Uploaded by Polysource 3builders

วิชา Refrigeration Freezing Cold Storage

advertisement
เครื่องกล
สาขา:
ขอที่ :
วิชา:
ME62 Refrigeration/Freezing/Cold
Storage
1
การไหลของของไหลผานอุปกรณลดความดัน(Expansion Valve) คือการลดความดันโดยอาศัยความเสียดทาน อาจจะถือไดวา
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เอนทัลป(h)คงที่
คําตอบ 2 :
เอนโทรป(s)คงที่
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิ(T)คงที่
คําตอบ 4 :
ปริมาตรจําเพาะ(v)คงที่
2
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
สารทําความเย็น R-134a เหลว ความดันสูงมากคือประมาณ 1500 kPa อุณหภูมิประมาณ 50 Deg.C ถาลดความดันใหเหลือเทากับความดันบรรยากาศ(ประมาณ 101.3 kPa)
อุณหภูมินาจะกลายเปนประมาณเทาไร?
คําตอบ 1 :
เทาเดิม(คือประมาณ 50 Deg.C)
คําตอบ 2 :
0 Deg.C
–16 Deg.C
–26 Deg.C
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
3
เครื่องทําความเย็นแบบใดมีประสิทธิภาพ ซีโอพีสูง(COP)ที่สุด
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
แบบใชคอมเพรสเซอรอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration)
คําตอบ 2 :
แบบดูดกลืน(Absorption Refrigeration) เชนเดียวกับที่ใชที่สนามบินสุวรรณภูมิ
คําตอบ 3 :
แบบ เทอรโมอิเล็กทริก(Thermo-Electric Refrigeration)
คําตอบ 4 :
แบบใชไอน้ําฉีด(Steam Jet Refrigeration)
4
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
อากาศภายนอกอุณหภูมิ 35 Deg.C(308 Deg.K) หองเย็นอุณหภูมิ – 130 Deg.C(143 Deg.K) เครื่องทําความเย็นซึ่งสรางโดยผูผลิตรายหนึ่งมีประสิทธิภาพซีโอพี 0.9 (EER =
3.07 Btu/h/W) ทานคิดวาขอใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 :
เครื่องปรับอากาศเบอร 5 นั้นมี ประสิทธิภาพซีโอพี 3.1 (EER = 10.6 Btu/h/W) ดังนั้นเครื่องนี้ประสิทธิภาพซีโอพีต่ําไปหนอย
คําตอบ 2 :
เปนไปไมได
คําตอบ 3 :
ประสิทธิภาพซีโอพีไมควรจะต่ํากวา 1
คําตอบ 4 :
ไมสามารถวิจารณอะไรได เพราะขึ้นอยูกับวิธีการทําความเย็น และแบบเครื่องทําความเย็นที่ใช
1 of 138
ขอที่ :
5
เครื่องทําความเย็นแบบดูดกลืน(Absorption Refrigeration) ก็คือเครื่องทําความเย็นที่ทํางานเปนวัฏจักร ถาเครื่องมีขนาดทําความเย็น 1.5 MW เครื่องตองใชเชื้อเพลิงจากแกส
ธรรมชาติ 1 MW ความรอนที่ตองระบายทิ้งรวมทั้งหมดประมาณเทาไร?
คําตอบ 1 :
คําตอบ 3 :
1.5 MW
2.5 MW
1 MW
คําตอบ 4 :
ไมสามารถประมาณไดเพราะขึ้นอยูกับการออกแบบของผูผลิต
คําตอบ 2 :
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
542 kJ/kg
33 kJ/kg
388 kJ/kg
85 kJ/kg
7
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
6
8
1.2 kJ/kg K
1.3 kJ/kg K
1.5 kJ/kg K
1.8 kJ/kg K
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
0.05 MPa
0.1 MPa
0.2 MPa
0.3 MPa
2 of 138
ขอที่ :
9
กระบวนการทรอทริง(Throttling)ในทอที่มีพื้นที่หนาตัดไมเทากัน และมีฉนวนหุมโดยไมคิดการเปลี่ยนแปลงของพลังงานจลน คือสมการในขอใด
คําตอบ 1 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
10
ิท
ส
น
ว
ง
ขอใดไมเทากับ 1 ตัน ของการทําความเย็น กําหนดความรอนแฝงของน้ําแข็ง = 144 Btu / lb , 1kg = 2 lb
คําตอบ 1 :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
11
ในทางทฤษฎีระบบทําความเย็นที่ดีควรเปนลักษณะใด
คําตอบ 1 :
COP ต่ํา
3 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
เกิด Pressure drop ที่Evaporator
คําตอบ 3 :
สารความเย็นกลายเปนไอพอดีกอนที่เขา Compressor
คําตอบ 4 :
ทอสารทําความเย็นดานดูด มีขนาดเล็กกวาดานสง
12
วัฐจักรทําความเย็นที่ถูกนํามาใชไดกวางขวางมากที่สุดคือขอใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
13
ปริมาณความรอนที่สารความเย็นสามารถนําเอาออกมาไดจากสารที่มาสัมผัสกับสารความเย็นคือขอใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 3 :
14
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
Vapour compressor
Air cycle refrigeration
Absorption refrigeration
System injector system
ภ
ส
ความรอนที่สารทําความเย็นดูดกลืนไวในขณะที่มีการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเปนไอเรียกวาอะไร
คําตอบ 1 :
ความรอนแฝงของการระเหิด
คําตอบ 2 :
ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ
คําตอบ 3 :
ความรอนแฝงของการหลอมละลาย
คําตอบ 4 :
ความรอนแฝงของการทําความเย็น
4 of 138
ขอที่ :
15
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
16
แกสหุงตม(LPG)ที่อยูในถังทั่วไป สวนใหญควรจะเปนอะไร?
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ไอและของเหลว
คําตอบ 2 :
ไอ
คําตอบ 3 :
ของเหลว
คําตอบ 4 :
ของไหล(จะเรียกวาเปนของเหลวทั้งหมด หรือเรียกวาเปนไอทั้งหมดก็ได)
17
5 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ของไหล(จะเรียกวาเปนของเหลวทั้งหมด หรือเรียกวาเปนไอทั้งหมดก็ได)
คําตอบ 2 :
ของเหลว
คําตอบ 3 :
ของเหลวผสมไอ
คําตอบ 4 :
ไอ
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
18
เครื่องปรับอากาศที่ปดเครื่องไมไดใชงานสารทําความเย็นภายในเครื่องควรมีสถานะอะไร?
