Uploaded by Tanadol Kamthong

ชุด-ที่-๑-ชนิดของคำ

advertisement
๑
คาชีแ
้ จงสาหรับครูผส
ู้ อน
๑. ศึกษารายละเอียดจากคู่มือการใช้ชุดแบบฝึกเสริม
ทักษะให้เข้าใจ
๒. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล
และสื่อที่จาเป็นต้องเตรียมในแต่ละกิจกรรมการเรี
ยนรู้
๓. ศึกษาแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อบูรณ
าการเข้ากับกลุ่มสาระอื่น
๔. ศึกษารายละเอียดในแต่ละเนื้อหาให้เข้าใจ
ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน
ให้ถูกต้อง
ตรวจสอบการเฉลยและเกณฑ์การประเมิน
๕. แจ้งบทบาทและหน้าที่ของนักเรียน
กาหนดข้อตกลงร่วมกัน
๖. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ๒๐
ข้อในแต่ละชุด และทา
แบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบเดิมเมื่อเ
สร็จสิ้นการจัด
กระบวนการเรียนรู้ในแต่ละชุดพร้อมกับตรวจ
เฉลยและอธิบายคาตอบ
ที่ถูกต้อง
๒
๗. นาผลการทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนในแต่ละชุดม
าเปรียบเทียบกัน
๘. ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการที่ระบุไ
ว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
๙. เป็นที่ปรึกษาให้กับนักเรียนในระหว่างจัดกิจกรรม
และเป็นผู้นาในการสรุปเนื้อหาที่เรียนในแต่ละกิจ
กรรม
๑๐.ทาการสอนซ่อมเสริมถ้านักเรียนไม่ถึงเกณฑ์เป้าห
มาย
๑๑.ให้นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะให้ครบทุกชุด
คาชีแ
้ จงสาหรับผู้เรียน
๑. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนในแต่ละชุด ๒๐ ข้อ
๒. รับฟังการแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้จากครู
หรืออ่านจากคู่มือ
๓
๓. อ่านคาชี้แจงในแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจ
แล้วปฏิบัติตาม
๔. รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่มอย่างเ
คร่งครัด
๕. ปฏิบัติตามขั้นตอนและกระบวนการให้ครบตามที่ร
ะบุไว้
๖. ท่องศัพท์และทาความเข้าใจกับคาที่เกี่ยวข้องทุกเ
นื้อหา
๗. ปรับปรุงและพัฒนางานอย่างสม่าเสมอ
๘. ร่วมสรุปบทเรียนแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อ
สงสัย
๙. ยอมรับผลการประเมินจากครูผู้สอน
และพร้อมปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
๑๐.ทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วยความรอบคอบ
๔
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบฝึกเสริมทั
กษะ ชุดที่ ๑
เรือ
่ ง ชนิดของคา
คาชีแ
้ จง จงเลือกกาเครื่องหมาย  ทับอักษร ก ข ค
และ ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. คาว่า “ ป่า ”
มีส่วนประกอบกี่ส่วน
ก. ๒ ส่วน
ข. ๓ ส่วน
ค. ๔ ส่วน
ง. ๕ ส่วน
๒.
กลุ่มของเสียงที่ประกอบไปด้
วยเสียง
พยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ทม
ี่ นุษย์ได้
เปล่งออกมาหรือเขียน
ก่อให้เกิด
ความหมาย
เรียกว่าอะไร
ก. คา
ข. วลี
ค. กลุ่มคา
ง. พยางค์
๓. ประโยค “
ชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้
แต่ตอนนีฉ
้ ันไม่มีเธอแล้วฉัน
จะอยู่
ต่อไปได้อย่างไร” คาว่า ‘
เธอ’ เป็น
สรรพนามบุรุษใด
ก. บุรุษที่ ๑
ข. บุรุษที่ ๒
ค. บุรุษที่ ๓
๕
ง. บุรุษที่ ๔
ค. จดหมาย ๒ ฉบับ
ง. พระสงฆ์ ๒ องค์
๔
.
คาที่แสดงกิริยาอาการหรือส
ภาพของ
ค าน ามและสรรพ น าม
หมายถึงคา
ชนิดใด
๗.
ก. คานาม
ข้อใดเป็นคาวิเศษณ์บอกลัก
ข. คาสรรพนาม
ษณะ
ที่เป็นอาการ
ค. คากริยา
ง. คาวิเศษณ์
ก. เร็ว ช้า ไว
๕. “ นกบินสูงมาก
ข. กว้าง ยาว แคบ
”คาที่ขีดเส้นใต้
ทาหน้าที่ใดในประโยค
ง. เปรี้ยว หวาน เค็ม
ค. หอม เหม็น ฉุน
๘.
ข้อใดใช้คาขยายไม่ถูกต้อง
ข. ขยายคากริยา
ก. รถวิ่งเร็วมาก
ค. ขยายคาวิเศษณ์
ข.
ง. ขยายคาสรรพนาม
ชายคนนั้นสูงปรู๊ดเลย
๖.
ค.
ข้อใดบอกลักษณะนามได้ถูก ชุมชนนั้นมีผู้คนอยู่หนาแน่น
ต้อง
ง.
ก. ปากกา ๒ ปาก
รถวิ่งจอแจเต็มไปหมดบนถน
ข. สมุด ๑ ฉบับ
น
ก. ขยายคานาม
๖
๙.
แม่ไก่กาลังฟักไข่อยู่บนกอง
ฟาง
๑๑.
ฉันไม่ได้นอน……………ทั้
งคืน
คาที่ขีดเส้นใต้เป็นคาชนิดใด ควรเติมคาใดลงในช่องว่าง
ก. คานามบอกอาการ
ก. ตั้งแต่
ข. คานามบอกหมวดหมู่
ข. ตลอด
ค. คาสรรพนามบุรุษที่
๓
ง. คาวิเศษณ์ขยายคาส
รรพนาม
๑๐. “........................
จาพรรษาอยู่ที่วัดนี้
หรือขอรับ ”
ควรเติมคาใดลงใน
ช่องว่าง
ค. โดยตลอด
ง. โดยเฉพาะ
๑๒.
เธอผู้เลอโฉมกาลังเข้าพิธีแต่
งงาน
คาที่ขีดเส้นใต้ทาหน้าที่ใดใ
นประโยค
ก. ขยายคานาม
ก. ท่าน
ข. ขยายตากริยา
ข. คุณ
ค. ขยายคาวิเศษณ์
ค. พระสงฆ์เจ้า
ง. ขยายคาสรรพนาม
ง. พระคุณเจ้า
๑๓.
พ่อแม่ทางานหาเงิน………ใ
ห้ลูกอยู่
อย่างสบาย
ควรเติมคาใดลงในช่องว่าง
ก. เพื่อ
๗
ข. สาหรับ
ค. โดยเฉพาะ
ง. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
๑๔.
ประโยคใดใช้คาสันธาน
ก. เขารักแต่เธอ
ข.
เขาทาตามคาสั่งของพ่อ
๑๕. “
ค.
เขามาถึงบ้านเมื่อวานนี้
ง.
เขารักเธอแต่เธอไม่รักเขา
หนังสือ
ค.
เขาอ่านหนังสือจากนั้น
ก็ทา
คาที่ขีดเส้นใต้เป็นคาชนิดใด
การบ้าน
ง.
ก. คาบุพบท
เขาไม่ทาการบ้านทั้งเขาไม่
ข. คาสันธาน
อ่านหนังสือ
ค. คาอุทาน
๑๗.
