Uploaded by Sakda Onrak

7284-7089

advertisement
การเพิม
่ ผลผลิตอ้อยพ ันธุข
์ อนแก่น 3
้ ๋ ยเคมี
โดยการใชป
ุ
อ ัตราทีเ่ หมาะสมใน
กลุม
่ ชุดดินที่ 35
โดย
นางสาวจิดาภา สงครามภู
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและนา้ ตาลทราย ภาคที่ 4
จังหวัดอุดรธานี
ที่มาและความส้าคัญ
1.เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ปยุ๋ เคมีใน
อัตราที่สูงเกินความจ้าเป็นต่อการ
น้าไปใช้ของอ้อย
• ต้นทุนด้านปุ๋ยเคมีสงู
• ดินเสื่อมและดินแข็งกระด้าง
2.เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ให้
ความส้าคัญในการปรับปรุงบ้ารุงดิน
• ดินเสื่อมสภาพ
• ใส่ปุ๋ยไปมากเพียงใดก็ไม่เป็นผล
3.สามารถให้ค้าแนะน้า การใช้ปุ๋ย
กับอ้อยที่ปลูกในพืนที่ดินทรายภาค
ตะวันออกเฉียงเหนืออย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
• ส่งเสริมและแนะน้าเกษตรกรได้อย่างถูกวิธี
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเปรียบเทียบอัตราการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินกับอัตรา
ปุ๋ยและสูตรที่โรงงานแนะน้า
2.เพื่อศึกษาอัตราปุย๋ เคมีที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตอ้อยใน
กลุ่มชุดดินที่ 35
3.เพื่อศึกษาอัตราการเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารในดินก่อนปลูก
อ้อยและหลังเก็บเกี่ยว
ข้อมูลชุดดินกลุม่ ที่ 35
ชุดดินดอน
ไร่ (Dr)
ชุดดิน
ยโสธร
(Yt)
ชุดดินวา
ริน (Wn)
ชุดดินด่าน
ซ้าย (Ds)
กลุ่มชุดดินที่
ชุดดิน
สตึก
(Suk)
ที่มา; กรมพัฒนาที่ดิน
35
ชุดดินมาบ
บอน (Mb)
ชุดดินห้าง
ฉัตร (Hc)
ชุดดิน
โคราช
(Kt)
ลักษณะและสมบัติดนิ เนือดินบนเป็น
ดินทรายปนดินทราย สีน้าตาลเข้ม
หรือสีน้าตาลปนแดงเข้ม ดินล่างลึกที่
ระดับ 50-100 ซม. เป็นดินเหนียว
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรด
ป่นกลาง
ปัญหา : ดินปนทราย ความอุดมสมบูรณ์
ต่้า ขาดแคลนน้า และในพืนที่ที่มีความ
ลาดชัน ดินง่ายต่อการถูกชะล้างพังทลาย
สูญเสียหน้าดิน บางพืนที่ดินเป็นกรดจัด
มาก และหน้าดินค่อนข้างเป็นทรายหนา
ปัญหาเกีย่ วกับสภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินทราย
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อินทรียวัตถุตา่
ฟอสฟอรัสต่า่
โพแทสเซียมต่า่
ความสามารถใน
การแลกเปลีย่ น
ธาตุอาหารต่า่
มาก(CEC)
ดินถูกใช้ในการ
เพาะปลูกมา
นานโดยไม่มกี าร
ปรับปรุงบ่ารุง
การจัดการธาตุอาหารพืช
การใช้ปยุ๋ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ถูกปริมาณ
ถูกสูตร
ถูกวิธี
เพิ่มผลผลิต
ลดต้นทุน
ถูกเวลา
ความเป็นกรด-ด่างของดินและความสัมพันธ์ต่อความเป็น
ประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน
ระดับค่าพีเอช(pH) ที่ดี
ที่สุดหรือทีเ่ หมาะสมต่อ
อ้อย คือ ประมาณ 6.5
เพราะจะท่าให้ออ้ ย
สามารถเอาธาตุอาหารไป
ใช้ได้มากชนิดทีส่ ดุ
แผนทีช่ ดุ ดิน
ต.นาดี อ.หนองแสง จ.อุดรธานี
ที่มา; กรมพัฒนาที่ดิน
ผลการวิเคราะห์คุณภาพดินแปลงทดสอบ
รายการวิเคราะห์
pH
ความต้องการปูน
การน้าไฟฟ้า
อินทรียวัตถุ
ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม
แคลเซียม
แมกนีเซียม
ค่าที่ได้
แปลผล
5.85
230 กก./ไร่
0.018 เดซิเมตร/เมตร
0.40 %
100 มก./กก.