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ไอและของเหลว
คําตอบ 2 :
ไอ
คําตอบ 3 :
ของเหลว
คําตอบ 4 :
ของไหล(จะเรียกวาเปนของเหลวทั้งหมด หรือเรียกวาเปนไอทั้งหมดก็ได)
19
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
20
8.76
1.11
9.77
3.0
ส
อ
ข
กร
ิธ์ ห
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ชางเครื่องปรับอากาศ เติมสารทําความเย็น (น้ํายา)R-22 เขาเครื่องปรับอากาศจนหมดถัง นําถังไปซื้อเพิ่มที่รานขายสารทําความเย็น ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
คําตอบ 1 :
เพื่อใหใชไดนานๆตองใหเปนของเหลวเย็นยิ่งหรือของเหลวอัด(Subcooled /Compressed Liquid)
คําตอบ 2 :
เพื่อใหใชไดนานตองเปนของเหลวอิ่มตัวสวนใหญและมีไออิ่มตัวปนเพื่อความปลอดภัย
คําตอบ 3 :
เพื่อใหใชไดนานตองเปนของเหลวอิ่มตัวทั้งหมดเพื่อความปลอดภัย
คําตอบ 4 :
เพื่อใหใชไดนานตองเปนของเหลวทั้งหมดเพื่อความปลอดภัย
6 of 138
ขอที่ :
ขอที่ :
21
คําตอบ 1 :
ของเหลว
คําตอบ 2 :
ของไหล(จะเรียกวาเปนของเหลวทั้งหมด หรือเรียกวาเปนไอทั้งหมดก็ได)
คําตอบ 3 :
ของเหลวผสมไอ
คําตอบ 4 :
ไอ
22
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
การทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ขอความใดตอไปนี้ถูกตองหรือใกลเคียงความจริงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
สามารถใชอากาศเปนสารทําความเย็นได
คําตอบ 2 :
การถายเทพลังงานอาศัยการเปลี่ยนสถานะของสาร
คําตอบ 3 :
เครื่องอัดอาจสามารถใชปมสารทําความเย็นเหลวแทนได
คําตอบ 4 :
การลดความดันที่วาลวลดความดันคือการเปลี่ยนพลังงานภายในเปนพลังงานจลน
23
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 4 :
24
ว
ศ
ิ
าว
133
2.33
1.33
– 0.77
ภ
ส
คําตอบ 3 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) การไหลของสารทําความเย็น มีลําดับการไหล ขอใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 :
อุปกรณลดความดัน เครื่องระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร
คําตอบ 2 :
อุปกรณลดความดัน เครื่องระเหย(Evaporator) คอนเดนเซอร คอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
อุปกรณลดความดัน คอนเดนเซอร เครื่องระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร
7 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
คอนเดนเซอร คอมเพรสเซอร เครื่องระเหย(Evaporator) อุปกรณลดความดัน
25
เครื่องระเหย (evaporator) มีหลักการทํางานเปนไปตามเสนคุณสมบัติใดบนแผนภูมิ P-h
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เสนอุณหภูมิคงที่
คําตอบ 2 :
เสนเอนโทรปคงที่
คําตอบ 3 :
เสนเอนทาลปคงที่
คําตอบ 4 :
เสนปริมาตรจําเพาะคงที่
26
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอใดไมใชผลที่ไดจากการทําของเหลวเย็นยิ่ง (subcooled)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คาการทําความเย็นเพิ่มขึ้น (R.E.)
คําตอบ 2 :
อัตราการไหลสารทําความเย็นตอ kw การทําความเย็นเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
สมรรถนะการทําความเย็นเพิ่มขึ้น (C.O.P.)
คําตอบ 4 :
กําลังงานของเครื่องอัดไอลดลง
27
สารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องระเหย (evaporator) จะมีสถานะใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ของเหลวอิ่มตัว
คําตอบ 2 :
ไออิ่มตัว
คําตอบ 3 :
ของเหลวอัดตัว
คําตอบ 4 :
ไอเปยก
28
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
8 of 138
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
29
สารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องอัดไอ (Compressor) มีสถานะใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความดันสูง-อุณหภูมิต่ํา
คําตอบ 2 :
ความดันสูง-อุณหภูมิสูง
คําตอบ 3 :
ความดันต่ํา-อุณหภูมิสูง
คําตอบ 4 :
ความดันต่ํา-อุณหภูมิต่ํา
30
ิท
ส
น
ว
ง
ขอใดคือผลที่เกิดจากความดันลดในทอกอนเขาเครื่องอัดไอ (Compressor)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ใชกําลังเครื่องอัดไอเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
สมรรถนะการทําความเย็น (C.O.P.) เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิทางออกเครื่องอัดไอลดลง
คําตอบ 4 :
เครื่องควบแนน (Condenser) มีพื้นที่ถายเทความรอนเพิ่มขึ้น
ส
อ
ข
กร
31
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ขอใดคือผลที่ไดจากการทําความเย็นแบบหลายขั้น (multistage) ในระบบทําความเย็นที่มีอุณหภูมิต่ํา
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพิ่มความสามารถการถายเทความรอนที่เครื่องระเหย (evaporator)
คําตอบ 2 :
ลดจํานวนสารทําความเย็นในระบบ
คําตอบ 3 :
ลดกําลังเครื่องอัดไอ (compressor)
คําตอบ 4 :
ลดภาระการทําความเย็น
32
ภ
ส
สารทําความเย็นที่ผานวาลวระเหยสารทําความเย็น (expansion valve) เปนไปตามขบวนการใด
คําตอบ 1 :
ความดันคงที่ (constant pressure)
คําตอบ 2 :
ไอเซนโทรปก (constant entropy)
คําตอบ 3 :
เอนทาลปคงที่ (constant enthalpy)
9 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ปริมาตรจําเพาะคงที่ (constant specific volume)
33
ขอใดไมใชผลที่เกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิควบแนนสูงขึ้น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ผลของความเย็นลดลง
คําตอบ 2 :