ง. คาวิเศษณ์
ประโยคในข้อใดมีคาเชื่อมเ
๑๖.
พื่อ
ประโยคในข้อใดแสดงเหตุผ
แสดงเวลา
ล
ก. เขาแพ้เพราะไม่เชื่อ
ก.
ฟังผู้ฝึกสอน
เขาไม่อ่านหนังสือแต่
ข. เขาเดินได้ตอนหนึ่งข
ทาการบ้าน
วบ
ข.
ค. เขามาถึงตั้งแต่ไก่โห่
เขาสอบไม่ผ่านเพราะไ
ม่อ่าน
ง. เขาไปกับคุณพ่อ
พ่อแม่ทางานหนักเพือ
่ ลูก ”
๑๖
ง. คุณพระช่วย !
๑๘.
ประโยคในข้อใดมีคาอุทาน
ก.
ไม่น่าเชื่อว่าเขาจะเป็นเช่นนั้
น
ข. อนิจจา
ทาไมเขาเป็นเช่นนั้น
ค.
เชื่อหรือไม่ที่เขาเป็นคนเช่น
นั้น
ง.
เขาเป็นคนเช่นนั้นจริงๆหรือ
๑๙.
คาอุทานในข้อใดที่แสดงว่า
ผู้พูด
มีความรู้สึกตกใจ
ก. ว๊าว !
ข. อุเหม่ !
ค. อนิจจา !
๒๐.
ข้อใดใช้คาอุทานได้เหมาะส
มถูกต้อง
ก. อุ๊ย !
ไม่น่าพลาดเลย
ข. ไชโย !
ฉันสงสารเธอจัง
ค. ชิชะ
!หมอนี่ไม่รู้จักเราเสียแล้ว
ง. โอ๊ย !
ฉันสอบผ่านหมดทุกวิชา
๑๕
ใบความรู้
เรือ
่ งชนิดของคา
ความหมายของคา
ค
า
คื
อ
กลุ่ ม ของเสี ย งที่ ป ระกอบไปด้ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะ สระ
ว ร ร ณ ยุ ก ต์ ที่ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ เป ล่ ง อ อ ก ม า ห รื อ เขี ย น
ก่ อ ให้ เกิ ด ค ว าม ห ม าย เพื่ อ ใช้ ส าห รั บ สื่ อ ส ารกั น
สามารถถ่ ายทอดโดยการพู ด การเขี ย นเป็ น ตั ว อั ก ษร
ก า ร พู ด อ า ศั ย เ สี ย ง เ ป็ น สื่ อ ส่ ว น ก า ร เ ขี ย น
ก า ร อ่ า น ต้ อ ง ใ ช้ ตั ว อั ก ษ ร เ ป็ น สื่ อ
ซึ่ งถ้ อ ย ค าที่ เป็ น ตั ว อั ก ษ รจ ะป ระก อ บ ไป ด้ ว ย รู ป
พยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด และตัวการันต์
อย่ างน้ อยถ้ อยค าจะต้ อ งมี ส่ วนประกอบ ๓ ส่ว นขึ้ น ไป
เช่น
กา
พยัญชนะต้น ก สระ อา
วรรณยุกต์สามัญ
ส่วนประกอบ ๓ ส่วน
ป่า
พยัญชนะต้น ป สระ อา
วรรณยุกต์เอก
ส่วนประกอบ ๓ ส่วน
บ้าน
พยัญชนะต้น บ สระ อา วรรณยุกต์โท
ตัวสะกด น
ส่วนประกอบ ๔ ส่วน
๑๖
พ่าห์
พยัญชนะต้น พ สระ อา
วรรณยุกต์เอก ตัวการรันต์
ส่วนประกอบ ๔ ส่วน
กาญจน์ พยัญชนะต้น ก สระ อา
วรรณยุกต์สามัญ ตัวสะกด
ญ ตัวการรันต์ ส่วนประกอบ ๕ ส่วน
ถ้อยคาจะประกอบไปด้วยพยางค์ ตั้งแต่ ๑
พยางค์ขึ้นไป เช่น
หมู,หมา,กา,ไก่
-เป็นคาที่มี ๑
พยางค์
สุกร,สุนัข,ราคา,ระกา
-เป็นคาที่มี ๒
พยางค์
จระเข้,มรณะ,ธรณี,กรณี -เป็นคาที่มี ๓ พยางค์
ทะเล่อทะล้า,โกโรโกโส -เป็นคาที่มี ๔ พยางค์
สามะเลเทเมา
-เป็นคาที่มี ๕ พยางค์
ชนิดของคา
คาแบ่งของเป็น ๗ ชนิด คือ
๑
.
ค า น
า ม
คาที่ใช้เรียกชื่อสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งรูปธรรม
คื
อ
๑๗
และนามธรรม เช่ น คน สั ต ว์ พื ช สิ่ ง ของ สถานที่
อารมณ์ ความรู้สึก ฯลฯ
๒. คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้เรียกแทนคานาม
๓
.
ค า ก ริ ย า
คื อ
คาที่แสดงกิริยาอาการหรือสภาพของคานามและ
สรรพนาม
๔. คาวิเศษณ์ คื
อ
คาที่ประกอบคาอื่นเพื่อขยายเนื้อความให้มีความชัดเจ
นมากยิ่งขึ้น
๕. คาบุพบท คือ คาที่มีหน้าที่เชื่อมคา
หรือกลุ่มคาเพื่อแสดงความสัมพันธ์กับคาอื่น ๆ
ในประโยค
๖. คาสันธาน คื
อ
คาที่มีหน้าที่เชื่อมประโยคเพื่อแสดงความสัม
พันธ์
กับประโยคอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
๗. คาอุทาน คื อ ค าที่ เปล่ งออกมาโดยไม่ ตั้ งใจ
เพื่อแสดงอารมณ์และ
ความรู้สึกของผู้พูด
๑. คานาม
คานามแบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ
๑๘
๑.๑ คานามทัว
่ ไป คือ คาที่ใช้เรียกชื่อนามทั่ว
ๆไป ไม่เจาะจง ระบุความหมายกว้าง ๆ เช่น คน สัตว์
พืช หมา แมว ต้นไม้ ดอกไม้ วัด โรงเรียน กวี
นักวิทยาศาสตร์ นักกีฬา ทหาร นักร้อง ฯลฯ
๑ .๒
ค า น า ม เฉ พ า ะ
คื อ
ค า ที่ ใ ช้ เ รี ย ก ชื่ อ น า ม ที่ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง
ร ะ บุ ค ว า ม ห ม า ย แ ค บ แ ล ะ ชี้ เฉ พ า ะ เช่ น น า ย จั น
หนวดเขี้ ย ว เจ้ า ติ น ติ น (สุ นั ข ) มาดอนน่ า (นั ก ร้ อ ง)
เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา(โรงเรี ย น) สุ น ทรภู่ บิ ล คลิ น ตั น
