Uploaded by pichet pinit

บทความมหิดล ANUSIT Ekarut EDITTED

advertisement
1
จิตตปัญญาศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี : หนึ่งย่ างก้าวแห่ งหนทาง
Contemplative Education in King Mongkut’s University of Technology: a Pace towards
a Long Journey
เอกรัตน์ รวยรวย1, ดร.พิเชษฐ์ พนิ ิจ2, ดร.อนุศิษฏ์ อันมานะตระกูล2,ดร.วิศิษฏ์ ศรี วิยะรัตน์ 3
1
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาครุ ศาสตร์ โยธา 2,3ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาครุ ศาสตร์ เครื่ องกล 4นักวิจยั
คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่ อ
บทความฉบับนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อต้องการนาเสนอย่างก้าวสาคัญของการเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ น
จิตตปัญญาศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยการเริ่ มจากจุดเล็ก ๆ และค่อย ๆ
ขยายออกในวงกว้าง ผ่านกลุ่มคนที่ใช้ชื่อว่า “ชุมชนกระบวนกร มจธ.”
องค์ประกอบสาคัญของการการเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษา ประกอบด้วย 3 ส่ วนหลัก
คือ 1) พื้นที่ ทาการ ซึ่ งประกอบด้วย 4 หน่ วยงานหลัก ได้แก่ คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สถาบันการเรี ยนรู ้ สานักงานวิชาการศึกษาทัว่ ไป และ มจธ. ราชบุรี 2) วิธีการที่ใช้ ซึ่งประกอบด้วย3 กลไก 7
ยุทธศาสตร์ และ 3) ผูเ้ ผยแพร่ นาพาคือทีมกระบวนกร มจธ. ที่ทาหน้าที่เฝ้าสังเกตและน้อมนาให้เกิ ดการ
เปลี่ยนแปลง
ด้วยการแผ่ข ยายขององค์ค วามรู ้ ด้านจิ ต ตปั ญ ญาศึ ก ษาใน มจธ. ที ม กระบวนกรได้เรี ย นรู ้ และ
ยกระดับความสามารถของตนเองอย่างต่อเนื่ อง ส่ วนองค์ความรู ้ ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษามี การเผยแพร่ อย่าง
กว้างขวางใน มจธ. ทั้งในด้านการอบรมให้กบั อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา การเผยแพร่ องค์ความรู ้ ผา่ น
ชุ ม ชนกระบวนกร มจธ. การเข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่ งของนโยบายหน่ วยงาน และการน าไปประยุก ต์ใช้ใ น
ห้องเรี ยน ลักษณะเช่นนี้แสดงให้เห็นถึงการยอมรับจิตตปั ญญาศึกษาในสังคม มจธ. เป็ นอย่างดี
คาสาคัญ : กระบวนกร, จิตตปัญญาศึกษา, ชุมชนกระบวนกร มจธ.
1|P a g e
2
Abstract
This paper aims to present the important step in diffusing knowledge of contemplative education
at King Mongkut's University of technology Thonburi (KMUTT), starting at a small area and gradually
spreading all over KMUTT by a group of people called “The community KMUTT facilitator”.
The major components to diffuse knowledge of contemplative education consist of 3 parts: 1) the
area of operation on 4 main target institutes including Faculty of Industrial Education and Technology
(FIET), Learning Institute (LI), Office of General Education (GEN), and King Mongkut’s University of
Technology Thonburi Ratchaburi, 2) the methods used including 3 mechanisms and 7 strategies, and 3)
the KMUTT facilitator team serving to monitor and induce changes.
The diffusion of knowledge of contemplative education in KMUTT makes facilitator team
learning and levels up itself the ability continuously. In addition, the knowledge expand all over KMUTT
through training the teachers, personnel, and students, sharing knowledge inside the KMUTT’s facilitator
community, being a part of institutes’ policies, and applying the contemplative education in the classroom.
These situations demonstrate acceptance of contemplative education in KMUTT.
Keywords: Contemplative education, Facilitator, KMUTT’s facilitator community
2|P a g e
3
1. บทนา
จิตตปั ญญาศึกษาได้เริ่ มเข้ามาสู่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างจริ งจังใน
ระยะเวลา 3 ปี ที่ผา่ นมาโดยการนาพาของกลุ่มคนที่ใช้ชื่อว่า “ทีมกระบวนกร มจธ.” ประเด็นที่น่าสนใจก็คือ
เหตุใดมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่มุ่งเน้นศึกษาเรื่ องภายนอกตนยอมรับองค์ความรู ้ดา้ น
จิตตปัญญาศึกษาที่มุ่งเน้นการศึกษาเรื่ องภายในตนจนเกิดการแผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางภาพนี้ ทาให้เกิด
ความย้อนแย้งเชิ งสร้างสรรค์ที่ เปิ ดเผยถึงสภาพหลอมรวมของสองสิ่ งที่ ดูต่างขั้วกันแต่หลอมรวมกันและ
เสริ มแรงให้แก่กนั และกันได้ เหตุใดจึงเป็ นเช่นนั้น? เพื่อตอบคาถามนี้ ความเข้าใจในวิถีและวัฒนธรรมของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงเป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญยิง่
คณะผูว้ ิจยั ได้สื บ ค้น และพบว่าจิ ตตปั ญ ญาศึ ก ษาได้เข้ามามี บทบาทใน มจธ.ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2542
(หนังสื อ 50 ปี มจธ.) ขณะนั้นจิตตปั ญญาศึกษารู ้จกั กันภายใต้บุคลากรกลุ่มหนึ่ งที่เรี ยกตัวเองว่า “อาจารย์
เกื้อหนุ น (Facilitator)” ได้นาเอาองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษามาใช้ในการฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาพนั กงาน
ประจาการให้กบั ภาคอุตสาหกรรมผ่านโครงการทักษะวิศวกรรมแบบบูรณาการ (C-ChEPS) ในช่วงนั้นจิตต
ปั ญญาศึกษายังไม่เป็ นที่รู้จกั ในสังคมของ มจธ. มากนักและถูกนามาใช้ในกลุ่มเล็ก ๆ เท่านั้น การขยายตัวสู่
ส่ วนงานหลักของ มจธ. ยังไม่เกิดขึ้นอย่างเป็ นรู ปธรรมกล่าวได้วา่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาเพียงแค่
เริ่ มฝังตัวบนจุดเล็ก ๆ ในพื้นที่ของ มจธ. และรอคอยเวลาที่เหมาะสม พื้นที่อนั อุดม และผูค้ น้ พบที่จะนาไป
เผยแพร่ ให้กว้างขวางต่อไป
ธรรมชาติที่สาคัญอีกประการหนึ่ ง ของ มจธ. ที่ เข้ากันได้กบั องค์ความรู ้ ด้านจิตตปั ญญาศึกษา คือ
มจธ. เป็ นสถาบันการศึ กษาที่ มี ความสนใจต่อการเรี ยนรู ้ ม าอย่างยาวนานในปี พ.ศ. 2540 มจธ.ได้นาเอา
วิธีการจัดการเรี ยนรู ้แนวผูเ้ รี ยนเป็ นผูส้ ร้างองค์ความรู ้ดว้ ยตนเองมาเป็ นต้นแบบในการจัดการเรี ยนรู ้ และใน
ปี พ.ศ.2545 มจธ.ได้จ ัด ตั้ง หน่ ว ยงานที่ ชื่ อ ว่า “สถาบัน การเรี ย นรู ้ (Learning Innovation Institute)” เพื่ อ
รองรั บ การวิจ ัย และพัฒ นาการเรี ย นรู ้ ท างด้านวิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี สิ่ ง นี้ เป็ นจุ ด เริ่ ม ต้น ในการ