กําลังที่ใชขับเครื่องอัดไอ (compressor) ลดลง
คําตอบ 3 :
สมรรถนะการทําความเย็น (C.O.P.)ลดลง
คําตอบ 4 :
ความรอนที่ระบายออกที่เครื่องควบแนน (condenser) ลดลง
34
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ถังพักน้ํายาเหลว (receiver) ทําหนาที่อะไรในระบบทําความเย็น
ขอที่ :
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
สะสมของเหลวจากเครื่องควบแนน (condenser) เพื่อจายใหเครื่องระเหย (evaporator)
คําตอบ 2 :
สะสมของเหลวจากเครื่องควบแนน (condenser) เพื่อจายใหเครื่องอัดไอ (compressor)
คําตอบ 3 :
สะสมของเหลวจากเครื่องระเหย (evaporator) เพื่อจายใหเครื่องอัดไอ (compressor)
คําตอบ 4 :
สะสมของเหลวจากเครื่องระเหย (evaporator) เพื่อจายใหถังแยกน้ํายาเหลว (accumulator)
35
ในระบบอัดไอตามทฤษฏี ขอไหนไมใชอุปกรณหลัก
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
วาลวลดความดัน (Expansion Valve)
คําตอบ 3 :
อีวาโพเรเตอร
คําตอบ 4 :
วาลวเพิ่มความดัน
36
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอไหนเรียงอุปกรณตามทิศการไหลของสารทําความเย็น
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
10 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
37
หากวัฏจักรการทําความเย็นทางทฎษฎีมีคาการทําความเย็น (Cooling capacity) 30kW คาความรอนทิ้ง (Heat Reject) 40 kW และเครื่องอัดไอใชพลังงาน 10 kW จะมีคาCOP
เปนเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
38
วัฏจักรทางความเย็น แบบทฤษฎีแบบปฏิบัติมีขอแตกตางกันคือ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทางทฤษฎีคิดความดันตกครอมระหวาง คอนเดนเซอรดวย
คําตอบ 2 :
ทางทฤษฎีคิดความดันตกครอมระหวางอีวาโปเรเตอรดวย
คําตอบ 3 :
ทางปฏิบัติคิดความดันตกครอมระหวางอีวาโปเรเตอรและคอนเดนเซอรดวย
คําตอบ 4 :
ทางทฤษฎีและปฏิบัติไมคิดความดันตกครอมระหวางอีวาโปเรเตอรกับคอนเดนเซอร
ส
อ
ข
กร
39
ผลทําความเย็น (RE) คืออะไร
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
พลังงานที่ใสใหกับคอมเพรสเซอรขณะอัดไอ
คําตอบ 2 :
คาความรอนที่อีวาโปเรเตอรรับจากหองเย็น
คําตอบ 3 :
คาความรอนที่คอนเดนเซอรคลายออกจากระบบหารดวยงานที่คอมเพรสเซอรอัดไอ
คําตอบ 4 :
คาความรอนที่อีวาโปเรเตอรคลายออกจากระบบหารดวยงานที่คอมเพรสเซอรอัดไอ
40
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
3
4
7
1.33
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ในทางปฏิบัติการอัดไอสารทําความเย็นตองมีสภาพเปนไอทั้งหมดซึ่งตองทําใหสารทําความเย็นเปน Superheat กอนสงเขาคอมเพรสเซอรขอใดเปนจริงเมื่อเทียบกับทางทฤษฎี
คําตอบ 1 :
สารทําความเย็นระเหยเปนไอไมหมด
คําตอบ 2 :
พลังงานที่ใชอัดไอมีคามากขึ้น
คําตอบ 3 :
พลังงานที่ใชอัดไอมีคานอยลง
คําตอบ 4 :
ความรอนที่ระบายที่คอนเดนเซอรที่คานอยลง
11 of 138
ขอที่ :
41
ในทางปฏิบัติวัฏจักรการทําความเย็นแบบอัดไอ โดยทั่วไปแลว หลังจากที่สารทําความเย็น ควบแนนในคอนเดนเซอรแลวกอนที่จะไปเขาวาลวระเหยสารทําความเย็น (expansion
valve) จะมีถังดักเก็บสารทําความเย็นมีชื่อเรียกวา
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Accumulator
Receiver
Sigh Glass
Oil Separator
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
42
อุปกรณใดในระบบทําความเย็นแบบคาสเคด (Cascade Refrigeration) ที่ระบบ Single Stage หรือ Simple Refrigeration ไมจําเปนตองใชคือ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Compressor
Evaporator
Cascade Heat Exchanger
Condenser
43
ิท
ส
น
ว
ง
ระบบทําความเย็นแบบคาสเคดตางจากระบบทําความเย็นแบบ Single Stage อยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ใชคอมเพรสเซอรเปนอุปกรณอัดไอ
คําตอบ 2 :
โดยทั่วไปนิยมใชสารทําความเย็นชนิดเดียว
คําตอบ 3 :
โดยทั่วไปนิยมใชสารทําความเย็นสองชนิด
คําตอบ 4 :
ใชอีวาโพเรเตอรเปนตัวเปลี่ยนสถานะสารทําความเย็นจากของเหลวเปนไอ
ส
อ
ข
กร
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
44
สารทําความเย็นชนิดใดไมนิยมใชในวงจรดานอุณหภูมิสูงของระบบทําความเย็นแบบคาสเคด
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
Ammonia
R-22
R-134A
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
45
สารทําความเย็นในขอใดสามารถสัมผัสกับอาหารไดโดยตรง
12 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
R 22
Ammonia
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ขอที่ :
ขอที่ :
R 134 A
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
46
Subcooled refrigerant มีสภาพเปน
คําตอบ 1 :
ของแข็ง
คําตอบ 2 :
ของเหลว
คําตอบ 3 :
ไอ
คําตอบ 4 :
ของเหลวผสมไอ
ิธ์ ห
47
Superheated refrigerant มีสภาพเปน
คําตอบ 1 :
ของแข็ง
คําตอบ 2 :
ของเหลว
คําตอบ 3 :
ไอ
คําตอบ 4 :
ของเหลวผสมไอ
48
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
เมื่อภาระความเย็นที่เครื่องระเหย(Evaporator)ลดลง ทําให
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความดันทางดูดลดลง
คําตอบ 2 :
ความดันทางดูดเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
ความดันทางสงเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
ความดันน้ํามันเพิ่มขึ้น
49
ภ
ส
สารทําความเย็นในคอนเดนเซอรกลั่นตัวจากไอเปนของเหลว เพราะ
คําตอบ 1 :