บี โธเฟน ลีโ อนาโด ดาวิน ซี ทั ก ษิ ณ ชิ น วั ต ร ชวน
หลีกภัย
๑.๓ คานามบอกหมวดหมู่ คือ
คาที่ใช้เรียกชื่อนามที่เป็นหมวดหมู่ บ่งบอกจานวนมาก
เช่น คณะ ฝูง กอง นิกาย บริษัท สารับ ก๊ก เหล่า ชุด
กลุ่ม โขลง หมู่
๑ .๔
ค า น า ม บ อ ก อ า ก า ร
คื อ
ค า ที่ ใ ช้ บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ รู ป พ ร ร ณ สั ณ ฐ า น ข อ ง
ค
า
น
า
ม
ทั่
ว
ไ
ป
ลักษณะนามเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทยประการหนึ่ง
แสดงให้เห็นความละเอียดลออในการใช้ภาษา
ลักษณะนามแบ่งออกเป็น ๖ กลุ่มดังนี้
(๑ ) บ อ ก ช นิ ด เช่ น พ ระภิ ก ษุ , ส าม เณ ร,
บาทหลวง, - รูป ยักษ์,
ฤาษี - ต น ช้ างป่ า- ตั ว ช้ างบ้ าน เชือก
๑๙
(๒) บอกอาการ เช่น บุหรี่ - มวน พลู - จีบ ไต้ มัด ขนมจีน - จับ,หัว
ผ้า - พับ คัมภีร์ใบลาน - ผูก
(๓ )
บ อ ก รู ป ร่ า ง เ ช่ น ร ถ - คั น
บ้าน,เปียโน,จักร - หลัง ดินสอ - แท่ง
ปากกา - ด้าม กล้วย - เครือ,หวี ลูก
(๔) บอกหมวดหมู่ เช่ น ฟื น - กอง ทหาร หมวด พระ - นิกาย
นั ก เรี ย น - ค ณ ะ ล ะ ค ร - โ ร ง
กับข้าว - สารับ
(๕ ) บ อกจ าน วน มาต รา เช่ น ต ะเกี ย บ - คู่
ดินสอ - โหล เงิน,ทอง - บาท
ผ้า - เมตร ที่ดิน - ไร่,งาน,ตารางวา
(๖) ซ้าคานามข้างหน้า เช่น วัด - วัด โรงเรียน
- โรง คะแนน - คะแนน
ค น - ค น อ า เภ อ - อ า เภ อ จั ง ห วั ด –
จังหวัด
๑.๕ อาการนาม คือ คานามที่บอกกิริยาอาการ
อารมณ์ความรู้สึก สภาวะในจิตใจ
ใช้การและความนาหน้าคากริยาและวิเศษณ์ (อาการ
บ,ส-ความเป็นอยู่ ความเป็นไป สภาพ+นาม) เช่น
การวิ่ง
การเดิน การนอน การอ่านหนังสือ
๒๐
การออกกาลังกาย ความดี ความชั่ว
ความงาม ความสะอาด
ความสุข
ความง่วง
หน้าทีข
่ องคานาม
๑. คานามทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น
 มนุษย์ ทุกคนต้องการความสุข
 ปลาวาฬ เป็นสัตว์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
 นั
ก
ก
า
ร
เ มื
อ
ง
คนนี้ไม่รักษาสัญญาที่ให้ไว้กับประชาชน
 พ่อแม่ ทางานหนักเพื่อลูก ๆ
 งู เ ลื้ อ ย ก บ ก ร ะ โ ด ด เต่ า ค ล า น ม้ า วิ่ ง
คนเดิน นกบิน หนอน
๒. คานามทาหน้าที่เป็นกรรมหรือผู้ถูกกระทา เช่น
 งูกิน กบ
จระเข้กัด งู คนขี่ ม้า น ก จิ ก
หนอน
 ฉันแปลหนังสือหลายเรื่อง
 แม่ค้าขาย ผลไม้ หมดแล้ว
 แม่ตี น้อง
 ธรรมย่อมคุ้มครอง ผู้ประพฤติธรรม
 เกลือย่อมรักษา ความเค็ม
๓ . ค า น า ม ท า ห น้ า ที่ เ ป็ น บ ท ข ย า ย น า ม อื่ น
เพื่อให้ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
 สึ น า มิ ค ลื่ น ยั ก ษ์ ซั ด ถ ล่ ม 6
จังหวัดภาคใต้ของไทยจนราบเรียบ
 นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเป็นผู้มีความ
รู้และคุณธรรม
 ครูแม่พิมพ์ของชาติกาลังกลายเป็นแม่พิมพ์ผุ ๆ
๒๑
๔ . ค า น า ม ท า ห น้ า ที่ ข ย า ย ก ริ ย า
และใช้ตามหลังบุพบท เพื่อบอกสถานที่ เช่น
 น้ อ ง ช อ บ เ ดิ น เ ล่ น ใ น ส ว น ส า ธ า ร ณ ะ
(บอกสถานที่)
 เรานัดกันที่ร้านเดิม
( บอกสถานที่
)
 ครูสั่งให้นักเรียนขึ้นไปบนตึก
(
บอกสถานที่ )
 พวกเราจะไปเที่ยวที่เชียงใหม่
(
บอกสถานที่ )
 เขายอมเสียสละทุกอย่างเพื่อลูก
(
ขยายกริยา )
 ปลาหมอตายเพราะปาก
(
ขยายกริยา )
๕. ค านามท าหน้ า ที่ ข ยายกริ ย าเหนื อ ค านามอื่ น
โดยใช้บอกเวลา
 ฉันชอบอ่านหนังสือตอนเช้า ๆ
 นิทรรศการปิดวันอาทิตย์
 กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนประชาชนให้ระวังพายุ
ฤดูร้อน
 ข่าวเที่ยงวันได้รับความนิยมมาก
 วันนี้ฉันจะดูรายการภาพยนตร์เที่ยงคืน
๖ . ค า น า ม ใ ช้ เ ป็ น ค า เ รี ย ก ข า น
เพื่อเน้นหรือบอกความรู้สึก เช่น
 พระครูเจ้า นิมนต์ทางนี้ครับ
 นักเรียน เงียบ ๆ หน่อยได้ไหม
๒๒
 เด็ก ๆ ทาการบ้านเสร็จแล้วหรือยัง
 สมศรี จะไปดูหนังกับเราไหม
 คุณครู คะ กรุณาอย่าบังกระดานค่ะ
ที่มา : จงชัย
เจนหัตถการกิจ. หลักภาษาไทย.
กรุงเทพฯ : ธนาเพรส จากัด,
๒๕๕๐.
