกสับปะรด ควรเปนพื้นที่ราบหรือดอน ไมมีน้ํา
ทวมขัง มีความลาดเอียงเล็กนอย นอกจากนี้ดินรวนปนทรายใหปริมาณผลผลิตเฉลี่ยและขนาดผลเฉลี่ยดีกวา
ดินรวนเหนียวเล็กนอย แตไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งลักษณะดินที่สับปะรดสามารถ
เจริญเติบโตไดดีคือดินที่ระบายน้ําดีและมีความเปนกรดเล็กนอย โดยเฉพาะดินรวน ดินรวนปนทราย ดินปนลูกรัง
ดินทรายชายทะเล (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2548a) เกษตรกรที่ใหน้ําสับปะรดเพิ่มเติมนอกจากใชน้ําตาม
ธรรมชาติ มีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยสูงกวาเกษตรกรที่ไมใหน้ําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และมีขนาดผลเฉลี่ยใหญ
กวาเกษตรกรที่ไมใหน้ําเล็กนอย แตไมมีความแตกตางทางสถิติ ดังนั้นจึงควรรณรงคใหมีการใหน้ําสับปะรดเพิ่ม
ในกรณี ที่ ป ริ ม าณน้ํ า ฝนมี ไ ม ส ม่ํ า เสมอตลอดฤดู ก าลปลู ก หรื อ ในช ว งฤดู แ ล ง ในขณะที่ ต น สั บ ปะรดกํ า ลั ง
เจริญเติบโต สวนวิธีการใหน้ําที่เหมาะสมนั้นควรจะมีการวิจัยเพิ่มเติมเพื่อไดวิธีการที่คุมคากับการลงทุนมากที่สุด
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
สรุปและขอเสนอแนะ
เกษตรกรผูผลิตสับปะรดสงใหกับบริษัทแปรรูปสับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ สวนมากเปนเกษตรกร
ภายใตระบบตลาดขอตกลง ปลูกสับปะรดตามหลักการ GAP เนื่องจากมีการติดตอและไดรับคําแนะนําเรื่องการ
ผลิตสับปะรดที่ถูกตองจากทางบริษัทผูรับซื้ออยางตอเนื่อง แตเกษตรกรยังประสบปญหาเรื่องความผันแปรของ
ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตและตนทุนที่สูงอยู เนื่องจากเกษตรกรเนนเพิ่มผลผลิตโดยวิธีการใสปุยเคมี โดย
ไมพิจารณาถึงสภาพของพื้นที่ และพึ่งพาแหลงน้ําจากธรรมชาติเปนหลัก นอกจากนี้ยังมีการใชสารเคมีเรงผลสุก
ซึ่งเปนขอหามของ GAP ดังนั้นรัฐบาลควรสงเสริมใหความรูและรณรงคใหเกษตรกรตระหนักถึงประโยชนและ
ผลตอบแทนระยะยาวจากการปฏิบัติตามหลักการ GAP อยางครบถวน พรอมทั้งสงเสริมระบบการใหน้ําดวย
วิธีการที่เหมาะสม ปรับปรุงระบบการชลประทานในพื้นที่ใหทั่วถึงมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสับปะรด
ทั้งทางดานปริมาณและคุณภาพ นําไปสูความยั่งยืนในการผลิตสับปะรดตอไป
คํานิยม
คณะผูวิจัยขอขอบคุณสํานักกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ผูใหทุนสนับสนุนการวิจัยนี้ ขอขอบคุณบริษัททิปโก
ฟูดส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ที่ใหโอกาสและความรวมมือในการเขาสัมภาษณเกษตรกรในเขตบริษัทและ
สํานักงานเกษตรจังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับเกษตรกรปลูกสับปะรดในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ รวมถึง
กลุมเกษตรกรที่ใหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยการผลิตและลักษณะทั่วไปของการปลูกสับปะรด
Table 6 Effects of farmers’ experience, contract farming, and GAP practice on pineapple yields and sizes.