ถูกเพิ่มความดันจากคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ตองไหลสูหมอพักน้ํายาที่ต่ํากวา
คําตอบ 3 :
ถายเทความรอนสูบรรยากาศภายนอก
13 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
50
ผลของการ Subcooled สารทําความเย็นในสถานะของเหลวกอนผาน Expansion valve คือ
คําตอบ 2 :
Compressor power เพิ่มขึ้น
Refrigerating effect เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
ขนาดคอมเพรสเซอรใหญขึ้น
คําตอบ 4 :
Refrigerant flow เพิ่มขึ้น
คําตอบ 1 :
ขอที่ :
51
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ในระบบการทําความเย็นแบบ 2 stage ไอที่ถูกดูดจากเครื่องระเหย (Evaporator) อุณหภูมิต่ํา stage แรกจะถูกอัดดวย Booster Compressor แลวสงไปที่ใด
คําตอบ 1 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 2 :
Accumulator
Intercooler
Receiver
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
52
ิท
ส
น
ว
ง
ขณะที่ระบบทําความเย็นทํางาน สารทําความเย็นใน Evaporator เปนอยางไร
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
คายความรอนและเปลี่ยนสถานะจากไอเปนของเหลว
คําตอบ 2 :
เดือดและเปลี่ยนสถานะจากไอเปนของเหลว
คําตอบ 3 :
เดือดและเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ
คําตอบ 4 :
มีสถานะเปนของเหลวโดยอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิอิ่มตัว
53
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอดีของระบบทําความเย็นแบบ Cascade คือขอใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ไมทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
สามารถทําความเย็นที่อุณหภูมิต่ําๆ ได
คําตอบ 3 :
ตนทุนและการซอมบํารุงต่ํา
คําตอบ 4 :
มีอุปกรณในระบบนอยกวาแบบ Single stage
54
ความดันศูนยบารเกจ (gauge pressure) มีคาเทากับกี่บารความดันสัมบูรณ (absolute pressure)
14 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0 บาร
1.013 บาร
0.513 บาร
2 บาร
55
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ในทางทฤษฎีอุปกรณใดในระบบการทําความเย็นทํางานภายใตสภาวะเอนทาลปคงที่ (adiabatic)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
อุปกรณลดความดัน
คําตอบ 4 :
อีวาปโพเรเตอร
ในทางทฤษฏีอุปกรณใดในระบบการทําความเย็นทํางานภายใตสภาวะเอนโทรปคงที่ (Isentropic)
ขอที่ :
ิธ์ ห
56
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
อุปกรณลดความดัน
คําตอบ 4 :
อีวาปโพเรเตอร
ส
อ
ข
กร
57
ิท
ส
น
ว
ง
อุปกรณใดในระบบการทําความเย็นทํางานภายใตสภาวะความดันคงที่ (constant pressure)
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร, คอนเดนเซอร
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร, อุปกรณลดความดัน
คําตอบ 3 :
คอนเดนเซอร, อีวาปโพเรเตอร
คําตอบ 4 :
อุปกรณลดความดัน, อีวาปโพเรเตอร
58
ภ
ส
15 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
59
อุปกรณใดที่เพิ่มเขาไปในระบบทําความเย็นเพื่อทําใหการทําความเย็นเปนระบบการทําความเย็นแบบสองขั้น
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Intercooler
Accumulator
Receiver
Heat exchanger
ส
อ
ข
กร
60
อุปกรณใดในระบบการทําความเย็นทํางานภายใตสภาวะความดันต่ํา
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
receiver
oil separator
condenser
evaporator
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
61
accumulator มีหนาที่อะไรในระบบทําความเย็น
คําตอบ 1 :
กรองสิ่งสกปรกภายในระบบทําความเย็น
คําตอบ 2 :
ดักน้ํามันที่ผสมมากับสารทําความเย็น
คําตอบ 3 :
ดักน้ํายาเหลวไมใหสงเขาไปในคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
ถายเทความรอนออกจากระบบทําความเย็น
16 of 138
ขอที่ :
62
ขอใดเปนการเพิ่มสัมประสิทธิ์สมรรถนะการทําความเย็น (COP) ของระบบทําความเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพิ่มอุณหภูมิดานความดันสูงภายในระบบ
คําตอบ 2 :
ลดอุณหภูมิดานความดันต่ําภายในระบบ
คําตอบ 3 :
เปลี่ยนประเภทของคอมเพรสเซอรที่ใชในระบบ
คําตอบ 4 :
เพิ่ม heat exchanger เขาไปในระบบ
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
63
หากเครื่องทําความเย็นทางทฎษฎีมีอุณหภูมิกลั่นตัว (Condensing Temperature) สูงขึ้นจะเกิดผล กระทบอยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เครื่องทําความเย็นมี COP ลดลง
คําตอบ 2 :
ผลทําความเย็น (Refrigerating Effect) มากขึ้น
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอรใชพลังงานลดลง
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรใชพลังงานเทาเดิม
64
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
หากสารทําความเย็นที่ไหลออกจากคอนเดนเซอรมีการทําใหเย็นยิ่ง (Sub cooling) มากขึ้นจะเกิดผล กระทบอยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เครื่องทําความเย็นมี COP ลดลง
คําตอบ 2 :
คาการทําความเย็น (Refrigerating Effect) มากขึ้น
คําตอบ 3 :
เครื่องอัดใชพลังงานมากขึ้น
คําตอบ 4 :
สารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องควบแนนมีความดันลดลง
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
65
หากสารทําความเย็นที่ไหลเขาเครื่องอัดไอมีสถานะเปนไอรอนยวดยิ่ง(Superheat Vapour)มากขึ้น จะเกิดผลกระทบอยางไร
คําตอบ 1 :
เครื่องทําความเย็นมี COP เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