๒. คาสรรพนาม
คาสรรพนาม คือ
คาที่ใช้แทนคานามที่ผู้พูดหรือผู้เขียนได้กล่าวแล้วหรือ
เป็นที่เข้าใจระหว่างผู้ฟังและผู้พูด
เพื่อไม้ต้องกล่าวคานามซ้า มีวิธีใช้ดังนี้
๑. ใช้แทนชื่อคนที่สนทนากัน
แทนชือ
่ ผู้พด
ู
เช่น
ข้าพเจ้า
แทนชือ
่ ผู้ทพ
ี่ ด
ู ด้วย
เช่น
แทนชือ
่ ผู้ทเี่ ราพูดถึง เช่น
คือ
ฉัน ดิฉัน ผม กระผม
คุณ เธอ ท่าน ใต้เท้า
เขา เธอ ท่าน มัน
๒. ใช้แทนคาที่กล่าวมาแล้วเพื่อชี้ระยะ มีคาว่า นี่ นัน
่
โน่น ฯลฯ
๒๓
๓. ใช้แทนคาที่กล่าวมาแล้วเพื่อแบ่งหือรวมประโยค
มีคาว่า บ้าง กัน ต่าง ฯลฯ เช่น
ชาวบ้านแถบนี้บา้ งก็ทาไร่อ้อยบ้างก็ปลูกมันสาปะหลั
ง
เราต้องช่วยกันอนุรักษ์ธรรมชาติ
ทุกคนต่างก็ตั้งใจทางานเต็มที่
๔. ใช้แทนคาเพื่อเชื่อมประโยคที่มีคาว่า ที่ ซึง่ อัน
ฯลฯ เช่น
ฉันชอบหนังสือที่อ่านแล้วให้ความรู้
คนเราต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
การกระทาอันขาดสติย่อมเกมิดผลเสียแก่ตนเองแ
ละผู้อื่น
๕. ใช้แทนคาที่ไม่เฉพาะเจาะจง มีคาว่า ใคร อะไร
ไหน ฯลฯ เช่น
พูดเสียงอู้อี้ ๆใครจะไปฟังรู้เรื่อง
อะไร ๆ ก็ทาไม่เป็น
เธอจะเอาอย่างไหนกันแน่นะ
๓. คากริยา
๒๔
คากริยา คือ คาที่แสดงอาการของคน สัตว์
สิ่งของ และสิ่งอืน
่ ๆ
อาจมีความหมายรวมถึงอาการที่เป็นอยู่หรือการอยู่ใน
สภาพใดสภาพหนึ่ง เช่น ฝนตก แมวร้อง น้องวิง่ คาว่า
ตก ร้อง วิง่ ถือว่าเป็นคากริยาบอกอาการ
คากริยาแบ่งออกเป็น ๕ ชนิด ดังนี้
๑. กริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ เรียกว่า
อกรรมกริยา เช่น เดิน วิ่ง ร้องไห้
๒. กริยาที่ต้องอาศัยกรรม มาทาให้สมบูรณ์ เรียกว่า
สกรรมกริยา เช่น ทา
ซื้อ กิน
๓. กริยาที่ช่วยให้กริยาอื่น มีความหมายชัดเจนขึ้น
เรียกว่า กริยานุเคราะห์ เช่น คง จะ น่า แล้ว
อาจ นะ ต้อง ทาให้มีความหมายชัดเจนขึ้น
๔. กริยาที่ต้องอาศัยส่วนเติมเต็ม
เพื่อให้มีความหมายสมบูรณ์ ส่วนเติมเต็มนี้
ไม่ใช่กรรม คากริยาดังกล่า ได้แก่ เป็น เหมือน
คล้าย เท่า คือ
๕. กริยาที่ทาหน้าที่คล้ายนาม อาจเป็นประธาน
กรรม หรือบทขยายประโยคคา
กริยาชนิดนี้มักละคาว่า “การ” ไว้ เช่น
พูดอย่างเดียวไม่ทาให้งานสาเร็จหรอก
๒๕
๔. คาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ คือ คาที่บอกลักษณะต่าง ๆ
ของคานามและคากริยาให้มีความชัดเจนมากขึ้น
คาวิเศษณ์มักจะวางอยู่หลังคาขยาย
เพื่อช่วยให้ประโยคมีความหมายชัดเจน
หน้าทีข
่ องคาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ขยายคานาม เช่น
ไม้บรรทัดสีดาวางอยู่บนโต๊ะ
คาวิเศษณ์ขยายคาสรรพนาม เช่น
ใครหนอหยิบดินสอ
คาวิเศษณ์ขยายคากริยา เช่น ไก่ขันไพเราะ
คาวิเศษณ์ขยายคาวิเศษณ์
เช่น ครูสอนดีมาก
คาวิเศษณ์มห
ี ลายชนิด ดังนี้
๑. คาวิเศษณ์ทบ
ี่ อกลักษณะ เช่น
๒๖
บอกลักษณะที่เป็นอาการ เช่น เร็ว ช้า ไว
บอกลักษณะที่เป็นขนาด เช่น กว้าง ยาว แคบ
บอกลักษณะที่เป็นรส เช่น เปรี้ยว หวาน เค็ม
บอกลักษณะที่เป็นสี เช่น แดง ดา คล้า
บอกลักษณะที่เป็นกลิ่น เช่น หอม เหม็น ฉุน
๒. คาวิเศษณ์ทบ
ี่ อกเวลา
มักแสดงเวลาที่เป็นปัจจุบันหรืออนาคต เช่น ช้า
นาน ก่อน หลัง โบราณ เป็นต้น
๓. คาวิเศษณ์ทบ
ี่ อกสถานที่ เช่น ใกล้ ไกล บน ล่าง
นอก ห่าง ชิด
เป็นต้น
๔. คาวิเศษณ์ทบ
ี่ อกจานวน เช่น มาก น้อย
ทั้งหมด บ้าง ทั้งปวง เป็นต้น
๕. คาวิเศษณ์ทค
ี่ วามไม่เจาะจง เช่น ทาไม อย่างไร
เหล่าใด เป็นต้น
๖. คาวิเศษณ์ทบ
ี่ อกความแน่นอน
ทีเดียว แท้ เป็นต้น
เช่น นี่ นั่น โน่น
๗. คาวิเศษณ์ทม
ี่ ล
ี ักษณะเป็นคาถาม เช่น ไหน
อะไร อย่างไร เหตุไร
เป็นต้น
๘.คาวิเศษณ์ทแ
ี่ สดงการรับขาน
ขอรับ เป็นต้น
๙. คาวิเศษณ์ทแ
ี่ สดงความปฏิเสธ
หามิได้ ไม่ใช่ เป็นต้น
เช่น ขา ครับ จ๋า
เช่นไม่ มิได้
๒๗
๕. คาบุพบท
คาบุพบท คือ
คาที่ทาหน้าที่เชื่อมโยงคาหรือกลุ่มคา
เพื่อบอกให้รู้ถึงหน้าที่หรือตาแหน่งของคาเหล่านั้น
เช่น คุณแม่อยู่ในห้องนอน หนังสืออยูบ
่ นโต๊ะ
แมวอยูใ
่ ต้เตียง คาว่า ใน บน ใต้ เป็นคาบุพบท
คาบุพบทที่ใช้กันมาก คือ กลาง กับ แก่ เกือบ
ใกล้ ของ ข้าง แค่ จน จาก ด้วย แด่ โดย ตาม
ใต้ ที่ นอก ใน บน ระหว่าง ริม สาหรับ ฯลฯ
๖. คาสันธาน
คาสันธาน คือ
คาที่ใช้เชื่อมประโยคหรือข้อความให้ติดกันเป็นเรื่องเดี
ยวกัน
ประโยคหรือข้อความที่ได้อาจมีลักษณะเป็นเหตุเป็นผล
กัน ขัดแย้ง
กันคล้อยตามกันหรือให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ได้แก่ กับ และ จึง ถ้า เพราะ เพราฉะนั้น....จึง
เพราะว่า แต่ หรือ มิฉะนั้น ถึงแม้ว่า เมื่อ ครั้น...จึง
ถึง...ก็ ดังนั้น...จึง
ประโยคที่มีภาคแสดงเหมือนกันหลายประโยค
เราสามารถรวมเป็นประโยคเดียวกันได้โดยใช้สันธาน
กับ และ เป็นคาเชื่อม เช่น
ทิพย์ไปโรงเรียน
อิ๋วไปโรงเรียน
อิ๋วและรัตน์ไปโรงเรียน
รัตน์ไปโรงเรียน
ทิพย์
๒๘
มะลิรักพี่มาก
มะลิรักน้องมาก
มะลิรักพีก
่ ับน้องมาก
คาสันธานเชื่อมประโยคที่เป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น
ถึงเขาจะป่วยเขาก็ยัง
ไปโรงเรียน
คาสันธานเชื่อมประโยคที่ให้เลือกเอาอย่างใดอย่า
งหนึ่ง เช่น เธอจะไปเที่ยวกับฉันหรือจะอยู่เฝ้าบ้าน
๗. คาอุทาน
คาอุทานแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ
๗.๑ คาอุทานบอกอาการ
เป็นคาอุทานเพื่อบอกถึงอารมณ์และความรู้สึกของผู้พูด
เช่น
อารมณ์โกรธ
ชิชะ ชิๆ อุเหม่ ดูดู๋ เหม่ๆ
อารมณ์สงสาร
โถ อนิจจัง อนิจจา
พุทโธ่พุทธังเอ๋ย โธ่เอ๋ย
อารมณ์ตกใจ
โอ๊ะ ว๊าย คุณพระช่วย
อารมณ์ดีใจ
ไชโย เฮ้
ความรู้สึกเจ็บ
อุ๊ย โอ๊ย โอย
ความรู้สึกสงสัย
เอ เอ้ อือ
ความรู้สึกประหลาดใจ
โอ้โฮ เอ๊ะ เอ๋ โอ๊ะ
๒๙
ความรู้สึกราคาญ แหม อุ๊บ๊ะ
ความรู้สึกผิดหวัง โธ่เอ๋ย เฮ้อ ว้า
๗.๒ อุทานเสริมบท
ใช้เป็นคาสร้อยในคาประพันธ์ เช่น นา เอย เฮยแล
รา
คาเหล่านี้ไม่มีความหมายใช้เติมให้ครบฉันทลักษณ์เท่
านั้น บางครั้งใช้เป็นคาแทรกระหว่างคา เช่น เอ๋ย สิ
นา เอย ฯลฯ นอกจากนี้ยังใช้เลียนเสียงคาเดิมเช่น
อาหงอาหาร ขโมยขโจร กางโกงกางเกง เป็นต้น
ทีม
่ า : วิโรจน์ มังคละมณี , หลักภาษาไทย .
