5. Industry Driving Forces หาข้อมูลเพือ ่ วิเคราะห์หาแรงผลักดัน (Industry Driving Forces) ของอุตสาหกรรมทีจ ่ ะเกิดขึน ้ ในอนาคต แรงผลักดันเหล่านีจ ้ ะทําการเปลีย ่ นแปลงการแข่งขันในอุตสาหกรรมไปอย่างไร มีโอกาสและอุปสรรคใดบ้าง Driving forces คือ ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรม และ บรรยากาศการแข่งขัน การวิเคราะห์ Driving forces ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1. ระบุ Driving forces ของอุตสาหกรรม : Driving forces ที่แท้จริงซึ่งมีอิทธิพลมากพอที่จะกําหนดการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมใน 1-3 ปีขา้ งหน้า โดยควรมีไม่เกิน 3-4 ปัจจัย ตัวอย่างของ Driving forces ได้แก่ 2. ประเมินปัจจัยทีข ่ บ ั เคลือ ่ นการเปลีย ่ นแปลง : พิจารณาวา Driving forces ที่ระบุทําให้อุตสาหกรรมมีความน่าสนใจมากขึ้น หรือ ลดลง มีโอกาส และ อุปสรรคอย่างไร 3. กําหนดกลยุทธ์เพือ ่ รองรับการเปลีย ่ นแปลงทีก ่ าํ ลังจะเกิดขึน ้ สําหรับ Alternative Beverages เป็น Industry ที่อยู่ในภาพใหญ่ของ Food & Beverage ซึ่งจากการวิเคราะห์ General Environmental Factorsก่อนหน้านี้ ได้สรุป Driving forces ที่จะมีอิทธิพลในระยะ 1-3 ปีข้างหน้า ได้ 3 อย่างดังรายละเอียด 5.1 แรงผลักดันทางด้านสภาวะเศรษฐกิจ ภาพรวม Households Consumption และ ความน่าลงทุนของประเทศสหรัฐอเมริกา เทียบกับ Emerging Market จากข้อมูลสถานการณ์ตลาด Alternative Beverages ในปี 2009 พบว่าส่วนแบ่งตลาดใหญ่ที่สุด 3 ลําดับแรก ได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา 42.3% รองลงมาเป็นกลุ่มประเทศ เอเชีย-แปซิฟก ิ 31.5% และ ยุโรป 22.2% ทําให้การวิเคราะห์ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรม Alternative Beverages โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกามีความจําเป็น ซึ่งสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ รวมถึงปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆ ในช่วงปี 2008-2010 จะสามารถสะท้อนอนาคตหลังจากนี้ได้เป็นอย่างดีต่อความน่าดึงดูดในการลงทุนในป ระเทศสหรัฐอเมริกา Geographic Share of the Alternative Beverages Market,2009 Country Percentage United States 42.3% Asia-Pacific 31.5% Europe 22.2% America (excluding U.S.) 4.0% Total 100.0% SOURCE : Competition in Energy Drinks, Sport Drinks and Vitamin-Enhanced Beverage, Page C-20 โดยปกติแล้ว บริษัทต่างแสวงหาการลงทุนในประเทศที่เป็นตลาดใหญ่ และ มีศักยภาพในการเติบโต ทําให้พื้นฐานทางเศรษฐกิจเป็นปัจจัยขับเคลื่อนหลักที่ทําให้ประเทศนั้นๆดึงดูดการลง ทุนมากกว่าประเทศอืน ่ เพราะขนาดของตลาด และ ศักยภาพในการเติบโตจะเป็นเงื่อนไขสําคัญที่ทําให้บริษัทประสบความสําเร็จในการล งทุน ขนาดเศรษฐกิจของสหรัฐอมเริกาอยู่ในลําดับสูงสุดหลายปีต่อเนื่อง และยังคงรักษาความได้เปรียบบางอย่างเหนือประเทศอื่นๆไว้ได้ แต่ประเทศเศรษฐกิจใหม่ เช่น จีน อินเดีย บราซิล ก็กําลังพัฒนาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างความน่าดึงดูดในการลงทุนเช่นเดียวกัน และ อาจจะดีกว่าสหรัฐอเมริกาในตัวชีว ้ ัดบางอย่าง ขนาดเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาวัดด้วย Real GDP อยู่ที่ 12 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ ในปี 2008 ซึ่งใหญ่กว่าลําดับสองคือญี่ปน