ความรอนที่ตองระบายทิ้ง (Heat reject) เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอรใชพลังงานเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
ความดันที่สารทําความเย็นกลั่นตัวจะลดลง
ภ
ส
ขอที่ :
66
คอนเดนเซอรมีหนาที่อะไร
คําตอบ 1 :
ระบายความรอนสารทําความเย็น
คําตอบ 2 :
ระเหยสารทําความเย็นใหกลายเปนไอ
17 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 3 :
ลดความดันในระบบกอนสงสารทําความเย็นเขาคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
เปนอุปกรณดูดซับความรอนใหแกสารทําความเย็น
67
ขอใดไมใชหนาที่ของ คอมเพรสเซอร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เปนอุปกรณสรางแรงดันในระบบ
คําตอบ 2 :
อัดและสงสารทําความเย็นไปคอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
เปนอุปกรณทําใหสารทําความเย็นกลั่นตัว
คําตอบ 4 :
เปนอุปกรณสรางสุญญากาศในระบบ
68
อุปกรณใดในระบบการทําความเย็นทําหนาที่ดูดความรอนเขาสูสารทําความเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
วาลวลดความดัน
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
อีวาโปเรเตอร
ส
อ
ข
กร
69
อุปกรณดานความดันสูงของระบบการทําความเย็น คือ
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
รีซีฟเวอร
คําตอบ 2 :
อีวาโปเรเตอร
คําตอบ 3 :
แอคคิวมิวเลเตอร
คําตอบ 4 :
ฟรีซเซอร
70
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
อุปกรณดานความดันต่ําของระบบการทําความเย็น คือ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 2 :
รีซีฟเวอร
คําตอบ 3 :
อีวาโปเรเตอร
คําตอบ 4 :
ดรายเออร
18 of 138
71
ตําแหนงใดเปนตําแหนงที่ติดตั้ง Accumulator
ขอที่ :
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ระหวาง Compressor กับ Condenser
คําตอบ 2 :
ระหวาง Evaporator กับ Condenser
คําตอบ 3 :
ระหวาง Evaporator กับ Compressor
คําตอบ 4 :
ระหวาง Booster compressor กับ High stage compressor
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
72
Thermostatic Expansion valve ทําหนาที่อะไรในระบบทําความเย็น
คําตอบ 1 :
เปนวาลวนิรภัยเพื่อปองกันความดันในระบบไมใหสูงเกินไป
คําตอบ 2 :
ใชสําหรับถายน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 3 :
ปรับอัตราการไหลของน้ํายาเหลวที่ทางเขาของอีแวปโพเรเตอร
คําตอบ 4 :
ปรับระดับน้ํายาเหลวภายในแอคคิวมูเลเตอร
73
ิธ์ ห
ิท
ส
น
ว
ง
จงหากําลังของคอมเพรสเซอร ที่ใชอัดสารทําความเย็นที่มีคาเอนทาลป 400 kJ/kg ใหมีคาเอนทาลปเปน 650 kJ/kg โดยที่มีอัตราการไหลของสารทําความเย็นเทากับ 100 g/s
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
2.5 kw.
25 kw.
250 kw.
25000 kw.
74
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
เครื่องควบแนน (Condenser) แบบใดที่สามารถระบายความรอนทําใหระบบทําความเย็นมีสมรรถนะสูงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เครื่องควบแนนแบบระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled Condenser)
คําตอบ 2 :
เครื่องควบแนนแบบเปลือกและทอ (Shell and Tube Condenser)
คําตอบ 3 :
เครื่องควบแนนแบบระเหย (Evaporative Condenser)
คําตอบ 4 :
ทุกแบบมีสมรรถนะใกลเคียงกัน
75
ภ
ส
เครื่องควบแนน (Condenser) แบบใด จะมีขนาดใหญที่สุด หากระบายความรอนไดเทากัน
คําตอบ 1 :
เครื่องควบแนนแบบระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooled Condenser)
คําตอบ 2 :
เครื่องควบแนนแบบเปลือกและทอ (Shell and Tube Condenser)
คําตอบ 3 :
เครื่องควบแนนแบบระเหย (Evaporative Condenser)
19 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ทุกแบบมีขนาดใกลเคียงกัน
76
สวนประกอบหลักของระบบอัดไออยางงายไดแกขอใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Evaporator, Compressor, Accumulator, Expansion valve
Condenser, Capillary tube, Evaporator, Accumulator
Expansion valve, Evaporator, Condenser, Compressor
Condenser, Capillary tube, Evaporator, Accumulator
77
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
เหตุการณใด ไมเกิดขึ้นในกระบวนการ throttling
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความดันลดลง
คําตอบ 2 :
เอนทาลปคงที่
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิลดลง
คําตอบ 4 :
ความหนาแนนคงที่
ิธ์ ห
78
ิท
ส
น
ว
ง
เครื่องทําความเย็นชนิด Carnot Cycle มีอุณหภูมิไอระเหย –10 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิกลั่นตัว 40 องศาเซลเซียส COP ของเครื่องทําความเย็นชุดนี้ควรมีคาเทาใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
มากกวา 5.26
คําตอบ 2 :
เทากับ 5.26
คําตอบ 3 :
เทากับ 0.8
คําตอบ 4 :
เทากับ 0.2
79
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอใดกลาวไดถูกตอง
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอรสามารถอัดของเหลวไดดี
คําตอบ 2 :
อีแวปปอเรเตอรทําหนาที่เปนเครื่องแลกเปลี่ยนความรอน
คําตอบ 3 :
เมื่อสารทําความเย็นผานวาลวลดความดัน ความดันจะลดลงโดยอุณหภูมิคงที่
คําตอบ 4 :
การ Subcooling ไมมีผลตอประสิทธิภาพการทําความเย็น
80
ขอใดกลาวถูกตอง
20 of 138
คําตอบ 1 :
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็นที่ดีตองมีความรอนแฝงของการกลายเปนไอต่ํา