ฉะเชิงเทรา : ประสานมิตร ,
๒๕๔๕
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๑
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนพิจารณาคาที่ขีดเส้นใต้ในแต่ละข้อแล้วตอ
บว่าเป็นคานาม
ชนิดใดโดยเลือกคาตอบจากกรอบสี่เหลี่ยม
คานามทั่วไป
คานามบอกลักษณะ
คานามบอกหวดหมู่ คานามบอกอาการ
คานามเฉพาะ
ข้อ
ประโยค
ตัวอย่าง ฉันชอบเลี้ยงแมว
ชนิดของ
คานามท
๓๐
๑
ภาวิณช
ี อบร้องเพลง
๒
การนอนอย่างเพียงพอทาให้สุขภาพดี
๓
ความพยายามอยูท
่ ี่ไหนความสาเร็จอยู่ที่นั่น
๔
ฉันซื้อปากกามา ๒ ด้าม
๕
แม่ไก่กาลังฟักไข่อยู่บนกองฟาง
๖
เด็กเริ่มหัดเขียนต้องใช้ดน
ิ สอ
๗
คุณครูมอบรางวัลเรียนดีให้กับไข่มุก
๘
เขารู้สึกภาคภูมิใจในคุณความดีทเี่ ขาได้ทาไว้
๙
ปากกาด้ามนี้เขียนลื่นดีจัง
๑๐
คุณแพรชมพูไว้ผมทรงนี้เข้ากับใบหน้าดีมาก
ชือ
่ .................................................................
เลขที่ ................
้ ก...........
แบบฝึกเสริมชัทัน
ษะ
ชุดที่ ๒
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนเลือกคาในวงเล็บซึ่งเหมาะสมกับข้อความใ
นประโยค
ต่อไปนี้แล้วกาเครื่องหมาย  ทับคานั้น
๑. วันนี้ฉันขายที่นอนได้ ( ลูก , หลัง , ผืน ) เดียว
๓๑
๒. คุณพ่อซื้อปีชวาให้ฉัน ๑ ( เลา , อัน , เล่ม )
เป็นของขวัญวันเกิด
๓. ธงชาติไทยมี ๕ ( แถบ , ชิ้น , ผืน ) มีสี ๓ (
แถว , สี , ดวง )
๔. แม่ซื้อข้าวต้มผัดมา ๓ ( ห่อ , มัด , ชิ้น )
จากตลาด
๕. คุณพ่อซื้อแหมา ๒ ( ปาก , ผืน , อัน )
เพื่อพาฉันไปหาปลา
๖. เครื่องบิน ( ลา , เครื่อง , ตัว )
นั้นกาลังบินขึ้นเหนืออากาศ
๗. ถนน ( เส้น , สาย , ทาง )
นี้จะไปสิ้นสุดที่ประเทศพม่า
๘. ตารวจ ๓ ( คน , นาย , ท่าน ) กาลังไล่จับผู้ร้าย
๙. ดุริยางค์ไทย ๓ ( กลุ่ม , คณะ , วง )
ไปแข่งขันที่ประเทศจีน
๑๐. เธอต้องซื้อด้ายสีแดงมาอีก ๒ ( ม้วน , กลุ่ม ,
ไจ ) จึงจะพอปักเสื้อ
ชือ
่ .................................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
๓๒
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๓
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนเติมคาสรรพนามเติมลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้เห
มาะสม
๑. นายแดงชอบขับรถเร็วจน ............................
ต้องประสบอุบัติเหตุ
๒. ........................ จาพรรษาอยู่ที่วัดนี้หรือขอรับ
๓. .........................
ต้องจาไว้นะกานดาว่าแมนไม่ได้จริงใจกับใครหรอก
๔. คุณครู.......................ไม่สบายพวกเราต้องอยู่เงียบ
ๆอย่าส่งเสียงดัง
๕. ...............................ทั้งหมดกาลังเล่นฟุตบอลอยู่ก
ลางสนาม
๖. แมวตัวนั้น...................ตาบอดมองไม่เห็นหนู
หนูๆก็เลยพากันเริงร่าใหญ่
๗. ................................ทรงตระหนักว่าเกษตรกรไ
ทยกาลังประสบปัญหาหนัก
๘.............................. กับแกคงได้เห็นดีกัน
๙. พระคุณท่านเรียกหา..........................หรือขอรับ
๑๐. คุณครูคะ...............................ขออนุญาตเข้าห้อ
งค่ะ
๓๓
ชือ
่ .................................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๔
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนบอกบุรุษของคาสรรพนามที่ขีดเส้นใต้ในแต่ละข้
อต่อไปนี้
๑. เขาคงไม่มาแล้วหละพวกเราไปกันเถอะ.
๒. ขอให้เธอรักษาสุขภาพด้วยนะ
๓. กระผมขอนิมนต์พระคุณเจ้าไปฉันอาหารเพลที่บ้า
นกระผมในวันพรุ่งนี้
๔. ข้าพระพุทธเจ้าขอกราบบังคมทูลใต้ฝ่าละอองธุลี
พระบาทเกี่ยวกับหมาย
กาหนดการเสด็จเยี่ยมราษฎรที่ประสบภัยน้าท่วม
๕. สุนัขตัวนั้นมันคงคิดว่าหนูใหญ่ตัวนั้นเป็นแมว
๓๔
๖. ก็หล่อนสวยออกอย่างนั้นมีหรือที่เขาจะไม่หันมาม
อง
๗. คุณจะเอายังไงก็รีบว่ามาฉันไม่มีเวลามาก
๘.ขอให้ท่านเดินทางโดยสวัสดิภาพ
๙.
เด็กคนไหนทีค
่ ุณต้องการพบ
๑๐. ฉันคิดว่าเธอคนนั้นคงไม่สนใจเขาหรอก
๑. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๒. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๓. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๔. คาที่ ๑ เป็นบุรษ
ุ ที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๕. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๖. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๗. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๘. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ........................... คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๙. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๑๐. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ...........................