พัฒนาการเรี ยนรู ้ของ มจธ. ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
จวบจนผ่านไปเป็ นเวลาเกื อ บ10ปี ในปี พ.ศ.2554 มจธ.ได้ป ระกาศแผนปฏิ บ ัติก ารด้านพัฒ นา
การศึกษา2555-2559 (บัณฑิต ฑิพากร, 2554) ที่วา่ ด้วยนโยบายการพัฒนาด้านการเรี ยนรู ้ในชื่ อที่เรี ยกโดยย่อ
ว่า “KMUTT Education 3.0” นโยบายดังกล่าวมุ่งเน้น พัฒนาเทคนิควิธีการจัดการเรี ยนรู ้ สภาพแวดล้อมใน
การเรี ยนรู ้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เอื้ออานวยความสะดวกให้กบั ครู โดยมุ่งหวังว่าจะสามารถที่จะ
ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ ภายใต้แผนการพัฒนาการศึกษาฉบับนี้ ได้กาหนดกรอบคุณลักษณะบัณฑิตอันพึง
ประสงค์ไว้ 11 ด้าน (KMUTT-Student QF, 2554) ในประเด็นนี้ คณะผูว้ ิจยั เล็งเห็ นว่ากระบวนการดังกล่าว
มุ่ ง เน้ น พัฒ นาเครื่ องมื อ และเทคนิ ค วิ ธี ที่ จ ะช่ ว ยให้ ค รู ส ามารถจัด การเรี ยนรู ้ ไ ด้ ดี ข้ ึ นได้ แต่ ย ัง ขาด
กระบวนการพัฒนาตัวครู ให้สามารถพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ให้แก่ผูเ้ รี ยนได้ ซึ่ ง รศ. ดร. ศักริ นทร์ ภูมิรัตน
อธิ การบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้กล่าวว่า “ในห้องเรี ยนควรมีคุณลักษณะ 2 อย่าง
เกิ ดขึ้น คือ การสอนและการช่ วยให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
3|P a g e
4
ส่ วนใหญ่จะทาหน้าที่สอน เราควรเติมเต็มห้องเรี ยนโดยการพัฒนาผูท้ ี่ทาหน้าที่สร้างการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นแก่
ผูเ้ รี ยน” คากล่าวนี้ ช้ ี ชดั ได้เป็ นอย่างดี วา่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ยังขาดผูท้ ี่จะทาหน้าที่
พัฒนาทักษะเพื่อการเรี ยนรู ้ ให้แก่ผูเ้ รี ยน ซึ่ งผูว้ ิจยั เห็ นว่าจิตตปั ญญาศึกษาสามารถเติ มเต็มในประเด็นนี้ ได้
เป็ นอย่างดี
การขับ เคลื่ อนการเรี ยนรู ้ ผ่านนโยบาย “KMUTT Education 3.0” ส่ งผลต่ อการเปลี่ ย นแปลงการ
จัดการเรี ยนรู ้ในหน่วยงานต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง มจธ. ราชบุรีมีความสนใจที่จะพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ของ
ผูเ้ รี ยนภายใต้แนวคิด “อาศรมมหาวิทยาลัย (Residential College)” (สมชาย จันทร์ชาวนา, 2555) สถาบันการ
เรี ยนรู ้ ตระหนัก ถึ ง ความส าคัญ ในการพัฒนาเป็ นหน่ วยยุท ธศาสตร์ ในการขับ เคลื่ อน มจธ. ไปสู่ ก ารเป็ น
องค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ (สถาบันการเรี ยนรู ้ , 2547) สานักงานวิชาศึ กษาทัว่ ไปให้ความสาคัญกับการพัฒนา
คุ ณ ลัก ษณะของผูเ้ รี ย นเพื่ อ เป็ นมนุ ษ ย์ที่ ส มบู ร ณ์ (ส านั ก งานวิ ช าศึ ก ษาทั่ว ไป, 2552) คณะครุ ศ าสตร์
อุตสาหกรรมฯ กาหนดเป้ าหมายที่จะนาการจัดการเรี ยนรู ้เชิงรุ ก (Active Learning) มาขับเคลื่อนการจัดการ
เรี ยนรู ้ภายในองค์กร (คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี , 2556) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ได้
นาเอารู ป แบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบฐานของปั ญหา (Problem Based Learning: PBL) (ภาควิชาวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์ มจธ., 2547). มาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนทั้งภาควิชาฯ อีกทั้งคณาจารย์บางท่านในคณะ
วิทยาศาสตร์ ก็ได้เริ่ มทาวิจยั ด้านการเรี ยนรู ้
สิ่ งที่ได้กล่าวข้างต้นแสดงให้เห็นถึงโอกาสอันดีที่จิตตปัญญาศึกษาจะเข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งของ มจธ.
ด้วยเหตุน้ ี คณะผูว้ ิจยั จึงมีความมุ่งมัน่ อย่างแรงกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวนาพาจิตตปั ญญาศึกษาเข้ามาช่ วย
เติม เต็มให้ผูส้ อนรู ้ จกั วิธีส ร้ างการเรี ยนรู ้ ให้แก่ ผูเ้ รี ยน และช่ วยเติม ช่ องว่างการเรี ยนรู ้ และร่ วมขับ เคลื่ อน
นโยบายด้านการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของ มจธ.
เนื่ องจาก มจธ. เป็ นมหาวิทยาลัยที่เน้น ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และจะให้ความสาคัญกับ
หลักคิดที่เป็ นเหตุผลที่สามารถพิสูจน์และอธิ บายได้ ขณะที่ จิตตปั ญญาศึกษาเป็ นเรื่ องภายในจิตใจที่ตอ้ ง
พิสูจน์ดว้ ยตนเอง การที่จะอธิ บายในเชิงหลักการอันจะนาไปสู่ ความเข้าใจในแก่นแท้ของจิตตปั ญญาศึกษา
จึงเป็ นเรื่ องที่ยาก หลักคิดในช่ วงเริ่ มต้นของการเผยแพร่ จึงเน้นไปที่การปฏิ บตั ิเป็ นตัวอย่างเพื่อให้เห็นจริ ง
และให้ได้สัมผัสประสบการณ์ดว้ ยตนเอง สิ่ งเหล่านี้ ทาให้คณะผูว้ ิจยั ต้องหวนกลับมาใคร่ ครวญในประเด็น
การยอมรับและมุ่งแสวงหาวิธีการอันเหมาะสมที่จะช่ วยเผยแพร่ องค์ความรู ้ ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาใน มจธ.
ได้ วิธีการที่คณะผูว้ ิจยั เลือกใช้ก็คือการใช้คาว่า จิตตปั ญญาศึกษา ให้น้อยที่สุด แต่อาศัยกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ งที่
เรี ยกว่า “ทีมกระบวนกร มจธ.” เป็ นแกนหลักในการขับเคลื่อนจิตตปั ญญาศึกษา นับตั้งแต่น้ นั มาสังคม มจธ.
ก็ได้รู้จกั คาว่ากระบวนกรเป็ นครั้งแรก องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปัญญาศึกษาโดยการนาพาของทีมกระบวนกรทา
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการเรี ยนรู ้ไปอย่างช้า ๆ และค่อย ๆ ขยายวงกว้างออกไป จนถึงปัจจุบนั
จากการทดลองเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาใน มจธ. (เอกรัตน์ รวยรวยและคณะ, 2555)
ได้เฝ้ าสังเกตการเปลี่ ยนแปลงของสภาพการณ์ ในการแผ่ขยายขององค์ความรู ้ ด้านจิตตปั ญ ญาศึ กษาและ
4|P a g e
5
ดาเนินการด้วยหลากหลายวิธีการลงไปยังจุดสาคัญที่เป็ นช่ องว่างให้สามารถนาองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญา
ศึกษาสามารถเติมเต็มลงไปได้
ผลจากการวิจยั แสดงให้เห็นว่า ในช่วงระยะเวลา 1 ปี องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาสามารถแผ่
ขยายใน มจธ. ได้เป็ นอย่างดีและเป็ นที่ยอมรับมากขึ้น ในช่วงดังกล่าวมีบุคลากรจากหลากหลายหน่วยงาน
ให้ความสนใจเข้าร่ วมและเป็ นสมาชิ กในเครื อข่ายชุ มชนออนไลน์ (Facebook) ของ มจธ. เช่ น คณาจารย์
เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ทั้งนี้ คณาจารย์ในคณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจานวน 15 คน ได้นา
กระบวนการจิตตปั ญญาศึกษาไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนมากกว่า 10 รายวิชา โดยหลอมรวมกับแนว
ทางการเรี ยนรู ้แบบตื่นรู ้ (Active learning) ซึ่ งทาให้เกิ ดการเผยแพร่ องค์ความรู ้ ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาไปสู่