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็นตางชนิดกัน ทํางานที่สภาวะเดียวกัน จะทําความเย็นไดเทากัน
คําตอบ 4 :
คา Suction Superheat ไมมีผลทําใหกําลังทําความเย็นของคอมเพรสเซอรมากขึ้นหรือลดลงแตอยางใด
81
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอใดจัดเปนอุปกรณในกลุมเดียวกัน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Oil Differential Pressure Switch, Low Pressure Switch, High-Low Pressure Switch
Fusible plug, Pressure Relief valve, Falling Film Water Chiller
Hand Expansion Valve, Regulating Valve, IQF
Contact Plate Freezer, Intercooler, Evaporator
ิธ์ ห
82
ขอใดสามารถทํางานเปนระบบทําความเย็น
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร + Evaporative Condenser + Ball Valve + คอลยเย็น + R12
คําตอบ 2 :
คอมเพรสเซอร + ทอแคปทิ้วป + Low Pressure Switch + คอลยเย็น + R134a
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอร + Evaporative Condenser + วาลวลดความดัน + เครื่องทําน้ําแข็ง + NH3 + ปมน้ํา + น้ํา
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอร + Air Cooled Condenser + Thermostatic Expansion Valve + Intercooler + R22
ว
ศ
ิ
าว
83
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอชั้นเดียว ทํางานที่อุณหภูมิกลั่นตัว 40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิไอระเหย –20 องศาเซลเซียส ถาเพิ่มอุณหภูมิไอระเหยเปน –10 องศาเซลเซียส จะมีผล
อยางไร
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทําใหคอนเดนเซอรตองระบายความรอนมากขึ้น
คําตอบ 2 :
ทําใหคอมเพรสเซอรใชพลังงานนอยลง
คําตอบ 3 :
คา RE ต่ําลง
คําตอบ 4 :
คา COP ของระบบลดลง
84
21 of 138
สารทําความเย็น R134a ถูกดูดเขาคอมเพรสเซอรที่อุณหภูมิไออิ่มตัว –6.7 องศาเซลเซียส จงหาอัตราการไหลเชิงมวลเมื่อกระบอกสูบคอมเพรสเซอรมีความจุ 9.44 ลิตรตอวินาที
กําหนดใหที่อุณหภูมิอิ่มตัว –6.7 องศาเซลเซียส R134a มีปริมาตรจําเพาะของไอ 0.0874 ลูกบาศกเมตรตอกิโลกรัม
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
1.9 กิโลกรัมตอชั่วโมง
0.108 กิโลกรัมตอวินาที
0.103 กิโลกรัมตอวินาที
19.05 กิโลกรัมตอชั่วโมง
85
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
น้ํายา R22 มีความดันเกจอยูที่ 500 kPa ขอใดกลาวถูกตอง
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ถาอุณหภูมิประมาณ 6 องศาเซลเซียส จะมีสถานะเปนไออิ่มตัวเทานั้น
คําตอบ 2 :
ถาอุณหภูมิประมาณ 4 องศาเซลเซียส จะมีสถานะเปนของเหลวลวน
คําตอบ 3 :
ถาอุณหภูมิประมาณ 15 องศาเซลเซียส จะมีองศาซุปเปอรฮีทเทากับ 15 K
คําตอบ 4 :
ถาอุณหภูมิประมาณ 0 องศาเซลเซียส จะมีสถานะเปน Superheat
ิธ์ ห
86
ระบบทําความเย็นทํางานที่อุณหภูมิควบแนน +40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิไอระเหย –40 องศาเซลเซียส ใชน้ํายา R22 ที่กําลังผลิตความเย็นเทากัน ระบบใดตองใชคอนเดนเซอรคา
ปาซิตี้สูงกวา
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
ระบบอัดไอชั้นเดียว
คําตอบ 2 :
ระบบอัดไอชั้นเดียว มีอีโคโนไมเซอร
คําตอบ 3 :
ระบบอัดไอสองชั้น มีอินเตอรคูลเลอรแบบเปดอุณหภูมิ –5 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 :
ระบบอัดไอสองชั้น มีอินเตอรคูลเลอรแบบปด
ส
อ
ข
กร
87
การออกแบบระบบทําความเย็นขนาดเล็กดวยน้ํายา R22 ถาตองการอุณหภูมิหองเย็น +5 องศาเซลเซียส ขอใดไมควรกระทําในทางปฏิบัติ
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
กําหนดให Suction Superheat เทากับ 0 องศาเซลเซียส
คําตอบ 2 :
ติดตั้ง Accumulator กอนเขาคอมเพรสเซอร
ภ
ส
คําตอบ 3 :
ใชอุณหภูมิไอระเหย –2 องศาเซลเซียส
คําตอบ 4 :
ใชคอนเดนเซอรชนิดระบายความรอนดวยอากาศ
88
สารทําความเย็นชนิดหนึ่งจํานวน 1.36 กิโลกรัม ขณะออกจากวาลวลดความดันเกิดเปลี่ยนสถานะเปนไอโดยเอนทาลปขณะผานวาลวนี้เทากับ 102.344 kJ/kg เอนทาลปของไออิ่มตัว
เทากับ 241.904 kJ/kg เอนทาลปของของเหลวอิ่มตัวเทากับ 41.868 kJ/kg สารทําความเย็นกลายเปนไอจํานวนเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
0.41kg
50%
40%
22 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0.59 kg
89
ระบบทําความเย็นชนิดใดที่นําคอมเพรสเซอรมาใชทําความเย็น
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Absorption Refrigeration System
Vapor Compression Refrigeration System
Steam Jet Refrigeration System
Air Expansion System
90
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอแตกตางระหวางระบบทําความเย็นทางทฤษฎีกับทางปฏิบัติคือขอใด
ขอที่ :
ขอที่ :
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
เมื่อไมมี Pressure Drop ในคอลยเย็น สารทําความเย็น R-22 เดือดโดยที่อุณหภูมิอิ่มตัวไมคงที่
คําตอบ 2 :
ปริมาณสารทําความเย็นที่ปอนเขาคอลยเย็นจะพอดีกับการเดือดเปนไอหมดเสมอ
คําตอบ 3 :
มี Pressure Drop เกิดขึ้นตามทอหรืออุปกรณตางๆ
คําตอบ 4 :
ไมมีขอแตกตาง
91
Cryogenic มีใชในงานประเภทใด
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
ใชในระบบปรับอากาศตามโรงงานขนาดใหญ
คําตอบ 2 :
งานที่ตองการอุณหภูมิไอระเหย –30 องศาเซลเซียส
คําตอบ 3 :
แชแข็งผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป (ขาวกลอง)
คําตอบ 4 :
ทําเปนอากาศเหลวเพื่อแยกแกสตางๆ ออกจากอากาศ