คาที่ ๒
เป็นบุรุษที่ ......................
๓๕
ชือ
่ .................................................................
กเสริมทัก
เลขทีแบบฝึ
่ ................
ชัษะ
น
้ ...........
ชุดที่ ๕
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนบอกชนิดของคาสรรพนามที่ขีดเส้นใต้ในประโย
คต่อไปนี้
๑. ชายผูซ
้ งึ่ กาลังเดินมาเป็นนายทหาร
๒. ภาษาไทยคือมรดกอันล้าค่าของประเทศชาติ
๓. นัน
่ ไงคนที่เราพูดถึงกาลังเดินมา
๔. เธอกาลังพูดกับใครกันจ๊ะ
๕. ใครๆก็ชมว่าฉันใส่ชด
ุ นี้สวย
๖. ผู้คนต่างหลั่งไหลเข้ามาชมงานบุญบั้งไฟ
๗. พระคุณเจ้าเสร็จจากฉันเพลแล้วหรือขอรับ
๘. หนังสือเล่มไหนเป็นของเธอจ๊ะ
๙. ฉันไม่ชอบให้ใครมาดูถูกบรรพบุรษ
ุ เช่นนี้
๑๐.
หลังจากที่ฉันบอกแล้วแกต้องไปเคลียร์กับเธอให้รู้เรื่องนะ
คาตอบ
๑.
....................................................................................
..........................
๒.
....................................................................................
..........................
๓๖
๓
....................................................................................
..........................
๔.
....................................................................................
..........................
๕.
....................................................................................
..........................
๖.
....................................................................................
..........................
๗.
....................................................................................
..........................
๘.
....................................................................................
..........................
๙.
....................................................................................
..........................
๑๐.
....................................................................................
........................
ชือ
่ ..............................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
๓๗
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๖
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้เป็นคากริยาประเภท
ใด
เขียนบอกชนิดของคากริยานั้น
โดยเติมชื่อต่อไปนี้
ก. สกรรมกริยา
ค. กริยานุเคราะห์
กริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม
ข. อกรรมกริยา
ง.
๑. ฝนตกแรงมาก
เป็น
.........................................
๒. เขาต้องมาแน่ถ้าเธออยู่ที่นี่
เป็น
.........................................
๓. นายแดงเป็นเหมือนญาติของฉัน
เป็น
.........................................
๔. เธอน่าจะซื้อบ้านหลังใหม่
เป็น
.........................................
๕. ครูลงโทษผู้ทาผิด
เป็น
.........................................
๖. น้าไหล
เป็น
.........................................
๗. นกบินสูงมาก
เป็น
.........................................
๓๘
๘. ภูเขาไฟระเบิด
เป็น
.........................................
๙. ลูกคือดวงใจของพ่อแม่
เป็น
.........................................
๑๐. เขาและเธอไปตลาด
เป็น
.........................................
ชือ
่ .................................................................
กเสริมทัชักน
เลขทีแบบฝึ
่ ................
้ ษะ
...........
ชุดที่ ๗
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนพิจารณาคาที่เป็นเส้นทึบและขีดเส้นใต้ในประโย
ค
แล้วบอกว่าเป็นคาวิเศษณ์ขยายคาชนิดใด
โดยใช้ตัวเลือกตอบ
ในกรอบสี่เหลี่ยม
ขยายคานาม
ขยายคาสรรพนาม
ขยายคากริยา
ขยายคาวิเศษณ์
๓๙
ข้อ
๑
ประโยค
นายวิษณุวิ่งเร็วยังกับลมพัด
๒
เธอผูเ้ ลอโฉมกาลังเข้าพิธีแต่งงาน
๓
มะม่วงน้าดอกไม้รสชาติหวานเย็นดี
๔
คณะสามโทนรักใคร่กันดีมาก
๕
นกน้อยตัวนั้นบินขึ้นสูงลิบลิว
่
วิเศษณ์ขยาย
๖
ไม้บรรทัดสีชมพูอันนั้นเป็นของฉันเอง
๗ ไก่โต้งโก่งคอขันเจื้อยแจ้ว
๘
ใครก็ได้ช่วยหยิบดินสอให้ฉันที
๙
โจทย์คณิตศาสตร์ข้อนี้ยากจังเลย
๑๐
ม่วงลูกนี้มีรสชาติเปรีย
้ วจัด
ชือ
่ .................................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๘
คาชีแ
้ จง ให้นักเรียนนาคาบุพบทที่กาหนดให้
เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
๔๐
๑. คุณแม่…………………….ฉันเป็นชาวสวน
๒. ฉันระบายสี………………….พู่กัน
๓. โรงเรียนเปิดเรียน…………………วันที่ ๑
พฤษภาคม
๔. นกทารังอยู่………………..ต้นไม้ใหญ่
๕. ฉันไม่ได้นอน……………………ทั้งคืน
๖. น้องเดินทางมาโรงเรียน…………………….ทางเ
รือ
๗. ดอกไม้ช่อนี้……………………..เธอคนเดียวจ้ะ
๘. ฉันมา…………………..โรงเรียนเวลา ๐๗.๐๐
นาฬิกา
๙. เรือแล่นลอด………………สะพาน
๔๑
๑๐.พ่อแม่ทางานหาเงิน…………………..ให้ลูกอยู่อ
ย่างสบาย
ชือ
่ ..............................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๙
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนเติมคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ลงในช่องว่างให้
เหมาะสม
แต่ , แล้วจึง , ไม่ว่า ,
หรือมิฉะนั้น , ดุจ , เพื่อ
ถึง.......แต่ , ถึงแม้ว่า , ครั้น .....ก็
, เพราะ .........จึง
๑. ฉันสวดมนตร์เสร็จ..................... เข้านอน
๒. ............เขาได้พบแล้วเขา ................ จากไป
๓. เขาอยากเรียนเก่ง..................ไม่เคยอ่านหนังสือ
๔. .............เขาจะจน.............ไม่เคยรบกวนใคร
๕. ....................ว่าเขาจะพ่ายแพ้เขาก็ยังมีความพย
ายาม
๔๒
๖. ..................เธอทาให้เขาเจ็บหลายครั้งเขา.........
....ต้องจา
๗.
เธอควรทาการบ้าน.........................ก็อ่านห
นังสือ
๘. แดงต้องไปมอบตัวที่โรงพัก................สารภาพค
วามจริง
๙.
เธอติดตามเขาทุกฝีก้าว...................เงาตาม
ตัว
๑๐.
................อะไรจะเกิดขึ้นฉันก็จะยังคงมุ่งเรียนต่อไ
ป
ชือ
่ .................................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
แบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๑๐
คาชีแ
้ จง
ให้นักเรียนพิจารณาคาอุทานต่อไปนี้แล้วบอกว่าผู้กล่า
วคาอุทานเหล่านี้
มีอารมณ์แบบใดตามที่กาหนดให้ต่อไปนี้
๔๓
ก. อารมณ์โกรธ
ข. อารมณ์สงสาร
ค. อารมณ์ตกใจ
ง.
ความรู้สึกเจ็บปวด
จ. ความรู้สึกทึ่ง ชื่นชม ฉ.
ความรู้สึกสงสัย
ช. ความรู้สึกประหลาดใจ
ซ.
ความรู้สึกราคาญ
ฌ. ความรู้สึกผิดหวัง
ญ.