นักศึกษาประมาณ 300 คน การได้รับการสนับสนุ นจากผูบ้ ริ หารระดับสู งของ มจธ. ถือเป็ นปั จจัยสาคัญใน
การขับเคลื่อนและทาให้เกิ ดผลลัพธ์ขา้ งต้น ผลการวิจยั ดังกล่าวทาให้คณะผูว้ ิจยั วิเคราะห์อย่างต่อเนื่ องเพื่อ
สื บค้นหาร่ องรอยแห่ งความสาเร็ จ โดยให้ความสนใจไปที่ การนากลไก 3 วิธีและยุทธศาสตร์ 7 ด้านไปใช้
ในการเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษา
เพื่อให้เห็นความต่อเนื่องเชิ งประจักษ์ งานวิจยั ฉบับนี้ นาเสนอภาพรวมของจิตตปั ญญาที่ เพิ่งย่างก้าว
ก่อเกิ ดใน มจธ. ในช่ วงระยะเวลา 1-2 ปี คณะผูว้ ิจยั รวมทั้งทีมกระบวนกรได้นาพาตัวเองเข้าไปมีส่วนรวม
ในทุกกิ จกรรมเพื่อบันทึกข้อมูลปฐมภูมิ และร่ วมกันวิเคราะห์ขอ้ มูลดังกล่าวเพื่อหาช่องทางอันเป็ นกุญแจ
สาคัญที่จะนาไปใช้ในการเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพ ซึ่งคาดว่าส่ งผลให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงต่อการจัดการเรี ยนรู ้ในสังคมของ มจธ. อย่างก้าวกระโดดต่อไป และเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่
สนใจที่จะนาจิตตปั ญญาศึกษาให้แผ่ขยายออกไปมากยิง่ ขึ้น
2. กรอบแนวคิดและวิธีการวิจัย
บทความฉบับนี้ เป็ นผลการศึกษาวิจยั ที่ต่อเนื่ องจากงานวิจยั เรื่ อง “การเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตต
ปั ญญาศึกษาใน มจธ. ” 2557 ซึ่ งได้นาเสนอในงานประชุ มวิชาการครั้งที่ 6 จิตตปั ญญาศึกษาพลังแห่ งการ
ฟื้ นฟูและสร้างสรรค์สังคม ในบทความนี้ คณะผูว้ ิจยั มีแนวคิดที่จะนาเสนอความก้าวหน้าของการพัฒนาทีม
กระบวนกรและการแผ่ขยายของจิตตปั ญญาศึกษาใน มจธ. ผ่านมุมมองของการวิจยั ที่ประกอบด้วยกลไก 3
วิธี (M1.ความสัมพันธ์ส่วนตัว, M2. การปฏิบตั ิให้เห็นจริ ง และ M3. การสร้างระบบและวิธีการรองรับ) และ
ยุทธศาสตร์ 7 ด้าน (S1. การพัฒนาทีมกระบวนกร, S2. การพัฒนาทักษะกระบวนกร, S3. ชุมชนนักปฏิบตั ิ,
S4. เครื อข่ายชุ มชนออนไลน์ (Facebook), S5. การอบรมจิตตปั ญญาศึกษา, S6. การประยุกต์ใช้ในห้องเรี ยน
และ S7. การขับเคลื่อนระดับนโยบาย)
การศึกษาโดยการนาพาตัวเองเข้าไปมีส่วนร่ วมในทุกกิจกรรมของทีมระบวนกร รวมทั้งการสังเกต
การแผ่ขยายตัวของจิตตปัญญาศึกษา ใน มจธ. สามารถอธิบายรายละเอียดตามกรอบแนวคิดได้ดงั นี้ (รู ปที่ 1)
กรอบแนวคิดมี 3 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ทีมกระบวนกรที่ทาหน้าที่เป็ นผูน้ าพาองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญา
ศึ ก ษา 2) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ สั ง เกตการเปลี่ ย นแปลง (3 กลไก 7 ยุท ธศาสตร์ ) และ 3) พื้ น ที่ ท าการหมายถึ ง
5|P a g e
6
หน่ วยงานต่ าง ๆ ใน มจธ. การเผยแพร่ จิตตปั ญ ญาศึ ก ษาดาเนิ นการด้วยกระบวนการต่ าง ๆ ที่ เหมาะสม
จากนั้นทีมกระบวนกรเฝ้ าสังเกตการเปลี่ ยนแปลง การตอบสนองของพื้นที่ ต่าง ๆ เพื่อค้นหาช่ องทางที่จะ
เผยแพร่ ในระดับที่ลึกซึ้ งต่อไป
KMUTT
รู ปที่ 1 กรอบแนวคิดของการวิจยั
3. อภิปรายผล
การนาเสนอผลการวิเคราะห์จะร้อยเรี ยงผ่านเหตุการณ์สาคัญที่ก่อให้เกิดการณ์เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้
เพื่อให้ผูอ้ ่านเห็นมิติของการเติบโตงอกงามของทีมกระบวนกร มจธ. และการแผ่ขยายออกขององค์ความรู ้
ด้านจิตตปั ญญาศึกษาไปสู่ หน่วยงานต่าง ๆ ใน มจธ.ได้ชดั เจนมากยิง่ ขึ้น
3.1 ทีมกระบวนกร มจธ.
จิตตปั ญญาศึ กษาใน มจธ. เริ่ มจากการรวมกลุ่ มของบุ คลากร มจธ. ที่ส นใจองค์ความรู ้ ด้านจิตต
ปั ญ ญาศึ ก ษา และมี ค วามเชื่ อ ร่ ว มกัน ว่า จิ ต ตปั ญ ญาศึ ก ษาจะช่ ว ยให้ ส ามารถเรี ย นรู ้ จิ ต ใจในระดับ ลึ ก
6|P a g e
7
เปลี่ยนแปลงตนเอง และสร้างสังคมของการอยูร่ ่ วมอย่างมีความสุ ขได้ ซึ่ งกล่าวไว้ในสื่ อสังคมออนไลน์หรื อ
เฟสบุ๊ก ชุ มชนกระบวนกร มจธ. (2013) การรวมตัวในช่ วงแรกเกิ ดจากการชักชวนเหล่ ากัลยาณมิ ตรผ่าน
ความสัมพันธ์ ส่วนบุ คคลโดยคานึ งถึ งความหลากหลายครอบคลุ มพื้นที่ หลัก 4 หน่ วยงาน ได้แก่ คณะครุ
ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันการเรี ยนรู ้ สานักวิชาการศึกษาทัว่ ไป และ มจธ. ราชบุรี ทั้งนี้
เพื่อเป็ นการเตรี ยมการรองรับการขยายตัวของจิตตปั ญญาศึกษาที่ จะแผ่ขยายตัวในอนาคต และเนื่ องจาก
กระบวนการจิตตปั ญญาศึกษาเป็ นการศึกษาโลกภายในตนซึ่ งเป็ นเรื่ องยากที่จะอธิ บายให้เข้าใจ การชักชวน
เหล่ากัลยาณมิตรเพื่อมาร่ วมทีมในช่วงแรกจึงใช้วธิ ี ปฏิบตั ิให้เห็นจริ งผ่านการชักชวนไปร่ วมอบรมเผยแพร่ ที่
จัดให้กบั หน่วยงานต่าง ๆ
ในช่ วงต้น พ.ศ. 2555 กระบวนกรที่สามารถนาพาการเรี ยนรู ้และ/หรื ออบรมได้มีอยู่เพียง 3 คน ซึ่ ง
เริ่ มต้นด้วยการจัดอบรมให้บุคลากรของ 4 หน่วยงานที่เป็ นพื้นที่เป้ าหมายหลักผ่านโครงการต่าง ๆ โดยอาศัย
ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลที่รู้จกั กัน กล่าวคือ โครงการการพัฒนาเจ้าหน้าที่สายสนับสนุนของคณะครุ ศาสตร์
ฯ โครงการพัฒนาอาจารย์ใหม่ที่รับผิดชอบโดยสถาบันการเรี ยนรู ้ และโครงการพัฒนาทักษะการอานวย
ความสะดวก (Facilitation skills) ให้กบั อาจารย์ มจธ. ราชบุรีโดยร่ วมมือกับสถาบันการเรี ยนรู ้ การอบรมแต่
ละครั้งทาให้จิตตปั ญญาศึกษาเริ่ มแผ่ขยายในยังบุคลากรของ มจธ. และหน่วยงานต่าง ๆ มากขึ้น
เมื่อความต้องการในการอบรมจากหน่วยงานต่าง ๆ เริ่ มมากขึ้น ทีมกระบวนกรที่มีอยูเ่ พียง 3 คนไม่
สามารถที่จะรองรับได้ การสร้างทีมกระบวนกรให้มีจานวนที่มากขึ้นจึงเป็ นประเด็นสาคัญที่ตอ้ งวางแผน
งานต่อไป การสร้างทีมดังกล่าวเริ่ มด้วยการชักชวนบุคลากรซึ่ งเป็ นอาจารย์จานวน 10 คน จาก 4 หน่วยงาน
โดยเน้นหน่ วยงานที่เป็ นพื้นที่เป้ าหมายเข้าร่ วมโครงการ “เพาะเมล็ดพันธุ์กระบวนกร” คณาจารย์กลุ่มหนึ่ ง
จานวน 5 คนไปเรี ยนรู ้กบั อาจารย์วศิ ิษฏ์ วังวิญญู และอีกกลุ่มหนึ่ งจานวน 5 คน ไปเรี ยนรู ้กบั ศูนย์จิตตปั ญญา
ศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิ ดล หลังจากนั้นทีมกระบวนกรทั้ง 10 คนก็ได้ร่วมกันจัดทาโครงการ “แตกหน่ อ
กระบวนกร” ให้กบั อาจารย์อีกประมาณ 30 คน ปั จจุบนั ทีมกระบวนกรมีส มาชิ กรวมทั้งสิ้ น 18 คน จาก
หลากหลายหน่วยงาน ทีมกระบวนกรมีความเชื่อร่ วมกันว่าทีมที่เข้มแข็งสามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ได้ สิ่ ง ส าคัญ ที่ ที ม เห็ น ร่ วมกัน คื อ ทุ ก คนรวมเป็ นที ม เพื่ อพัฒ นาตนเองควบคู่ ไ ปกับ การเผยแพร่ ใ ห้ผูอ้ ื่ น
แนวความคิดนี้นาทางการเผยแพร่ จิตตปั ญญาศึกษามาจนถึงปั จจุบนั
3.2 ชุ มชนกระบวนกร มจธ.