Demographic Data
Experience
Under Contract farming
Follow GAP
< 5 yrs
6-10 yrs
11-15 yrs
16-20 yrs
> 21 yrs
Yes
No
Yes
No
Average Yield
(Tons/Rai)
6.40 (2.47)a
5.34 (1.01)a
5.75 (1.06)a
6.46 (1.78)a
5.97 (1.30)a
6.21 (1.88)a
6.00 (1.41)a
6.69 (1.95)a
5.00 (0.44)a
Average Size
(Kilogram/Fruit)
1.32 (0.41)a
1.20 (0.29)a
1.15 (0.21)a
1.16 (0.23)a
1.27 (0.50)a
1.32 (0.45)a
1.15 (0.21)a
1.25 (0.44)a
1.00a
Numbers in ( ) refer to standard deviation.
Numbers in the same column in the same box followed by the same letter are not statistically
different at a 10% significance level.
ัิทล
จ
ิ
์
ร
ด
้
ู
ร
ต
ม
ส
า
า
ว
ศ
ค
ร
ง
ั
ต
ล
ษ
ค
ก
ร
เ
า
ย
ั
ก
ล
ง
า
ร
ย
คโ
ิา ท
ว
ห
ม
Table 7 Effects of cultural factors on pineapple yields and sizes.
Cultural Factors
Land Types
Soil Types
Water Treatment
Low plain
Plateau
Mixture of loose and sandy soil
Mixture of loose soil and clay
Yes
No
Average Yield
(Tons/Rai)
6.04 (1.59)a
5.90 (1.67)a
6.07 (1.52)a
5.65 (1.93)a
6.63 (1.49)a
5.75 (1.60)b
Numbers in ( ) refer to standard deviation.
Numbers in the same column in the same box followed by the same letter are not statistically
different at a 10% significance level.
Average Size
(Kilogram/Unit)
1.19 (0.36)a
1.28 (0.38)a
1.23 (0.40)a
1.22 (0.26)a
1.34 (0.53)a
1.19 (0.28)a
เอกสารอางอิง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2547. เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจสับปะรดรายพันธุ, สํานักตรวจดินและวางแผนการใช
ที่ดิน, กรมพัฒนาที่ดิน, กรุงเทพฯ, กันยายน 2547.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2548a. การใชเทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อประเมินผลผลิต
สับปะรด ป 2548, สํานักตรวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, กรมพัฒนาที่ดิน, กรุงเทพฯ.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2548b. เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับสับปะรด, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.
กระทรวงพาณิชย. 2549. สับปะรดและผลิตภัณฑสับปะรด, www.dft.moc.go.th ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ
สื่อสาร, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 20 ตุลาคม 2549.
กระทรวงอุตสาหกรรม. 2530. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง, สํานักงานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ.
กระทรวงอุตสาหกรรม. 2546.แผนยุทธศาสตรสับปะรด, กรุงเทพฯ, สิงหาคม 2546.
วิจิตร วังใน. 2545. สับปะรด พืชอุตสาหกรรม, หางหุนสวนจํากัดมิตรเกษตรการตลาดและโฆษณา และเจริญ รัฐการ
พิมพ, กรุงเทพฯ, พิมพครั้งที่ 1.
อรพิน เกิดชูชื่น, ขนิษฐา พงษปรีชา, ณัฏฐา เลาหกุลจิตต และนภาพร เชี่ยวชาญ. 2548. รายงานฉบับสมบูรณ การศึกษา
รูปแบบการจัดการความปลอดภัยดานอาหาร: กรณีการใชขอกําหนดวิธีที่ดีในการเกษตรดานพืช, โครงการศึกษา
สถานการณและระบบการจัดการความปลอดภัยดานอาหารของประเทศไทย, สถาบันคลังสมองของชาติ,
กรุงเทพฯ.
Bartholomew D.P., R.E. Paull and Rohrbach. 2003. The Pineapple botany, production and uses. CABI
Publishing, USA. pp.136.
Download