อารมณ์ดีใจ
๑. อุ๊ย ! โอ๊ย ! โอย !
ตรงกับข้อ
.......................................
๒. เฮ้อ ! ว้า !
ตรงกับข้อ
.......................................
๓. ว๊าย ! คุณพระช่วย !โอ๊ะ !
ตรงกับข้อ
.......................................
๔. เฮ้ ! ไชโย !
ตรงกับข้อ
.......................................
๕. โธ่เอ๋ย ! อนิจจัง !อนิจจา !
ตรงกับข้อ
.......................................
๖. อุ๊บ๊ะ!
ตรงกับข้อ
.......................................
๗. ชิชิ ! ชิชะ ! อุเหม่ !
ตรงกับข้อ
.......................................
๘. โอ้โฮ ! เอ๊ะ ! เอ๋ ! โอ๊ะ !
ตรงกับข้อ
.......................................
๔๔
๙. เอ ! อือ !
ตรงกับข้อ
.......................................
๑๐. ว๊าว ! วุ๊ย !
ตรงกับข้อ
.......................................
ชือ
่ .................................................................
เลขที่ ................ ชัน
้ ...........
แบบทดสอบหลังเรียนแบบฝึกเสริมทั
กษะ ชุดที่ ๑
เรือ
่ ง ชนิดของคา
คาชีแ
้ จง จงเลือกกาเครื่องหมาย  ทับอักษร ก ข ค
และ ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. คาว่า “ ป่า ”
มีส่วนประกอบกี่ส่วน
ก. ๒ ส่วน
ข. ๓ ส่วน
ค. ๔ ส่วน
ง. ๕ ส่วน
๒.
กลุ่มของเสียงที่ประกอบไปด้
วยเสียง
พยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ทม
ี่ นุษย์ได้
เปล่งออกมาหรือเขียน
ก่อให้เกิด
ความหมาย
เรียกว่าอะไร
ก. คา
ข. วลี
ค. กลุ่มคา
ง. พยางค์
๓. ประโยค “
ชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้
๓๗
แต่ตอนนีฉ
้ ันไม่มีเธอแล้วฉัน
จะอยู่
ต่อไปได้อย่างไร” คาว่า ‘
เธอ’ เป็น
สรรพนามบุรุษใด
ก. บุรุษที่ ๑
ข. บุรุษที่ ๒
ค. บุรุษที่ ๓
ง. บุรุษที่ ๔
ก. ขยายคานาม
ข. ขยายคากริยา
ค. ขยายคาวิเศษณ์
ง. ขยายคาสรรพนาม
๖.
ข้อใดบอกลักษณะนามได้ถูก
ต้อง
ก. ปากกา ๒ ปาก
ข. สมุด ๑ ฉบับ
ค. จดหมาย ๒ ฉบับ
ง. พระสงฆ์ ๒ องค์
๔
.
คาที่แสดงกิริยาอาการหรือส
ภาพของ
ค าน ามและสรรพ น าม
หมายถึงคา
๗.
ชนิดใด
ข้อใดเป็นคาวิเศษณ์บอกลัก
ก. คานาม
ษณะ
ข. คาสรรพนาม
ที่เป็นอาการ
ค. คากริยา
ก. เร็ว ช้า ไว
ง. คาวิเศษณ์
ข. กว้าง ยาว แคบ
๕. “ นกบินสูงมาก
ค. หอม เหม็น ฉุน
”คาที่ขีดเส้นใต้
ง. เปรี้ยว หวาน เค็ม
ทาหน้าที่ใดในประโยค
๓๘
๘.
ก. ท่าน
ข้อใดใช้คาขยายไม่ถูกต้อง
ข. คุณ
ก. รถวิ่งเร็วมาก
ค. พระสงฆ์เจ้า
ข.
ง. พระคุณเจ้า
ชายคนนั้นสูงปรู๊ดเลย
ค.
ชุมชนนั้นมีผู้คนอยู่หนาแน่น
ง.
รถวิ่งจอแจเต็มไปหมดบนถน
๑๑.
น
ฉันไม่ได้นอน……………ทั้
๙.
แม่ไก่กาลังฟักไข่อยู่บนกอง งคืน
ฟาง
ควรเติมคาใดลงในช่องว่าง
คาที่ขีดเส้นใต้เป็นคาชนิดใด
ก. ตั้งแต่
ก. คานามบอกอาการ
ข. ตลอด
ข. คานามบอกหมวดหมู่
ค. โดยตลอด
ค. คาสรรพนามบุรุษที่
๓
ง. โดยเฉพาะ
ง. คาวิเศษณ์ขยายคาส
รรพนาม
๑๐. “........................
จาพรรษาอยู่ที่วัดนี้
หรือขอรับ ”
ควรเติมคาใดลงใน
ช่องว่าง
๑๒.
เธอผู้เลอโฉมกาลังเข้าพิธีแต่
งงาน
คาที่ขีดเส้นใต้ทาหน้าที่ใดใ
นประโยค
ก. ขยายคานาม
ข. ขยายตากริยา
๓๙
ก. เขารักแต่เธอ
ข.
ง. ขยายคาสรรพนาม
เขาทาตามคาสั่งของพ่อ
๑๓.
ค.
พ่อแม่ทางานหาเงิน………ใ
เขามาถึงบ้านเมื่อวานนี้
ห้ลูกอยู่
ง.
อย่างสบาย
เขารักเธอแต่เธอไม่รักเขา
ควรเติมคาใดลงในช่องว่าง
ค. ขยายคาวิเศษณ์
ก. เพื่อ
ข. สาหรับ
ค. โดยเฉพาะ
ง. โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
๑๔.
ประโยคใดใช้คาสันธาน
ก.
เขาไม่อ่านหนังสือแต่
พ่อแม่ทางานหนักเพือ
่ ลูก ”
ทาการบ้าน
ข.
คาที่ขีดเส้นใต้เป็นคาชนิดใด
เขาสอบไม่ผ่านเพราะไ
ม่อ่าน
จ. คาบุพบท
หนังสือ
ฉ. คาสันธาน
ค.
ช. คาอุทาน
เขาอ่านหนังสือจากนั้น
ซ. คาวิเศษณ์
ก็ทา
๑๖.
การบ้าน
ประโยคในข้อใดแสดงเหตุผ
ง.
ล
เขาไม่ทาการบ้านทั้งเขาไม่
๑๕. “
๓๙
อ่านหนังสือ
ข. อนิจจา
๑๗.
ทาไมเขาเป็นเช่นนั้น
ประโยคในข้อใดมีคาเชื่อมเ
ค.
พื่อ
เชื่อหรือไม่ที่เขาเป็นคนเช่น
แสดงเวลา
นั้น
ง.
ก. เขาแพ้เพราะไม่เชื่อ
เขาเป็นคนเช่นนั้นจริงๆหรือ
ฟังผู้ฝึกสอน
ข. เขาเดินได้ตอนหนึ่งข ๑๙.
คาอุทานในข้อใดที่แสดงว่า
วบ
ผู้พูด
ค. เขามาถึงตั้งแต่ไก่โห่
มีความรู้สึกตกใจ
ง. เขาไปกับคุณพ่อ
ก. ว๊าว !
ข. อุเหม่ !
ค. อนิจจา !
ง. คุณพระช่วย !
๑๘.
ประโยคในข้อใดมีคาอุทาน
ก.
ไม่น่าเชื่อว่าเขาจะเป็นเช่นนั้
น
๒๐.
ข้อใดใช้คาอุทานได้เหมาะส
มถูกต้อง
ก. อุ๊ย !