ทีมกระบวนกร มจธ. ได้พฒั นาตนเองผ่านการอบรมให้กบั หน่ วยงานต่าง ๆ อย่างต่อเนื่ อง โดยมี
กระบวนกรหลัก 4 คนผลัดกันทาหน้าที่ นาการอบรมและหมุนเวียนกระบวนกรท่านอื่ นที่ เข้ามาใหม่เพื่ อ
เรี ยนรู ้และสร้างประสบการณ์ ผ่านการอบรมร่ วมกัน (Job Shadowing) การอบรมแต่ละครั้งทีมกระบวนกร
จะทาให้ผทู ้ ี่เข้ารับการอบรมหลายคนสนใจที่จะเรี ยนรู ้ อย่างต่อเนื่ อง ทีมได้ก่อเกิดองค์ความรู ้ อย่างมากมาย
และเกิดแนวคิดที่จะรวบรวมไว้เป็ นหลักแหล่งเพื่อสร้างประโยชน์ให้แก่ผทู ้ ี่สนใจเดินทางร่ วมกัน
7|P a g e
8
แนวความคิดนี้ นาไปสู่ การจัดตั้งกลุ่มที่มีชื่อว่า “ชุมชนกระบวนกร มจธ.” ในช่วงที่เริ่ มก่อตั้ง ชุ มชน
กระบวนกร มจธ. ที ม ได้ใ ช้เครื่ องมื อ ที่ ส าคัญ 2 ประการ ได้แก่ เวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ (Community of
Practice: CoP) และเฟสบุ๊ ก กลุ่ ม ของชุ ม ชนกระบวนกร มจธ. ซึ่ งต่ อมาได้พ ฒ
ั นาจนกลายมาเป็ นชุ ม ชน
กระบวนกร มจธ. ออนไลน์ ที่มีการสื่ อสารกันในกลุ่มสมาชิกได้อย่างมีชีวติ ชีวา
ชุมชนกระบวนกร มจธ. ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างน้อย 3 ประการ ได้แก่ เป็ นแหล่งเผยแพร่ งาน
จิตตปั ญญาศึกษาที่เหล่ าสมาชิ กในที มได้ร่วมกันท าเป็ นจุดศู นย์กลางในการเรี ยนรู ้ด้านจิตตปั ญญาศึกษา
สาหรับกระบวนกรด้วยกันเองและผูส้ นใจที่ เข้ามาใหม่และเป็ นสัญลักษณ์ ในการสื่ อสารด้านจิตตปั ญญา
ศึกษาให้กบั สังคม มจธ. ได้รับทราบ
นอกจากนั้นงานหล่อเลี้ ยงชุ มชนได้กลายเป็ นภารกิ จใหม่ที่ทีมกระบวนกร มจธ. ต้องร่ วมกันดู แล
จนถึ งปั จจุบนั การเกิ ดขึ้ นของชุ มชนกระบวนกร มจธ. ทาให้ได้เรี ยนรู ้ ความหมายของคาว่า “ทีม” ในอีก
ระดับหนึ่ ง ทุ กคนเข้ามาในชุ มชนด้วยจุ ดประสงค์ที่ ต่างกัน และให้ความช่ วยเหลื อชุ มชนในมุ มที่ ต่างกัน
ชุ ม ชนไม่ มีก ารก าหนดภาระงานที่ แน่ นอนตายตัวว่าผูใ้ ดจะต้องท าอะไร ทุ ก คนเข้ามาร่ วมในชุ ม ชนตาม
โอกาสที่แต่ละบุคคลจะสามารถทาได้ การปฏิบตั ิเช่นนี้ นาพาทีมกระบวนกรไปพบกับความหมายของคาว่า
ทีมที่มีความยืดหยุ่นและมี ชีวิตชี วา สิ่ งนี้ ทาให้ทีมกระบวนกร มจธ.เกิ ดการใคร่ ครวญเติบโตทางความคิด
เพิ่มขึ้นอีกระดับหนึ่ง
3.3 การอบรมด้ านจิตตปัญญาศึกษา
นับตั้งแต่ ชุ มชนกระบวนกร มจธ. ได้ถือกาเนิ ดขึ้ น ตลอดระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมาทีมกระบวนกร
มจธ. ได้อบรมด้านจิตตปั ญญาศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 80 ครั้ง ผลตอบรับจากหน่วยงานต่าง ๆ เป็ นไปในทิศทางที่
ดี ความสาเร็ จในการเผยแพร่ จิตตปั ญญาศึกษาเกิ ดขึ้ นอย่างมากมาย หน่ วยงานต่าง ๆ เช่ น คณะครุ ศาสตร์
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันการเรี ยนรู ้ สานักวิชาการศึกษาทัว่ ไป มจธ.ราชบุรี สถาบันวิทยาการ
หุ่ นยนต์ภาคสนาม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ เริ่ มให้ความสนใจ
มากยิ่งขึ้น และได้เชิ ญสมาชิ กในทีมไปเป็ นกระบวนกรนาการอบรมอีกหลายครั้งให้กบั บุ คคลกลุ่มต่าง ๆ
เช่น อาจารย์ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุน และนักศึกษา สภาพการณ์ดงั กล่าวแสดงให้เห็นว่าจิตตปั ญญาศึกษาได้
แผ่ขยายและครอบคลุมหน่วยงานที่จดั การศึกษาใน มจธ. เกือบทั้งหมด
การเผยแพร่ ที่ สาคัญ และท าให้จิตตปั ญ ญาศึก ษาเกิ ดการขยายในวงกว้าง ได้แก่ โครงการพัฒนา
อาจารย์ใหม่ (รุ่ น ที่ 3 จัด เมื่ อ 17 มกราคม 2556, รุ่ น ที่ 4 จัด เมื่ อ 25 กรกฎาคม 2556, รุ่ น ที่ 5 จัด เมื่ อ 16
มิถุนายน 2557, รุ่ นที่ 6 จัดเมื่อ 30 สิ งหาคม 2558) โครงการพัฒนานักบริ หารระดับกลาง (นบก.) จัดเมื่อ 15
สิ งหาคม 2558) โครงการอบรมพนักงานระดับ ต้น (จัดเมื่อ 21 มกราคม 2558) โครงการพัฒนาศักยภาพนัก
บริ หารงานทัว่ ไป (จัดเมื่อ 4 มิถุนายน 2557) เป็ นต้น โครงการเหล่านี้ มีผเู ้ ข้ารับการอบรมมาจากหลากหลาย
หน่วยงานทาให้จิตตปั ญญาศึกษาขยายไปสู่ หน่วยงานต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ วมากยิง่ ขึ้น
8|P a g e
9
3.4 เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ด้านจิตตปัญญาศึกษา
เวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ของชุมชนกระบวนกร มจธ.เป็ นกิจกรรมที่พวกเราต้องการที่จะให้เกิดการนา
องค์ความรู ้จิตตปั ญญาศึกษามาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้รวมทั้งใช้เป็ นแหล่งเผยแพร่ ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาอีก
ทางหนึ่ งด้วย ปั จจุบนั เวทีแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ กลายเป็ นสัญลักษณ์ ที่ช่วยให้หลายคนรู ้จกั ชุ มชนกระบวนกร
มจธ. เพิ่มมากขึ้น พวกเราได้จดั เวที แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ เกี่ ยวกับจิตตปั ญญาศึกษามาแล้วทั้งสิ้ น 16 ครั้ง โดย
หมุนเวียนใน 3 รู ปแบบทาให้เราได้รองรับกลุ่มคนและความต้องการได้อย่างแพร่ หลายมากยิง่ ขึ้น
เวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ เสมือนการประชาสัมพันธ์ ทาให้จิตตปั ญญาศึกษา เป็ นที่รู้จกั มากยิ่งขึ้น เราได้
ประโยชน์เป็ นอย่างมากในมิติของการก่อประกอบความรู ้ในตัวคน ทาให้เกิดเป็ นประโยชน์ในการนาความรู ้
ไปต่อยอด หรื อแก้ปัญหา โดยไม่มีการตัดสิ น และยังเป็ นการสร้างต้นแบบของการนัง่ ล้อมวงคุยแบบสุ นทรี ย
สนทนาใน สังคม มจธ. สิ่ งนี้ กลายเป็ นจุดเริ่ มต้นให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อีกหลายกลุ่มใน มจธ. ในเวลา
ต่อมา
3.4.1 ชุ มชนกระบวนกร มจธ. ออนไลน์
ข้อมู ลจากการจัดเวที แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้จะถู กนามารวบรวมเป็ นบันทึ กการเรี ยนรู ้ เพื่ อ สื่ อสารกับ
สมาชิกของชุมชนกระบวนกร มจธ. สิ่ งที่พบก็คือ กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ได้รับความสนใจเป็ นอย่าง
มาก ในเฟสบุ๊กสมาชิ กหลากหลายคนได้เข้ามาอ่านบทความที่ ทีมได้บนั ทึกไว้ สถานการณ์ น้ ี ทาให้ทีมได้
เรี ย นรู ้ ว่า “สิ่ ง หนึ่ งมัก จะมี ค วามสั ม พัน ธ์ ก ับ อี ก สิ่ งหนึ่ งเสมอ” และท าให้ ไ ด้ค ้น พบช่ องทางใหม่ ในการ
เผยแพร่ จิตตปั ญ ญาศึ กษา บทเรี ยนนี้ ได้ส อนให้ พ วกเราได้คิ ดใคร่ ค รวญในมิ ติที่ ห ลากหลายมากขึ้ น ที ม
กระบวนกร มจธ. จึ ง เริ่ ม ที่ จ ะให้ ค วามส าคัญ กับ การสื่ อ สารผ่ า น“ชุ ม ชนกระบวนกร มจธ. ออนไลน์
(เฟสบุ๊ก)”มากขึ้นและตั้งหมุ ดหมายว่า คาว่า จิตตปั ญญาศึกษาและชุ มชนกระบวนกร มจธ. ควรได้รับการ
สื่ อสารไปยังบุคลากรในสังคม มจธ. ทุก ๆ วัน ทีมจึงช่วยกันโพสต์ขอ้ ความลงใน ชุ มชนกระบวนกร มจธ.