ุ่ ถึง 2 เท่า และมากกว่าจีนซึ่งมีขนาดเป็นอันดับสามของโลกถึง 4 เท่า ก่อนที่จะมีภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา จากวิกฤติการ Sub-prime สหรัฐอเมริกามีขนาดทางเศรษฐกิจด้วย Real GDP คิดเป็น 30% ของ Real GDP ของโลก มีการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค รวมถึง ค่าใช้จ่ายสําหรับการทํา R&D คิดเป็น 1 ใน 3 ของโลก ในทัง้ 2 ประเภทการใช้จ่าย สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดการบริโภคที่อยู่ในช่วง Mature market ซึ่งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก่อนหน้านีเ้ ป็นผลมาจากคนในรุน ่ Baby Boomer ที่มีอิทธิพลอย่างมากในช่วงทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 โดย Generation ดังกล่าวกําลังทะยอยเข้าสู่วัยเกษียรอายุการทํางาน อันเป็นช่วงเวลาเดียวกันกับที่สหรัฐอเมริกากําลังเข้าสู่ยุคใหม่ทก ี่ ารบริโภคปรับตัวลด ลง ด้วยวิถีทางของครัวเรือนสหรัฐอเมริกามีทิศทางในการประหยัดมากขึ้นจากสถานการ ณ์วิกฤติเศษฐกิจ Sub-prime และนําไปสูแ ่ นวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดลงเมื่อเทียบกับในอดีต แต่กระนั้นในอนาคตต่อจากนี้อมเริกาก็จะยังคงสามารถรักษาความเป็นประเทศที่มีเศร ษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดในโลกต่อไปได้ เพราะด้วยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจทีป ่ ระเทศอื่นๆทําได้ ยกตัวอย่างจีนที่มีอัตราการเติบโตสูงที่สด ุ ก็จะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 16 ปีถึงจะมีขนาดเศรษฐกิจเท่ากับ GDP ของประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2008 และ ใช้เวลา 24 ปี ในการจะมี GDP per Capita เท่ากับประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2008 ภาพที่ 5.1.1 SOURCE : McKinsey Global Institute “Growth and competitiveness in the United states : The role of its multinational company” ( June 2010 : page 39 ) อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งทีท ่ ําให้ประเทศกลุ่ม Emerging market ดึงดูดต่อการลงทุนของบริษัทต่างๆ ดังจะเห็นได้จากการเติบโตของ GDP ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศกลุ่มนี้ ซึง่ แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โดยสหรัฐอเมริกามีอต ั ราการติบโตของ GDP เฉลี่ยต่อปีระหว่างปี 1995-2008 เพียง 2.9% ต่อปี ขณะที่ประเทศกลุม ่ Emerging market มีอต ั ราการติบโตของ GDP เฉลี่ยที่สูงกว่า เช่น จีน ( 9.6% ต่อปี ) อินเดีย ( 6.9% ต่อปี ) รัสเซีย ( 4.7% ต่อปี ) รวมถึงเมื่อพิจารณาจากการเติบโตของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของ ประเทศกลุ่ม Emerging market ก็สูงกว่าสหรัฐอเมริกา เช่น จีนมีอต ั ราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี ระหว่างปี 1995-2008 สูงถึง 7.2% ต่อปี รัซเซียอยู่ที่ 6.7% และ อินเดีย 5.1% ขณะที่สหรัฐอเมริกาอยู่ที่ 3.3% น้อยกว่าจีน 2 เท่า ในปี 2006 การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนบราซิลคิดเป็น 60% ของ GDP ประเทศ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่มากที่สุดเมื่อเทียบกันเฉพาะกลุ่มประเทศ BRIC McKinsey Global Institute analysis คาดการณ์ว่าในปี 2020 ชนชั้นกลางในประเทศอินเดีย และ จีนจะมีการขยายตัวเป็น 800 ล้านคน