39 มก./กก.
143 มก./กก.
19 มก./กก.
กรดปานกลาง
ต่้ามาก
ต่้ามาก
สูงมาก
ต่า้
ต่า้
ต่า้
การวางแผนงานทดลอง(RCBD)
• วางแผนการทดลองแบบ RCBD จ้านวน 6 วิธีการ จ้านวน 4 ซ้า โดยปลูกอ้อยพันธุ์
ขอนแก่น 3 ในกลุ่มชุดดินที่ 35
• พิกัดแปลงทดลอง UTM 48Q X=270897.39 Y=1885449.01 บ้านห้วยยาง ต้าบลนาดี
อ้าเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี
• ขนาดแปลงย่อย 1.8 x 8.0 x 6.0 เมตร
• ปลูกวันที่ 29 ตุลาคม 2561
8 m.
6 m.
วิธีการศึกษา
T1
T2
ใส่ป๋ยุ ตาม
เกษตรกร
(ปุย๋ โรงงาน
แนะน้า)
-ใส่ป๋ยุ ตาม
ค่าวิเคราะห์
ดินในอัตรา
แนะน้า
ครังที1่ 28-11-5
ครังที2่ 21-4-21
T3
T4
T5
ใส่ป๋ยุ ตาม
ค่าวิเคราะห์
ดินเพิ่มขึน
25 %
-ใส่ปุ๋ยตาม
ค่าวิเคราะห์
ดินเพิ่มขึน
50 %
ใส่ป๋ยุ ตาม
ค่าวิเคราะห์
ดินเพิ่มขึน
75 %
T6
ใส่ป๋ยุ ตาม
ค่าวิเคราะห์
ดินเพิ่มขึน
100 %
T2-T6 >ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ครังที่1 รองพืน สูตร 16-16-8, ครังที่2 สูตร
>ใส่ไดโลไมท์อัตรา 230 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยขีไก่อัตรา 100 กก./ไร่ ก่อนปลูก
อัตราปุ๋ยที่ใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน
การค้านวณปุย๋ ในแต่ละหน่วยทดลอง
อัตราปุย๋ (กก./ไร่)
T1
ใส่ป๋ยุ ตามโรงงานแนะน้า ( 28-11-5)
50
T2
ใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตราแนะน้า(ปุย๋ รองพืน 16-16-8)
19
T3
ใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดินเพิ่มขึน 25 %
24
T4
ใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดินเพิ่มขึน 50 %
29
T5
ใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดินเพิ่มขึน 75 %
33
T6
ใส่ป๋ยุ ตามค่าวิเคราะห์ดินเพิ่มขึน 100 %
38
วิธีการเก็บข้อมูล
เก็บข้อมูล ได้แก่ %ความงอก,%การแตก
กอ,ความสูง, ขนาดล่า, ผลผลิต,
คุณภาพความหวาน, % ธาตุอาหารหลัง
การเก็บเกี่ยว
พื้นที่เก็บเกี่ยว 28 ตร.ม.
เก็บข้อมูลในช่วงอ้อยอายุได้ 2 เดือน
ตรวจเช็ค % ความงอก
วัดความสูงที่อายุ 2 เดือน
เก็บข้อมูลวันที่ 27 ธ.ค. 2561
ท่าสัญลักษณ์ต้นที่เก็บข้อมูล
แปลงปลูกทดสอบ
THANK YOU
Download