ออนไลน์มากยิง่ ขึ้น
เฟสบุ๊ก ชุ ม ชนกระบวนกร มจธ. ยังช่ วยให้เราสามารถใช้เป็ นเครื่ องมื อที่ จะสื่ อสารกับ ผูบ้ ริ หาร
ระดับสู งของ มจธ. กระบวนการนี้เป็ นการวางแนวทางไปสู่ การเปิ ดพื้นที่ใหม่ ๆ ใน มจธ.ให้กว้างขวางขึ้นได้
เป็ นอย่างดี ในช่ วงที่ เริ่ ม สร้ า งเฟสบุ๊ ก ใหม่ ๆ ที ม ได้เชิ ญ ผูบ้ ริ ห าร มจธ. เข้าร่ วมเป็ นสมาชิ ก ของชุ ม ชน
ออนไลน์เพื่อรับทราบและติดตามความเคลื่อนไหว และต้องการความมัน่ ใจว่าสิ่ งที่ ทีมกาลังดาเนิ นอยู่ใน
สายตาของผูบ้ ริ หารและสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยฯ จากการตรวจสอบพบว่าผูบ้ ริ หารของ
มหาวิทยาลัยฯ หลายท่านติดตามข้อมูลที่เราได้เขียนบันทึกลงไปในเฟสบุกส์ ชุมชนกระบวนกร มจธ. อย่าง
สม่ าเสมอ มีอยู่หลายโอกาสที่ผูบ้ ริ หารได้สื่อสารไปยังที่ประชุ มต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่ งทาให้เกิ ดการ
แผ่ขยายในวงที่กว้างมากขึ้น
สมาชิ กในชุ มชนกระบวนกร มจธ. ออนไลน์ในปั จจุบนั (เดื อนสิ งหาคม 2558) มี ท้ งั สิ้ น 238 คน
และประมาณร้อยละ70 ให้ความสนใจกับเนื้อหาสาระที่ได้เขียนลงไป จากการสังเกตจานวนผูอ้ ่านบทความ
9|P a g e
10
ชุ มชนกระบวนกร มจธ.พบว่า ที มได้สร้ างเครื อข่ายกับผูเ้ ชี่ ยวชาญหรื อมื ออาชี พด้านจิตตปั ญญาศึ กษาอีก
มากมาย ซึ่ งทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู ้กบั กระบวนกรมืออาชีพเหล่านั้นและได้เชิญมาเป็ นวิทยากร
เพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ อยูเ่ ป็ นระยะ ๆนอกจากนี้ ชุมชนกระบวนกรออนไลน์ยงั ช่วยให้ทีมกระบวนกร มจธ.
ได้รับเชิญจากหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนให้ไปจัดกิจกรรมอบรมทางจิตตปั ญญาศึกษาอีกด้วย
3.4.2ขอบข่ ายและพืน้ ทีท่ างาน
องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาได้รับการตอบรับมากขึ้น หน่ วยงานต่าง ๆ เริ่ มที่จะติดต่อพวกทีม
ให้ ไปจัดอบรมในรู ป แบบที่ ห ลากหลายมากขึ้ น ที ม พบว่าบางครั้ งก็ ได้รับ เชิ ญ ไปอบรมในรู ป แบบที่ ไ ม่
สอดคล้อง ท าให้ ที ม กระบวนกร มจธ. กลับ มาทบทวนและใคร่ ครวญถึ งความสามารถอี กครั้ งจนท าให้
สามารถกาหนดขอบข่ ายและภารกิ จในการท างานได้ดงั นี้ 1) การสร้ างชุ มชนแห่ งการเรี ยนรู ้ (Building a
strong bonding Learning community) 2)การพัฒ นาทัก ษะด้านการอ านวยความสะดวก (Development of
facilitation skills) 3)การพัฒ นาผู ้อ านวยความสะดวก (Development of professional facilitator) 4) การ
พัฒนาผูน้ ากลุ่ มสนทนา (Development of group communication leader) 5) การพัฒนาศักยภาพบุ คคลจาก
ด้านใน (Development of Inner-self human) 6) การพัฒนาครู เพื่อการสอนเชิ งรุ ก (Development of active &
reflective teacher) 7) การพั ฒ นาทั ก ษะเพื่ อ การเรี ยนรู ้ (Development of self-Learning skills ) 8) การ
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ เชิ งรุ ก (Designing active Learning process) และ 9) การจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้
(Providing Learning activities)ขอบข่ายและภารกิจที่ระบุขา้ งต้นนี้ ทาให้ทีมสามารถสื่ อสารไปยังบุคคลและ
หน่วยงานต่าง ๆ ได้ชดั มากขึ้นและยังช่วยให้เข้าใจภารกิจของชุ มชนและช่วยให้ทีมสามารถสร้างการเติบโต
ของชุมชนกระบวนกร มจธ. ได้อย่างมีทิศทางมากขึ้น
3.5 ยกระดับสู่ การเป็ นโค้ ชด้ านจิตตปัญญาศึกษา
การจัดอบรมทางด้านจิตตปั ญญาศึกษาให้กบั หน่ วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ทาให้ทีมมี
ประสบการณ์ มากขึ้น มีหลายหน่ วยงานต้องการกระบวนกรทางจิตตปั ญญาศึกษาเข้าไปเป็ นส่ วนประกอบ
เช่ น คณะครุ ศาสตร์ ฯ ที่ตอ้ งการอาจารย์ที่สามารถนากระบวนการทางจิตตปั ญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้ใน
ห้ อ งเรี ย นได้ มจธ.ราชบุ รี ที่ ต้อ งการพัฒ นาครู เพื่ อ เป็ นพี่ เลี้ ย งดู แลผู เ้ รี ย นได้ โครงการ C-FEPS Betagro
(Constructionism Food Engineering Practice School for Betagro) ต้อ งการพัฒ นากระบวนกรท าหน้ า ที่
อานวยความสะดวกด้านการเรี ย นรู ้ ให้ ก ับ ผูเ้ ข้ารั บ การอบรมซึ่ งเป็ นพนัก งานประจาการ โครงการ WiL
Betagro (Work-Integrated Learning Program for Betagro) ต้อ งการกระบวนกรด้านจิ ต ตปั ญ ญาศึ ก ษา ท า
หน้าที่อานวยความสะดวกด้านการเรี ยนรู ้ให้แก่ผเู ้ รี ยน และโครงการ Open Learning ของบริ ษทั เบทาโกร ที่
ต้องการพัฒนาพนักงานพี่เลี้ยงให้สามารถทาหน้าที่กากับดูแลผูเ้ รี ยนด้านการเรี ยนรู ้ได้
10|P a g e
11
จากความต้องการดังกล่าวทาให้ทีมได้ยกระดับขึ้นมาสู่ การเป็ นโค้ชกระบวนกร (Facilitator Trainer)
ด้านจิตตปั ญญาศึกษา ในระยะเวลาที่ผา่ นมาทีมกระบวนกร มจธ. ได้ผลิตกระบวนกรให้กบั โครงการต่าง ๆ
ไม่นอ้ ยกว่า 20 คน บริ ษทั เบทาโกร จานวน 15 คน คณะครุ ศาสตร์จานวน 30 คน มจธ.ราชบุรีจานวน 10 คน
การเป็ นโค้ชกระบวนกรด้านจิตตปั ญญาศึกษา ทาให้ ทีมต้องเปลี่ ยนบทบาทไปสู่ อีกสถานะหนึ่ ง
ต้องเตรี ยมตัวและใส่ ใจเป็ นอย่างมากกับการเลือกกิจกรรมให้ผทู ้ ี่เข้ารับการฝึ กฝนขณะเดียวกันภาพรวมของ
การอบรมก็ตอ้ งเกิ ดประโยชน์ดว้ ย ทีมได้เรี ยนรู ้ที่จะรักษาสมดุลในเรื่ องนี้ สิ่งนี้ ทาให้ทีมได้มุมมองของการ
เป็ นผูด้ ูที่ชดั มากขึ้นกว่าการเป็ นกระบวนกรนาการอบรมเอง ประเด็นนี้ น่าสนใจมากกล่าวคือเมื่อกลับไปทา
กิจกรรมอบรมอีกครั้ง พบว่าทีมสามารถทากิ จกรรมได้ดีข้ ึน การทางานเป็ นทีมของกระบวนกรในขณะทา