โดยคนกลุ่มนี้จะมีการใช้จ่ายเกือบ 3 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ (หลังปรับฐานเงินเฟ้อ) รวมไปถึงประเทศกําลังพัฒนาอื่นๆ ก็มีแนวโน้มจะเติบโตในทิศทางเดียวกัน ถึงแม้ว่ามูลค่าการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อประชากร จะยังอยู่ในระดับต่าํ แต่กลุ่มประเทศเหล่านีจ ้ ะเป็นหมุดหมายสําคัญสําหรับบริษัทข้ามชาติจากสหรัฐอเมริก าในอนาคต ภาพที่ 5.1.2 SOURCE : McKinsey Global Institute “Growth and competitiveness in the United states : The role of its multinational company” ( June 2010 : page 40 ) นอกจากนี้ จากสถานกาณ์การบริโภค และ การลงทุนในตลาดหสังหาริมทรัพย์ของสหรัฐอเมริกาในช่วงก่อนเกิดวิกฤติการณ์ Sub-prime ยังแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์หนี้ต่อรายได้ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มรายได้ปานกลาง คือ ลําดับที่ 40-90 ( รายได้สูงสุดคือลําดับ 1 และ ต่ําสุดคือลําดับ 100 ) มีการเปลี่ยนแปลง ของหนี้ต่อรายได้ในสัดส่วนที่สูงที่สุด แต่ก็เป็นกลุม ่ ที่มีสัดส่วนการชําระหนี้สูงเช่นกัน เพื่อรักษาเครดิตต่อไป ขระทีก ่ ลุ่มประชากรทีม ่ ีรายได้ลําดับที่ 90-100 มีอัตราการชําระหนี้ในระดับต่ําที่สุด ภาพที่ 5.1.3 SOURCE : McKinsey Global Institute “Debt and deleveraging : The global credit bubble and its economic consequences” ( January 2010 : page 25 ) ภาพที่ 5.1.4 Population growth (annual %) - United States and World SOURCE : https://data.worldbank.org/ โอกาส : ตลาดในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ค่อนข้างอิม ่ ตัว และ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจทีต ่ ่ํา เมื่อเทียบกับประเทศกลุ่ม emerging market ใหญ่ๆ เช่น จีน รัสเซีย บราซิล รวมถึงแนวโน้มการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของกลุ่มประเทศเหล่านี้ที่ดีในอนาคต เป็นโอกาสดีทผ ี่ ู้ประกอบการสินค้ากลุ่ม Alternative Beverages จะขยายการลงทุนไปในประเทศเหล่านี้มากขึ้น อุปสรรค : จากภาพรวมสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริกา ถึงแม้จะมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก และจะยังต่อเนื่องอีกหลายปีต่อจากปี 2010 แต่อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจก็อยู่ในอัตราทีต ่ ่ํา การเติบโตของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือนสหรัฐอเมริกาอยู่ที่ 3.3% ซึ่งถือว่าน้อยกว่ากลุ่มประเทศ emerging market นอกจากนี้ หนี้ครัวเรือนต่อรายได้ของกลุ่มรายได้ปานกลางในสหรัฐอเมริกาก็มีสัดส่วนที่สูงขึ้นอ ย่างชัดเจน ส่งผลให้มก ี าร saving มากขึ้น เช่นนี้จะส่งผลต่อภาพรวมการอุปโภคบริโภค และ ส่งผลต่อการใช้จ่ายในตลาด beverage ที่จะทําให้การเติบโตภาพรวมตลาดอยู่ในระดับต่ําเช่นเดียวกัน ตาราง 5.1 : ตารางสรุปโอกาสและอุปสรรคจากแรงผลักดันทางด้านสภาวะเศรษฐกิจ และ ความดึงดูดในการลงทุนของประเทศสหรัฐอเมริกา หัวข้อ ผลกระทบ ด้านต่างๆ รายละเอียด ที่สง่ ผลกระท ( โอกาส หรืออุปส 1 Driving forces ต่ออํานาจการต่อรองของผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องในอุตสาหกรรม ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกบริโภคมากขึ้นจาก ทําให้ผู้บริโภคมีอํานาจต่อรองมากขึ้น 2 Driving forces ต่ออุปสงค์ของสินค้า 3 Driving