การประเมิน (ณัฐชัย วงศ์ศภ ุ ลักษณ์, 2563, pp. 121-140) กล่าวว่า การประเมินเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการตัดสินคุณค่าหรือตัดสิน ใจในผลการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจากตัวชีว ้ ัดผลการดาเนินงานที่สามารถสะท้อนคุ ณภาพ ความสาเร็จ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจกับผลที่เกิดขึ้น (วราสุนันท์, 2015)กล่าวว่า การประเมิน คือสิ่งสาคัญสาหรับหน่วยงานและองค์กรซึง่ แสดงถึงประสิทธิภาพและความรับผิด ชอบที่สามารถตรวจสอบได้ จากแรงขับทั้งภายในและภายนอกองค์กรทีม ่ ีต่อการประเมินทาให้องค์กรต้องการ สร้างความสามารถทางการประเมินหมายถึงกระบวนการพัฒนาความรู้ ทักษะ และเจตคติทางการประเมินของบุคคล กลุ่มบุคคลและองค์กร (รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย, 2016) กล่าวว่า การประเมินผลเปรียบเสมือนกระจกสะท้อนคุณภาพการจัดการเรียนรู้และคุณภาพ ผู้เรียน ทาให้ผู้สอน มีข้อมูลสารสนเทศน าไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งพัฒนาผู้เรียนรายบุคคล ให้เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ สมาพร มณีอ่อน, สานักงานเขตพื้นทีก ่ ารศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2, ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (2016): วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (มิถุนายน ตุลาคม 2559) กล่าวว่า การประเมินผลเป็นธรรมชาติ เป็นพลวัติในห้องเรียน การจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินต้องไปด้วยกัน เครื่องมือและวิธก ี ารทีใ ่ ช้มีหลากหลายประเภท แต่ไม่ได้หมายความว่าครูจะต้องใช้ทก ุ แบบ แต่ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ กิจกรรมการสอน พฤติกรรมของนักเรียน และสภาพของสถานการณ์จริงของการเรียนรู้ ณ ขณะนั้น ซึ่งครูต้องเลือกเป็นและเลือกให้เหมาะสม จึงจะเป็นการประเมินตามสภาพจริง พล เหลืองรังษี 1 นิสิตปริญญาเอก สาขาวิจย ั และประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, สายฝน วิบล ู รังสรรค์ 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร แนวทางการประเมินโครงการในโรงเรียน วารสารการวัดผลการศึกษา ปีที่ 37 ฉบับที่ 102 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563 กล่าว่า นักทฤษฎีการประเมินและนักวิชาการศึกษาต่างมีความเห็นสอดคล้องกันว่า “การประเมิน = การตัดสินคุณค่า”การตัดสินคุณค่าของโครงการว่าประสบความสาเร็จมากน้อยเพี ยงใด หรือโครงการมีอุปสรรคที่จะต้องได้รบ ั การพัฒนาขั้นตอนใดบ้าง ผู้ประเมินมีความจาเป็นต้องรู้จุดมุ่งหมาย (Goal) และวัตถุประสงค์ (Objectives) ของโครงการที่ชัดเจน (Patton, 1987). การประเมิน คือ กระบวนที่ใช้เพื่อการตรวจสอบ รวมถึงการรวบรวมและจัดเรียงวิเคราะห์ข้อมูลที่เกีย ่ วข้องกับกิจกรรม ลักษณะ และผลลัพธ์ของโครงการ ซึ่งมีวต ั ถุประสงค์ที่จะนามาเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ รวมถึงการพัฒนา ปรับปรุงประสิทธิภาพ และเป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจของผู้ทาโครงการ Patton, M.Q. (1987). Qualitative Research Evaluation Methods. Thousand Oaks, CA: Sage Publishers. 1. https://www.researchtrends.com/issue23-may-2011/research-assessment-101-an-introduction/ According to (Moed, 2011), ” Research assessment includes the evaluation of research quality and measurements of research inputs, outputs and impacts, and embraces both qualitative and quantitative methodologies, including the application of bibliometric indicators and mapping, and peer review.” 2. https://www.researchtrends.com/issue-36-march-2014/research-assessment/ Evaluative methods are used on several levels within the scientific world: (1) Institutional (including departmental) level, (2) Program level, and (3) Individual level. Each of these levels has its own objectives and goals 3. https://eric.ed.gov/?id=ED542650 This assessment is designed to encourage students to promote and improve their skills in teamwork, communication (writing, interpersonal interaction and cultural awareness, and presenting), critical and creative thinking (problem solving and decision-making), Information Technology literacy, and information literacy 4. https://www.learntechlib.org/primary/p/32887/ Peer evaluation is an effective way for every student participates in the team project actively 5. http://flexible-learning2015.sites.olt.ubc.ca/files/2015/03/peer-assessment-feedback.pdf Peer assessment/feedback is a form of assessment that considers students as active participants in the learning process, helps instructors monitor students’ progress, and boosts improvement in students’ work. References Moed, H. (2011, May). Research Assessment 101: An introduction. Retrieved from https://www.researchtrends.com/issue23-may-2011/research-assessment-101-anintroduction/ ณัฐชัย วงศ์ศภ ุ ลักษณ์, พ. ส. (2563). การพัฒนากรอบการประเมินการ. วารสารวิทยาลัยดุสต ิ ธานี. รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่. (2016). กระบวนทัศน์การประเมินผลการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. วราสุนันท์, พ. (2015). การสร้างความสามารถทางการประเมิน Vol 10. วารสารวิจย ั ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มศว. evaluation is useful to assess and compare when project was completed. For the government management, it helps to develop a database of construction project evaluation, contractor performance, and tendency of construction project performance