การอบรมมี ค วามลื่ น ไหลมากยิ่งขึ้ น แต่ ล ะคนไม่ แข็งตัวอยู่ก ับ บทบาทหน้าที่ ใ ดหน้าที่ ห นึ่ งแต่ ส ามารถ
เปลี่ ยนแปลงบทบาทของตัวเองได้คล่องตัวมากขึ้น บทบาทการเป็ นโค้ชกระบวนกร ทาให้สามารถพัฒนา
ตนเองขึ้นไปอีกระดับหนึ่งที่มีความเป็ นกระบวนกรลุ่มลึกมากยิง่ ขึ้น
3.6 การแผ่ขยายของจิตตปัญญาศึกษาในหน่ วยงานต่ าง ๆ
การแผ่ขยายตัวของจิตตปั ญญาศึกษามีความคืบหน้าไปอย่างมาก ครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมฯ มีความ
คืบหน้าในการแผ่ขยายไปเป็ นอย่างมาก เริ่ มจากการพัฒนาที มกระบวนกร การอบรมให้กบั เจ้าหน้าที่สาย
สนับสนุน การอบรมขยายผลไปสู่ คณาจารย์ผา่ นโครงการแตกหน่อกระบวนกร การขยายผลสู่ ผเู ้ รี ยน การทา
วิจยั เกี่ยวกับการเรี ยนการสอนด้านจิตตปั ญญาศึกษา และการสร้างห้องเรี ยนต้นแบบที่นาเอาองค์ความรู ้ดา้ น
จิตตปั ญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้ เกิ ดมิติของการวิถีการสร้ างความรู ้ ในตัวของผูเ้ รี ยน ประกอบกับการสร้าง
มิติของความสัมพันธ์ระหว่างครู กบั ศิษย์ที่เป็ นกัลยาณมิตร ซึ่ งส่ งผลให้ผบู ้ ริ หารเห็นความสาคัญและได้บรรจุ
จิตตปั ญญาศึกษาลงในแผนกลยุทธ์การพัฒนาการเรี ยนรู ้ ของคณะฯ ปั จจุบนั เกิดกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ
ด้านจิตตปั ญญาศึกษามากมาย ความสาเร็ จของการเผยแพร่ จิตตปั ญญาศึกษาในคณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมฯ
เป็ นผลมาจากทีมกระบวนกรที่เข้มแข็ง และทีมหลัก ที่เป็ นผูบ้ ริ หารที่สามารถผลักดันงานจิตตปั ญญาศึกษา
จนเกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็ นรู ปธรรม ซึ่ งบัดนี้ได้กลายเป็ นอัตลักษณ์ใหม่ของคณะครุ ศาสตร์ อุตสาห
กรรมฯ ที่นาเอาจิตตปัญญาศึกษาไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้
สถาบันการเรี ยนรู ้ให้ความสนใจกับองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาเป็ นอย่างมาก โดยได้จดั อบรม
ด้านจิตตปั ญญาศึ กษาให้กบั บุ คลากร และเป็ นหน่ วยงานหลักที่ ร่วมมือกับชุ มชนกระบวนกร มจธ. จัดทา
โครงการอบรมด้านจิตตปั ญญาศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการเกื้อหนุ นให้กบั คณาจารย์ มจธ.ราชบุรี ร่ วมจัดเวที
แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษา อีกทั้งยังสนับสนุ นให้ทีมกระบวนกร มจธ. ได้นาองค์ความรู ้ดา้ น
จิตตปั ญญาศึกษาไปอบรมเผยแพร่ ให้กบั บุคลากรกลุ่มต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ เช่น อบรมอาจารย์ใหม่ภายใต้
หัวข้อ “การเรี ยนรู ้ดว้ ยใจอย่างใคร่ ครวญ” อบรมพัฒนาจิตวิญญาณความเป็ นครู เป็ นต้น สถาบันการเรี ยนรู ้
เป็ นหน่วยงานกลางซึ่ งเป็ นพื้นที่สาคัญที่ทาให้จิตตปั ญญาศึกษาขยายออกไปสู่ หน่วยงานต่าง ๆ และผูบ้ ริ หาร
ของมหาวิทยาลัยฯ ให้รู้จกั มากยิง่ ขึ้น
11|P a g e
12
มจธ.ราชบุรีให้ความสาคัญกับองค์ความรู ้ ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาเป็ นอย่างมาก และได้ส่งบุ คลากร
กลุ่มหนึ่ งไปพัฒนาตนเองเพื่อเป็ นกระบวนกร โดยพัฒนาร่ วมกับทีมกระบวนกร มจธ. ปั จจุบนั องค์ความรู ้
ด้านจิตตปั ญ ญาศึก ษาใน มจธ.ราชบุ รี ได้กลายเป็ นเครื่ องมื อที่ ส าคั ญ ในการขับเคลื่ อนการจัดการเรี ยนรู ้
ให้แก่ มจธ.ราชบุ รี และสามารถตอบรับนโยบายการพัฒนาอาศรมมหาวิทยาลัย (Residential College) ได้
เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะการจัดกิ จกรรมขนานหลักสู ตรและกิ จกรรมนอกหลักสู ตร ที่กระบวนการทางจิตต
ปัญญาศึกษาสามารถสนับสนุนอาจารย์ของ มจธ.ราชบุรีได้เป็ นอย่างดี
ส านัก รายวิช าการศึ ก ษาทัว่ ไปได้นาเอาองค์ความรู ้ ด้านจิ ตตปั ญ ญาศึ ก ษาไปประยุก ต์ใช้ในการ
จัดการเรี ยนรู ้ในรายวิชาต่าง ๆ ผ่านการนาพาของอาจารย์ผสู ้ อน สานักรายวิชาการศึกษาทัว่ ไปได้ศึกษาองค์
ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาใหม่ ๆ อยูเ่ สมอ อาจารย์หลายท่านที่รู้จกั เครื่ องมือทางจิตตปัญญาศึกษาได้นาไปใช้ใน
ห้องเรี ยนและได้จดั อบรมแนวจิ ตตปั ญญาศึ กษาให้ กบั อาจารย์ที่ เป็ นหัวหน้ารายวิช า ทั้งนี้ ส่ วนหนึ่ งของ
อาจารย์ได้เข้ารับการอบรมแนวจิตตปั ญญาศึกษาจากทีมกระบวนกร มจธ. การแผ่ขยายขององค์ความรู ้ดา้ น
จิตตปั ญญาศึกษาจะเกิ ดขึ้นในพื้นที่จุดต่าง ๆ ของ มจธ. แล้วยังมีการแผ่ขยายไปสู่ หน่วยงานภายนอก มจธ.
อย่างกว้างขวาง เช่ น บริ ษทั ปิ โตรเลี่ ยมไทย จากัด (มหาชน) บริ ษทั ไอ อาร์ พี ซี จากัด (มหาชน) บริ ษทั ใน
เครื อเบทาโกร บริ ษทั เอส ซี จี เปเปอร์ จากัด (มหาชน) สานักอนามัยสังกัดกรุ งเทพมหานคร คณาจารย์ของ
โรงเรี ยนเทคโนโลยีฐานวิท ยาศาสตร์ คณาจารย์สั ง กัดสถาบัน อาชี วศึ ก ษา โรงเรี ย นสั งกัดการศึ ก ษาขั้น
พื้ น ฐานในเขต กทม. มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ และสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล เป็ นต้น การอบรมให้ ก ับ
หน่วยงานเหล่านี้ ทาให้ทีมกระบวนกร มจธ. ในฐานะผูน้ าพาองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาได้เห็นถึงสิ่ งที่
กาลังข้ามพ้น อันได้แก่ การมุ่งสร้ างระบบการเรี ยนรู ้ การเห็ นถึ งคุ ณค่าและความดี งามจากภายใน การร่ วม
สร้างกัลยาณมิตร การเสริ มสร้างกระบวนการเรี ยนรู ้ให้กบั ตนเอง จนเป็ นที่รู้จกั และส่ งผลให้เกิดการยอมรับ
ไม่ใช่ในสังคม มจธ. เพียงอย่างเดียวแต่เป็ นการสร้างปฏิ สัมพันธ์ที่ดีต่อหน่ วยงานองค์กรอื่นภายนอก มจธ.