forces ต่อความรุนแรงของการแข่งขันในอุตสาหกรรม อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจต่ํา แล จะส่งผลให้ความรุนแรงในการแข่งขันสํา 4 Driving forces ต่อความสามารถในการทํากําไรของอุตสาหกรรม การแข่งขันสํา หรั บอุ ต สหกรรมที่ สูง ข และ การทํ า กิ จ กรรมตลาดที่ เ ข้ ม ข้ น ข ทําให้ความสามารถในการทํากําไรลดลง Demand ในการบริ โ ภคมวลรวมใน และจะส่ ง ผลกระทบชั ด เจนกว่ า สํ า หรั เป็นคุณภาพสูง ราคาสูง 5.2 แรงผลักดันทางด้านพฤติกรรมการบริโภคเพือ ่ สุขภาพ Fruit Beverage และ Carbornated soft drink ถือเป็นเครื่องดื่มหลักของผู้บริโภที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปจากการสํารวจ ซึ่งระหว่างปี 2004-2005 จากผลสํารวจประชากร 24,136 คน มีถึง 90% ที่ดื่ม Fruit Beverage และ 89% ที่ดม ื่ Carbornated soft drink ในขณะที่ Alternative drink อย่าง Energy drinks มีสัดส่วนเพียง 11% ของผู้สาํ รวจเท่านั้น แต่แนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคได้เปลี่ยนแปลงไป โดยในปี 2008-2009 จากผลสํารวจประชากร 25,318 คน มีสัดส่วนประชากรเป็น 15% ที่ดื่ม Energy drinks ขณะที่สัดส่วนประชากรที่ดื่ม Carbornated soft drink ลดลงเหลือ 85% เป็นเครื่องดื่ม 2 ประเภททีม ่ ก ี ารเปลี่ยนแปลงทั้งในทางบวกและทางลบมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบใน 2 ช่วงเวลา (ภาพที่ 5.2.1) ทั้งนี้อาจเป็นผลจากผูบ ้ ริโภคสนใจสุขภาพมากขึ้น จึงพยายามเปลีย ่ นจาก Carbornated soft drink หรือ Fruit Beverage ที่มี Calorie สูง เป็น Alternative drink ที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น ภาพที่ 5.2.1 Trends in Personal Consumption in United states, May 2004-June 2009 SOURCE : Breaking Down the Chain :A Guide to the soft drink Industry ภาพที่ 5.2.2 Segmentation of the Beverage Industry SOURCE : Breaking Down the Chain :A Guide to the soft drink Industry กลุ่มเป้าหมายทางการตลาดของ Functional beverages หรือ Alternative beverages ที่นําเสนอเรื่องประโยชน์ต่อสุขภาพ เสริมวิตามินและแร่ธาตุ คือ กลุ่มประชากรอายุ 18-44 ปี ซึ่งบริโภคเครื่องดื่มประเภทนี้เป็น 2 เท่าของกลุ่มคนที่อายุ 55-74 ปี แต่สําหรับคนสูงอายุกลุ่มนี้ที่สนใจสุขภาพและคัดสรรการบริโภคมากขึ้น ก็มีโอกาสที่ตลาดจะเติบโตขึ้นได้ โดยเครื่องดืมประเภทนี้วางตัวเป็นเครื่องดื่มที่ราคาสูงกว่า Soft drink ประเภทอื่น เหมาะสมกับกลุ่มประชากรที่มรี ายได้ปานกลางขึ้นไปมากกว่ากลุม ่ ประชากรรายได้ตา่ํ ขณะที่ Functional beverages ประเภทที่เป็น energy drink มีเป้าหมายการตลาดอยู่ที่ผช ู้ ายอายุ 18-24 ปี ซึ่งกลุ่มเป้าหมายนีก ้ ็มอ ี ัตราการเติบโตที่ไม่สงู นักระหว่างปี 2007-2009 โดยกลุ่มเป้าหมายลําดับต่อมาของ energy drink คือ วัยนักศึกษามหาวิทยยาลัยทั้งเพศหญิง และ เพศชาย ซึ่งมีสัญญาณการเติบโตในอนาคต โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษาหญิงผิวขาว ซึ่งคาดว่าบริโภค energy drink ทดแทนการดื่มกาแฟในอดีต นอกจากนี้ เมื่อพิจารณา % การใช้จ่ายเพือ ่ สุขภาพของประชากรสหรัฐอเมริกา ต่อ GDP ระหว่างปี 2000-2010 เพิ่มขึ้นจาก 12.5% ในปี 2000 เป็น 16.3% ในปี 2010 มีอัตราส่วนของการเติบโตที่สูงกว่าของประชากรโลก ซึ่งเพิม ่ ขึ้นจาก 8.7% ในปี 2000 เป็น 9.6% ในปี 2010 (ดังภาพ 5.2.3) ภาพที่ 5.2.3 