92
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับอุปกรณตอไปนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Oil Separator – ระบบที่ใชคอมเพรสเซอรชนิดสกรูไมจําเปนตองมี Oil Separator
Expansion Valve – คาปาซิตี้ของวาลวขึ้นอยูกับจํานวนรอบที่ปรับ
Air Purge – ระบบ R-22 ที่ทํางานที่ความดันสูงกวาบรรยากาศจําเปนตองมี Air Purge
Dryer – ใชกรองเศษสิ่งสกปรกในระบบ
93
ขอใดคือลักษณะของการทําความเย็นแบบ Cascade
23 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
มี Cascade Condenser เปนเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนระหวางสารทําความเย็น 2 ชนิด
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็นทั้ง 2 ชนิดจะแลกเปลี่ยนความรอนจนอุณหภูมิเทากัน
คําตอบ 3 :
ถาตองการอุณหภูมิไอระเหยต่ํามากๆ จะนิยมใชแอมโมเนียเปนสารทําความเย็น
คําตอบ 4 :
P-h Diagram เหมือนกับระบบอัดไอสองชั้นชนิดมี Open Flash Intercooler
94
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอใดคือผลของ Subcooling
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ยิ่ง Subcool มากยิ่งลดความดันไดต่ํา
คําตอบ 2 :
ทําใหอุณหภูมิ Superheat ที่ดาน Discharge ของคอมเพรสเซอรต่ําลง
คําตอบ 3 :
ทําใหตองใชทอ Liquid ขนาดใหญขึ้น
คําตอบ 4 :
เมื่อผานวาลวลดความดันทําใหเกิด Flash Gas นอยลง
ิธ์ ห
95
มีสารทําความเย็นเหลวอุณหภูมิ +40 องศาเซลเซียส ตองการทํา Subcooling สารทําความเย็นนี้จะทําไดอยางไร
ขอที่ :
ใช Open Flash Economizer
คําตอบ 2 :
แลกเปลี่ยนความรอนกับไอสารทําความเย็นดาน Suction
คําตอบ 3 :
ใช Open Flash Intercooler
คําตอบ 4 :
ในทางปฏิบัติไมสามารถทําได
ส
อ
ข
กร
96
ขอใดกลาวไดถูกตอง
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
อากาศที่ปนอยูในระบบทําความเย็นไมกอใหเกิดผลเสียอะไร
คําตอบ 2 :
เกล็ดหิมะที่เกาะตามผิวคอลยเย็นชวยใหการทําความเย็นดีขึ้น
คําตอบ 3 :
ระบบทําความเย็นที่มีความดันต่ํากวาบรรยากาศ น้ําในระบบอาจแข็งตัวอุดตันวาลวลดความดัน
คําตอบ 4 :
หองเย็นที่มีอุณหภูมิ +1 องศาเซลเซียสไมมีโอกาสที่จะมีน้ําแข็งเกาะคอลยเย็น
97
ภ
ส
ขอใดสามารถประกอบเปน Condensing Unit ได
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
Condenser, Compressor, Accumulator
Compressor, Accumulator, Evaporator
Condenser, Receiver, Evaporator
Compressor, Accumulator, Oil Separator
24 of 138
ขอที่ :
ขอที่ :
98
TD (Temperature Difference) ของคอลยเย็นคืออะไร
คําตอบ 1 :
อุณหภูมิแตกตางระหวางสารทําความเย็นในคอลยกับอุณหภูมิหอง
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิแตกตางของสารทําความเย็นระหวางขาเขากับขาออกคอลยเย็น
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิแตกตางระหวางของสารทําความเย็นที่เกิดจาก Pressure Drop ในคอลยเย็น
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิแตกตางระหวางลมสงกับลมกลับเขาคอลยเย็น
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
99
ิธ์ ห
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
ระบบนี้มี Suction Superheat
คําตอบ 2 :
ระบบนี้มี Open Flash Intercooler
คําตอบ 3 :
ระบบนี้มีคอมเพรสเซอร 2 ตัว
คําตอบ 4 :
ระบบนี้ใชทําความเย็นใหกับหองที่มีอุณหภูมิ –35 องศาเซลเซียส
ว
ศ
ิ
าว
100
อุปกรณใดไมใชในระบบอัดไอชั้นเดียว
คําตอบ 1 :
ส
อ
ข
กร
Compressor
Liquid Receiver
Recirculation Pump
Intercooler
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
101
25 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
102
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
26 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
103
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 2 :
ภ
ส
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
104
27 of 138
คําตอบ 1 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
105
สารทําความเย็นชนิดใดที่มีมลภาวะตอโลก และขอกําหนดของ Monteal Protocol ไดตกลงใหยกเลิก และจํากัดการใช
คําตอบ 1 :
R-22
R-717
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
R-290
106
วิธีการจายสารความเย็นสู Evaporator (คอลยเย็น) ขอใดตอไปนี้เปนคําตอบที่ผิด
คําตอบ 1 :
Super Sonic Type
28 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Pump Circulation Type
Gavity Flooded Type
Direct Expansion Type
107
คาความรอนใดในวิธีการคํานวณหาภาระความเย็น (Cooling Load) ปกติจะไมมีการนํามาคํานวณ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
Wall Heat Load
Air Change Load
Solar Heat Load
Product Load
ิธ์ ห
108
การเลือกขนาดของคอลยเย็น (Fin Evaporator) ของหองแชแข็งตองคํานึงคาตางๆ ที่สําคัญๆ ขอใดตอไปนี้เปนคําตอบที่ผิด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Cooling Capacity, T.D., Fin Spacing, Material
Cooling Capacity, T.D., Air Throw, Frost Factor
Cooling Capacity, T.D., Fin Spacing, Air Throw
Cooling Capacity, T.D., Air Throw, Ambient Temperature
ส
อ
ข
กร
109
ิท
ส
น
ว
ง
ถาลดแรงดันดานดูด (Suction Pressure) และอุณหภูมิของคอลยเย็น (Evaporating Temp.) ลดต่ําดวย จะสงผลใหเกิดอะไรขึ้น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