อีกด้วย
3.7 ห้ องเรียนจิตตปัญญาศึกษาต้ นแบบ
การเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาในคณะครุ ศาสตร์ ฯ ดาเนิ นไปอย่างต่อเนื่ องและลงลึ ก
ภายหลังจากจัดอบรมให้แก่อาจารย์และนักศึกษา อาจารย์ในคณะครุ ศาสตร์ ฯ หลายท่านเห็ นความสาคัญจึง
ได้นาจิตตปั ญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้ในห้องเรี ยนอย่างแพร่ หลาย ไม่น้อยกว่า 15 ห้องเรี ยน เช่น ห้องเรี ยน
วิชา MTE 281 การเขียนเชิ งวิช าการ ของ ผศ. ดร. พิ เชษฐ์ พิ นิจ และ ผศ. ดร. อนุ ศิษฏ์ อันมานะตระกู ล
รายวิชา CTE 307 นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรี ยนรู ้ทางวิศวกรรมโยธา ของ อาจารย์ อินทร์ทิรา คาภีระ
รายวิชา FEM 313 การพัฒนาหลักสู ตร ของ ดร. ปกรณ์ สุ ปินานนท์ ผลการติดตามและสังเกตทาให้ทราบว่า
การนาจิตตปั ญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้ในห้องเรี ยนมี ปัญหาติ ดขัดอยู่บา้ งและต้องการความช่ วยเหลื อที ม
กระบวนกร มจธ. จึงได้ร่วมมือกับคณะครุ ศาสตร์ ฯ ทาโครงการ “เปิ ดห้องเรี ยนจิตตปั ญญาศึกษาต้นแบบ”
12|P a g e
13
จานวน 2 ห้องเรี ยน (จากทั้งหมด 5 ห้องเรี ยน) เพื่อให้อาจารย์จากหน่ วยงานต่างๆ ที่สนใจได้เข้ามาเยี่ยมชม
พัฒนาตนเองเพื่อนาไปประยุกต์ใช้
ในช่วงที่ผา่ นมาทีมกระบวนกร มจธ. ได้ตกผลึกความรู ้ที่สาคัญซึ่ งเป็ นองค์องค์ประกอบของการนา
จิตตปั ญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้ในห้องเรี ยนไว้ 5 ข้อ ดังนี้ 1) การจัดการเรี ยนรู ้แบบองค์รวม 2) การพัฒนา
คุณลักษณะผูเ้ รี ยนควบคู่กบั การพัฒนาทักษะทางปั ญญา 3) การใช้กิจกรรมเป็ นฐานในการเรี ยนรู ้ 4) การเปิ ด
โอกาสให้ผูเ้ รี ยนได้สะท้อนการเรี ยนรู ้ (reflection) ผ่านสุ นทรี ยสนทนา (dialogue) และ 5) การสร้ างพื้นที่
ปลอดภัย (safe zone) ในห้ องเรี ย นผ่านการเชื่ อมต่ อความรู ้ สึ ก (connectedness) ระหว่างผูส้ อนกับ ผูเ้ รี ย น
องค์ป ระกอบของการจัดการเรี ยนรู ้ 5 ประการนี้ ปัจจุบนั ที มกระบวนกร มจธ. ได้ร่วมกับคณะครุ ศาสตร์
อุตสาหกรรมฯ ทาการทดลองผ่านการวิจยั ใน 5 ห้องเรี ยน เพื่อศึกษาอย่างลงลึ กถึ งองค์ประกอบทั้ง 5 ข้อ
ต่อไป
3.8 สร้ างชุ มชนแห่ งการเรียนรู้
การทาให้เกิ ดชุ มชนแห่ งการเรี ยนรู ้ เป็ นเป้ าหมายหลักของชุ มชนกระบวนกร มจธ. เหล่ าสมาชิ ก
รวมกลุ่มกันเพื่อที่จะสร้างชุ มชนแห่ งการอยู่ร่วมอย่างมีความสุ ข ประสบการณ์ ที่ผ่านมาทาให้ทีมค้นพบว่า
ความสุ ขเกิ ดจากเราเปลี่ ยนแปลงโลกภายในของเราเอง ไม่ ได้เกิ ดจากการเปลี่ ยนแปลงโลกภายนอก ที ม
สามารถใช้ชีวิตภายใต้สถานการณ์เดิมได้ดีข้ ึน มีความสุ ขกับการใช้ชีวิตมากขึ้นและยังพบว่าการสร้างสังคม
ที่มีความสุ ขนั้นตัวเราต้องทาให้ตวั เองมีความสุ ขก่อน ความสุ ขจึงแผ่รัศมีออกไปได้ สิ่ งเหล่านี้ คือแนวคิดที่
สาคัญที่ทาให้เราชาวชุมชนกระบวนกร มจธ. อยูร่ ่ วมกันอย่างมีความหมายจนถึงปัจจุบนั
นอกจากนี้ ชุมชนกระบวนกร มจธ. เป็ นกาลังสาคัญในการขับเคลื่ อนให้เกิด “ชุมชนนักบริ หารงาน
ทัว่ ไปของ มจธ.” (เริ่ มเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 ต่อเนื่ องเดือนละครั้ง) ยังกลายเป็ นต้นแบบที่ทาให้เกิดชุ มชน
แห่ งการเรี ยนรู ้กลุ่มต่าง ๆ อีกหลายกลุ่มใน มจธ. มีส่วนช่วยให้เกิดการจุดประกายที่จะสร้างชุมชนแห่ งการ
เรี ย นรู ้ ท างจิ ตตปั ญ ญาศึ ก ษาในมหาวิท ยาลัยราชภัฏ สกลนคร เป็ นต้น สิ่ งเหล่ านี้ สามารถยืนยันได้ว่าที ม
กระบวนกร มจธ. ได้พฒั นาทักษะความสามารถด้านจิตตปั ญญาศึ กษาให้มีความลุ่มลึ กและก้าวหน้าอย่าง
ต่อเนื่ อง จนเกิ ดการเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาอย่างแพร่ หลายใน สังคม มจธ. และเป็ นส่ วน
หนึ่งของเครื อข่ายการขับเคลื่อนจิตตปั ญญาศึกษาของประเทศ
4. บทใคร่ ครวญ
ตลอดระยะเวลา 3 ปี ที่ ผ่านมา จิ ตตปั ญ ญาศึ ก ษาได้เผยแพร่ ล งลึ ก กลายเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของ มจธ.
หน่ วยงานต่าง ๆ ให้การตอบรับเป็ นอย่างดี ท้ งั ที่เป็ นหน่ วยงานเป้ าหมายและหน่ วยงานอื่น ๆ ซึ่ งทาให้จิตต
ปั ญญาศึ กษาขยายออกไปในวงกว้างได้อย่างรวดเร็ ว ความส าเร็ จนี้ เกิ ดจากยุท ธศาสตร์ ที่ วางเอาไว้อย่าง
เหมาะสมโดยที ม กระบวนกร มจธ. ซึ่ ง เป็ นที ม หลัก ในการเผยแพร่ จิตตปั ญ ญาศึ ก ษาไปยัง หน่ วยงานที่
13|P a g e
14
เหมาะสม จากนั้นลงมือปฏิ บตั ิให้เห็ นจริ ง การเผยแพร่ เริ่ มต้นจากจุดเล็ก ๆ และค่อย ๆ ขยายออกจนเป็ นที่
รู ้จกั ในวงกว้าง
นอกจากนี้ ทีมกระบวนกร มจธ. ยังได้เรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองตลอดระยะเวลาของการเผยแพร่ จิตต
ปั ญญาศึกษาใน มจธ. และเกิดกระบวนการเปลี่ ยนแปลงภายในตน เช่ น การเฝ้ ามองความเป็ นจริ งไม่ยึดติด
กับความคาดหวังและผลลัพธ์ การพัฒนาทักษะการสังเกตที่ลุ่มลึกในขณะที่นาพาองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญา
ศึกษาในสู่ หน่ วยงานต่าง ๆ การเลื อกพื้นที่ และจุ ดยุทธศาสตร์ อนั เหมาะสม และการเฝ้ ารอคอยอย่างมี ส ติ
เพื่อให้หนทางได้เปิ ดออก เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้ช่วยให้ทีมกระบวนกร มจธ. ลดความเป็ นตัวของตัวเองไม่ยดึ ติด
อยูก่ บั ความสาเร็ จจนละเลยความสุ ขระหว่างการเดินทาง
การเผยแพร่ จิตตปั ญญาศึกษาใน มจธ. ก่อให้เกิ ดชุ มชนเล็ก ๆ อย่างน้อย 2 กลุ่ม (ชุ มชนกระบวนกร
มจธ.และ ชุ มชนนักบริ หารงานทัว่ ไป) ที่เปลี่ ยนผ่านจากสังคมที่ให้ความสาคัญกับฐานคิด ระบบหลักการ
และตัวชี้วดั เป็ นสังคมที่ให้ความสาคัญกับจิตใจ ดูแล หล่อเลี้ยงกันและกัน สร้างความหมายร่ วมกัน
5. สรุป
ผลจากการเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาพบว่า สามารถแผ่ขยายลงในพื้นที่ต่าง ๆ ของ
มจธ. ได้เป็ นอย่างดีเกิ ดการยอมรับในวงกว้าง คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมฯ ได้รับการส่ งเสริ มในระดับ
นโยบายเน้นในเรื่ องการนาไปประยุกต์ใช้ในห้องเรี ยนจนเกิดห้องเรี ยนจิตตปั ญญาศึกษาต้นแบบ เริ่ มมิติของ
การบู รณาการศาสตร์ ที่ ไม่ มี ก ารแยกส่ วน และเกิ ดที ม กระบวนกรที่ เข้ม แข็งเป็ นก าลังส าคัญ ของชุ ม ชน
กระบวนกร มจธ. สถาบันการเรี ยนรู ้เป็ นหน่วยงานที่ให้การสนับสนุ นกิจกรรมของชุ มชนกระบวนกร มจธ.