ไม่น่าพลาดเลย
ข. ไชโย !
ฉันสงสารเธอจัง
ค. ชิชะ
!หมอนี่ไม่รู้จักเราเสียแล้ว
ง. โอ๊ย !
ฉันสอบผ่านหมดทุกวิชา
๔๐
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนแบบฝึกเสริม
ทักษะ ชุดที่ ๑
เรือ
่ ง ชนิดของคา
๑. ข
๒. ก
๓. ค
๔.
๖. ค
๗. ก
๘. ก
๙.
๑๐. ง
๑๑. ข
๑๔. ง
๑๖. ข
๑๙. ง
๑๒. ง
๑๕. ก
๑๗. ค
๒๐. ค
๑๓. ก
ค
ข
๕. ข
๑๘. ข
๔๐
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๑
ข้อ
ตัวอย่ำง
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
ประโยค
ฉันชอบเลี้ยงแมว
ชนิดขอ
คำนำมท
ภำวิณช
ี อบร้องเพลง
คำนำมเฉ
กำรนอนอย่ำงเพียงพอทำให้สุขภำพดี
อำกำรน
ควำมพยำยำมอยูท
่ ี่ไหนควำมสำเร็จอยู่ที่นั่น
อำกำรน
ฉันซื้อปำกกำมำ ๒ ด้ำม
ลักษณะ
แม่ไก่กำลังฟักไข่อยู่บนกองฟำง
คำนำมหม
เด็กเริ่มหัดเขียนต้องใช้ดน
ิ สอ
คำนำมท
คุณครูมอบรำงวัลเรียนดีให้กับไข่มุก
คำนำมเฉ
เขำรู้สึกภำคภูมิใจในคุณควำมดีทเี่ ขำได้ทำไว้
อำกำรน
๔๑
๙
๑๐
ปำกกำด้ำมนี้เขียนลื่นดีจัง
คำนำมท
คุณแพรชมพูไว้ผมทรงนี้เข้ำกับใบหน้ำดีมำก
คำนำมเฉ
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๒
๑๐. วันนี้ฉันขายที่นอนได้ ( ลูก , หลัง , ผืน )
เดียว
๑๑. คุณพ่อซื้อปีชวาให้ฉัน ๑ ( เลา , อัน , เล่ม )
เป็นของขวัญวันเกิด
๑๒. ธงชาติไทยมี ๕ ( แถบ , ชิน
้ , ผืน ) มีสี ๓ (
แถว , สี , ดวง )
๑๓. แม่ซื้อข้าวต้มผัดมา ๓ ( ห่อ , มัด , ชิ้น )
จากตลาด
๔๒
๑๔. คุณพ่อซื้อแหมา ๒ ( ปาก , ผืน , อัน )
เพื่อพาฉันไปหาปลา
๑๕. เครื่องบิน ( ลา , เครื่อง , ตัว )
นั้นกาลังบินขึ้นเหนืออากาศ
๑๖. ถนน ( เส้น , สาย , ทาง )
นี้จะไปสิ้นสุดที่ประเทศพม่า
๑๗. ตารวจ ๓ ( คน , นาย , ท่าน )
กาลังไล่จับผู้ร้าย
๑๘. ดุริยางค์ไทย ๓ ( กลุ่ม , คณะ , วง )
ไปแข่งขันที่ประเทศจีน
๑๐. เธอต้องซื้อด้ายสีแดงมาอีก ๒ ( ม้วน , กลุ่ม ,
ไจ ) จึงจะพอปักเสื้อ
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๓
๑.
๓.
๕.
๗.
๙.
เขา
เธอ
พวกเขา
พระองค์ท่าน
กระผม
๒. พระคุณท่าน
๔. ท่าน
๖. มัน
๘. ฉัน
๑๐. หนู
๔๓
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๔
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่
เป็นบุรุษที่ ๒
คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่
คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่
เป็นบุรุษที่ ๓
คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่
คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่
๓ คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่ ๑
๑ คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่ ๒
๑ คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่ ๒
๒ คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่ ๓
๒
คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่
๑
๘. เป็นบุรุษที่ ๒
๙. เป็นบุรุษที่ ๒
๑๐. คาที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ๑
๒ คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่ ๓
คาที่ ๒ เป็นบุรุษที่
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๕
๑. คาสรรพนามใช้เชื่อมประโยค
๒. คาสรรพนามใช้เชื่อมประโยค
๓. คาสรรพนามใช้แทนนามชี้เฉพาะเจาะจง
๔. คาสรรพนามใช้แทนนามทั่วๆไป
๕. คาสรรพนามบุรุษที่ ๑
๖. คาสรรพนามที่ใช้แยกส่วนของคานาม
๔๔
๗. คาสรรพนามบุรุษที่ ๒
๘. คาสรรพนามใช้แทนนามทั่วๆไป
๙. คาสรรพนามบุรุษที่ ๓
๑๐. คาสรรพนามบุรุษที่ ๒
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๖
๑. อกรรมกริยา
๒. กริยานุเคราะห์
๓. กริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม
๔.
กริยานุเคราะห์
๕. สกรรมกริยา
๖. อกรรมกริยา
๗. อกรรมกริยา
๘. อกรรมกริยา
๙. กริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม
๑๐.
สกรรมกริยา
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๗
ข้อ
๑
๒
ประโยค
นายวิษณุวิ่งเร็วยังกับลมพัด
เธอผูเ้ ลอโฉมกาลังเข้าพิธีแต่งงาน
วิเศษณ์ขยาย
ขยำยกริยำ
ขยำยสรรพนำม
๔๕
๓
๔
๕
๖
มะม่วงน้าดอกไม้รสชาติหวานเย็นดี
ขยำยนำม
คณะสามโทนรักใคร่กันดีมาก
ขยำยกริยำ
นกน้อยตัวนั้นบินขึ้นสูงลิบลิว
่
ขยำยวิเศษณ์
ขยำยนำม
ไม้บรรทัดสีชมพูอันนั้นเป็นของฉันเอง
๗ ไก่โต้งโก่งคอขันเจื้อยแจ้ว
ขยำยนำม
ใครก็ได้ช่วยหยิบดินสอให้ฉันที
๘
ขยำยคำสรรพนำม
๙ โจทย์คณิตศาสตร์ข้อนี้ยากจังเลย
ขยำยคำนำม
๑๐
รถวิ่งชนลูกหมำที่นำ่ สงสำร
ขยำยกรรม
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๘
๑. ของ ๒. ด้วย ๓. ตั้งแต่ ๔. บน
ตลอด
๖. โดย ๗. สาหรับ ๘. ถึง
๑๐. เพื่อ
๕.
๙. ใต้
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๙
๑. แล้วจึง
๒. ครั้น......ก็
๔. ถึง.....แต่
๓. แต่
๔๖
๕. ถึงแม้ว่า
๖. เพราะ....จึง
หรือมิฉะนั้น ๘. เพื่อ
๙. ดุจ
๑๐. ไม่ว่า
๗.
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ
ชุดที่ ๑๐
๑. ความรู้สึกเจ็บปวด
ความรู้สึกผิดหวัง
๓. อารมณ์ตกใจ
๕. อารมณ์สงสาร
ความรู้สึกราคาญ
๗. ความรู้สก
ึ ราคาญ
ความรู้สึกประหลาดใจ
๙. ความรู้สึกสงสัย
ชื่นชม
๒.
๔. อารมณ์ดีใจ
๖.
๘.
๑๐. ความรู้สึกทึ่ง
Download