Current health expenditure (% of GDP) - United States, World โอกาส : ประชากรสหรัฐอเมริกามีความสนใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพมากขึ้ น เห็นได้จากการลดการบริโภคเครื่องดื่มที่มแ ี คลอรี่สูงอย่าง Carbornated soft drink ลง รวมถึงมีสัดส่วนการใช้จ่ายเพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึน ้ เป็นการเติบโตที่มากกว่าของประชากรโลก จึงเป็นโอกาสดีสําหรับ Alternative drink ที่จะนําเสนอประโยชน์ที่มากกว่าเครื่องดื่มประเภทอื่น ส่วนแบ่งการตลาดจะเพิ่มสูงขึ้นทดแทนเครื่องดื่มประเภทแคลอรี่สูง กลุ่มเป้าหมายของ Alternative drink คือ ความหลากหลาย ด้วยการนําเสนอ Function ที่แตกต่างจากของ beverage ประเภทอื่น จะทําให้สามารถเจาะกลุ่มตลาดใหม่ๆได้เพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น กลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องคัดสรรการบริโภคมากขึน ้ หรือ กลุ่มผู้หญิงที่ไม่ต้องการดื่มกาแฟ แต่ยังต้องการความกระตือรือร้นยู่ อุปสรรค : Alternative drink คือ ความหลากหลาย อาจเป็นอุปสรรคต่อู้ประกอบการที่ต้องการทํา mass production ทีม ่ ท ี างเลือกน้อย เมื่อต้องทําเครื่องดื่มหลากหลายรูปแบบ อาจทําให้ต้นทุนการผลิตต การจัดหว่างเพื่อจําหน่ายเพิ่มขึ้นได้ ตาราง 5.2 : ตารางสรุปโอกาสและอุปสรรคจากแรงผลักดันทางด้านพฤติกรรมการบริโภคเพือ ่ สุขภ าพ หัวข้อ ผลกระทบ ด้านต่างๆ (โ 1 ผู้บริโภคมีทางเลือกที่หลากหลายมากขึ้น Driving forces ต่ออํานาจการต่อรองของผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องในอุตสาหกรรม 2 Driving forces ต่ออุปสงค์ของสินค้า ความต้องการสินค้าประเภท Functional เปลี่ยนจากเครื่องดื่มที่มีแคลอรี่สูง 3 Driving forces ต่อความรุนแรงของการแข่งขันในอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการจะแข่งขันกันมากขึ้นเพื่อนํา ทําให้ความรุนแรงในการแข่งขันเพิ่มขึ้น 4 Driving forces ต่อความสามารถในการทํากําไรของอุตสาหกรรม เนื่ อ งจากผู้ บ ริ โ ภคมี ห ลากหลายกลุ่ ม แล การผลิตที่หลากหลายในปริมาณที่ลดลงจ 5.3 แรงผลักดันทางด้าน Big Data & Supply chain SOURCE : McKinsey Global Institute “Game changers: Five opportunities for US growth and renewal (July 2013 : page 71) SOURCE : McKinsey Global Institute “Game changers: Five opportunities for US growth and renewal (July 2013 : page 75) โอกาส อุปสรรค ตาราง 5.2: ตารางสรุปโอกาสและอุปสรรคจากแรงผลักดันทางดา้น หัวข้อ ผลกระทบ ด้านต่างๆ รายละเอียด ทิศทางของผลกร ทีส ่ ง่ ผลกระทบ ( โอกาส หรืออุปสรรค ) 1 Driving forces ต่ออํานาจการต่อรองของผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องในอุตสาหกรรม 2 Driving forces ต่ออุปสงค์ของสินค้า 3 Driving forces ต่อความรุนแรงของการแข่งขันในอุตสาหกรรม 4 Driving forces ต่อความสามารถในการทํากําไรของอุตสาหกรรม 5.4 แรงผลักดันทางด้าน Resource SOURCE : McKinsey Global Institute “Resource Revolution : Meeting the World’s energy , material, food , and water needs (November 2011 : page 25) ความต้องการทรัพยากรเพื่อดํารงชีวิตอยู่ในการเติบโตสูงตามประชากร SOURCE : McKinsey Global Institute “Resource Revolution : Meeting the World’s energy , material, food , and water needs (November 2011 : page 35) โอกาส อุปสรรค