อย่างเหนียวแน่นและเป็ นจุดที่ทาให้การเผยแพร่ จิตตปั ญญาศึกษาใน มจธ. เป็ นไปได้อย่างรวดเร็ ว สานักงาน
การศึกษาทัว่ ไปได้เอาองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปัญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ และ มจธ.ราชบุรี
ได้เอาจิตตปั ญญาศึกษาเข้าไปเป็ นองค์ประกอบหลักของการดูแลผูเ้ รี ยนในอาศรมมหาวิทยาลัย นอกจากนั้น
หน่ วยงานต่าง ๆ อีกหลายหน่ วยงานใน มจธ.เห็ นความสาคัญของจิตตปั ญญาศึกษาโดยได้จดั อบรมให้กบั
อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในปริ มาณที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ทีมกระบวนกรเป็ นองค์ประกอบที่ สาคัญของการขับเคลื่ อนองค์ความรู ้ด้านจิตตปั ญญาศึกษาใน
มจธ. ที มดังกล่ าวมี พฒั นาการในการรวมกลุ่มกันจนกลายเป็ น ชุ มชนกระบวนกร มจธ. มี สมาชิ กที่สนใจ
ศึกษาองค์ความรู ้ ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาเกื อบ 100 คน และมีสมาชิ กออนไลน์จานวน 230 คน ด้วย 3 กลไก
และ 7 ยุท ธศาสตร์ ใน 4 พื้ น ที่ ท าให้ ส ามารถเผยแพร่ อ งค์ค วามรู ้ ไ ด้อ ย่า งกว้า งขวาง ส่ ง ผลให้ เกิ ด การ
กระเพื่อมอย่างต่อเนื่ องไปยังหน่ วยงานต่าง ๆ ใน มจธ. อีกหลายหน่ วยงานจนเป็ นที่รู้จกั ในวงกว้าง การจัด
เวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practice: CoP) และเฟสบุ๊กของชุ มชนกระบวนกร
มจธ. กลายเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่สาคัญของจิตตปั ญญาศึกษา อาจารย์และเจ้าหน้าที่ ใน มจธ. ได้รับการอบรม
ด้านจิตตปั ญญาจานวนมากกว่า 300 คน อาจารย์จานวน 15 คน นากระบวนการจิตตปั ญญาไปใช้ในการ
จัดการเรี ยนการสอนในห้องเรี ยนกว่า 10 รายวิชาซึ่ งเกิ ดผลกระทบต่อนักศึกษาประมาณ800คน ผูบ้ ริ หาร
14|P a g e
15
ระดับสู งของ มจธ. ตอบรับและสนับสนุนทีมกระบวนกร มจธ. ในการขับเคลื่อนองค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญา
ศึกษาใน มจธ.
การร่ วมกันเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาของทีมกระบวนกร มจธ. ทาให้ทีมกระบวนกร
เรี ย นรู ้ และเติ บ โตอย่า งเป็ นล าดับ และกลายเป็ นที ม ที่ เข้ม แข็ง ที่ ส ามารถสร้ างชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู ้ ที่ มี
ความหมายให้เกิดขึ้นในสังคม มจธ. ชุมชนกระบวนกร มจธ. ทาให้เกิดการตื่นตัวในการนาจิตตปัญญาศึกษา
ไปใช้ในการจัดการเรี ยนรู ้ ในห้องเรี ยน เพื่อทาให้เกิดมิติที่เรี ยกว่า การบูรณาการรู ปแบบของการเรี ยนรู ้ของ
ศาสตร์ ที่ไม่จาเป็ นต้องแยกออกจากกัน และใช้เป็ นแนวทางในการจัด อบรมพัฒนาบุคลากรในหลายระดับ
เช่ น อาจารย์นักพัฒนาการเรี ยนรู ้ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุ น และนักศึกษา เกิ ดห้องเรี ยนจิตตปั ญญาศึ กษาที่
สามารถเผยแพร่ ให้กบั ผูท้ ี่สนใจให้สามารถเข้ามาเยี่ยมชมและเรี ยนรู ้ สร้ างประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ ให้เกิ ด
การสะท้อน อันจะทาให้ทกั ษะการถ่ายทอดและการเรี ยนรู ้ได้พฒั นาขึ้น ย่างก้าวที่สาคัญของการเผยแพร่ จิตต
ปั ญญาศึกษา ใน มจธ. ที่ เกิ ดขึ้นอยู่ที่มีกลุ่มคนที่ มุ่งมัน่ และมีศรัทธาร่ วมจนสามารถที่จะนาพาจิตตปั ญญา
ศึกษาและค่อย ๆ เติบโตและสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นจากภายใน จนสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้น
ในสังคม มจธ. และสามารถเป็ นจุดเริ่ มต้นของการนาพาการเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอก มจธ. ต่อไปได้
อีกด้วย
6. เอกสารอ้างอิง
เอกรัตน์ รวยรวย, พิเชษฐ์ พินิจ และ วิศิษฏ์ศรี วิยะรัตน์. “การเผยแพร่ องค์ความรู ้ดา้ นจิตตปั ญญาศึกษาใน
มจธ. ” งานประชุมวิชาการครั้งที่ 6 จิตตปั ญญาศึกษาพลังแห่งการสร้างสรรค์สังคม 13 -14 พฤศจิกายน
2557 ณ โรงแรมรามา การ์ เด้นส์ กรุ งเทพมหานคร
คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี. แผนพัฒนาเชิงกลยุทธ์ คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยี ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 21 สิ งหาคม
2557. http://www.fiet.kmutt.ac.th/home/index.php/about-faculty/2010-06-28-18-11-53
คุณลักษณะบัณฑิตอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (KMUTT-Student QF),
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (2555). สื บค้นเมื่อ 1 กันยายน 2558. จาก
http://www.kmutt.ac.th/cd/en/detail.php?t=1&id=56
ชุมชนกระบวนกร มจธ. [ca. 2013]. ใน Facebook [Group page]. สื บค้นเมื่อ 15 สิ งหาคม 2558, จาก
http://www.facebook.com/group.php?gid=2207893888
บทความ เพื่อการฉลอง 50 ปี แห่งการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.มหาวิทยาลัย
15|P a g e
16
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. [เล่ม 1], มจธ. กับความเป็ นมา 2503-2553 บางมดมาได้ดว้ ยคนดี
และคนเก่ง พระจอมเกล้าธนบุรีไปข้างหน้าได้ดว้ ยคนดีและคนเก่ง
บัณฑิต ฑิพากร. (2554). แผนปฎิบตั ิการด้านพัฒนาการศึกษา 2555-2559. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบุรี.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (2547). Problem Based
Learning, สื บค้นเมื่อ 21 สิ งหาคม 2557. จาก http://www.cpe.kmutt.ac.th/history
สมชาย จันทร์ชาวนา. (2555).อาศรมมหาวิทยาลัย (Residential College), สื บค้นเมื่อ 21 สิ งหาคม 2557. จาก
http://www.thairath.co.th/content/310025
สานักงานวิชาศึกษาทัว่ ไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. (2552), สื บค้นเมื่อ 21 สิ งหาคม
2557. จาก http://gened.kmutt.ac.th/About/about1.php
เอกรัตน์ รวยรวย. (2555). รายงานการถอดบทเรี ยนโครงการทักษะวิศวกรรมแบบบูรณาการ (C-paper),
กรุ งเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
16|P a g e
Download