กําลังไฟฟาตอตันความเย็นจะลดลง
คําตอบ 2 :
กําลังไฟฟาตอตันความเย็นจะเพิ่มสูงขึ้น
คําตอบ 3 :
กําลังไฟฟาไมมีผลอะไรใดๆ ตอการลดลงของอุณหภูมิ
คําตอบ 4 :
ความดันดานสง (Discharge Pressure) จะสูงขึ้น
110
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ระบบทําความเย็นแบบ 2 สเตจ (Two Stage) เครื่องอัดน้ํายาบูสเตอร (Booster) หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 :
ติดตั้งอยูดานความดันสูง (High Side)
คําตอบ 2 :
ติดตั้งอยูดานความดันต่ํา (Low Side)
คําตอบ 3 :
ติดตั้งใชกับระบบน้ํายา R-11 เทานั้น
คําตอบ 4 :
29 of 138
ขอที่ :
ขอที่ :
ขอที่ :
111
คําตอบ 1 :
อยูในสถานะ Sub-cooled Liquid
คําตอบ 2 :
อยูในสถานะ Saturated Liquid
คําตอบ 3 :
อยูในสถานะ Super Heat Liquid
คําตอบ 4 :
อยูในสถานะ Critical Point
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
112
คําตอบ 1 :
อยูในสถานะ Sub-cooled Vapor
คําตอบ 2 :
อยูในสถานะ Saturated Vapor
คําตอบ 3 :
อยูในสถานะ Super Heat Vapor
คําตอบ 4 :
อยูในสถานะ Critical Point
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
113
ระบบทําความเย็นระบบหนึ่งมีคา Cooling Capacity ที่คอลยเย็นเทากับ 33 kW คาAbsorbed Power ที่เครื่องคอมเพรสเซอรเทากับ 12 kW คา Heat Rejection ที่คอนเดนเซอร
เทากับ 45 kW ถามวา C.O.P. ของระบบนี้เทากับเทาไร
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
2.75
3.75
1.36
0.73
114
30 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
6.2
5.7
6.1
5.6
ส
อ
ข
กร
115
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
31 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
5.3
4.4
4.6
3.8
116
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ระบบทําความเย็นแบบ Two Stage ที่ใช Inter-stage Gas Cooling แบบไหนมีคา C.O.P. สูงที่สุด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Liquid Injection Inter-stage Gas Cooling
Liquid Injection Inter-stage Gas Cooling with Liquid Sub-cooler
Open Flash Inter-stage Gas Cooling
Closed Flash Inter-stage Gas Cooling (with liquid sub-cooling coil)
ระบบทําความเย็นแบบ Two Stage ที่ใช Inter-stage Gas Cooling แบบไหนมีคา C.O.P. ต่ําที่สุด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
117
ิท
ส
น
ว
ง
Liquid Injection Inter-stage Gas Cooling
Liquid Injection Inter-stage Gas Cooling with Liquid Sub-cooler
Open Flash Inter-stage Gas Cooling
Closed Flash Inter-stage Gas Cooling (with liquid sub-cooling coil)
ส
อ
ข
กร
118
อุณหภูมิของสินคาหรือของเหลวหรือวัตถุใดๆ ที่ตองการทําใหเย็นจะตอง
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
สูงกวาจุดเยือกแข็ง (Freezing Point) ของบริเวณที่จะลดอุณหภูมิ
คําตอบ 2 :
จะตองสูงกวาจุดไอระเหยของคอลยเย็น (Evaporating Temp.)
คําตอบ 3 :
เทากับจุดไอระเหยของคอลยเย็น (Evaporating Temp.)
คําตอบ 4 :
ต่ํากวาจุดไอระเหยของคอลยเย็น (Evaporating Temp.)
119
ภ
ส
ถาภาระความรอนของคอลยเย็น (Evaporator Load) เพิ่มขึ้นจะมีผลอยางไรตอแรงดันดานดูด (Suction Pressure)
คําตอบ 1 :
จะลดลง
คําตอบ 2 :
จะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
คงเดิมไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 4 :
ความดันดานสงจะลดลง
32 of 138
ขอที่ :
120
วิธีการละลายน้ําแข็งออกจากคอลยเย็น ชนิด Finned-Tube Evaporator วิธีใดตอไปนี้จะใหผลเร็วที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
หยุดระบบทําความเย็นใหพัดลมคอลยเย็นหมุนตอไปเพื่อละลายน้ําแข็ง
คําตอบ 2 :
จายแกสรอนเขาไปในคอลยเย็น
คําตอบ 3 :
ใชน้ําอุนราดไปในคอลยเย็นเพื่อละลายน้ําแข็ง
คําตอบ 4 :
ใชไมหรือเหล็กแข็งแซะน้ําแข็งออก
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
121
การเลือกคอลยเย็น (Evaporator) ใหถูกตอง จะตองคํานึงถึงสิ่งใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ราคา
คําตอบ 2 :
สี หรือความสวยงาม
คําตอบ 3 :
ขนาด
คําตอบ 4 :
การใชงาน (Application)
122
เหตุการณใดตอไปนี้จะเกิดขึ้นในคอลยเย็น (Evaporator)
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
ของเหลวแรงดันสูงเปลี่ยนเปนของเหลวแรงดันต่ํา
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็นเปลี่ยนสถานะเปนแกสอิ่มตัว (Saturated Gas)
คําตอบ 3 :
ของเหลวแรงดันต่ําเปลี่ยนเปนแกสแรงดันต่ํา
คําตอบ 4 :
แกสแรงดันสูงเปลี่ยนเปนของเหลวแรงดันต่ํา
ส
อ
ข
กร
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
123
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) การไหลของสารทําความเย็น มีลําดับการไหล ขอใดถูกตองที่สุด
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
อุปกรณลดความดัน เครื่องระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร
คําตอบ 2 :
อุปกรณลดความดัน เครื่องระเหย(Evaporator) คอนเดนเซอร คอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
อุปกรณลดความดัน คอนเดนเซอร เครื่องระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
คอนเดนเซอร คอมเพรสเซอร เครื่องระเหย(Evaporator) อุปกรณลดความดัน
124
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถาใชเปนเครื่องทําความรอนหรือฮีตปม(Heat Pump) การไหลของสารทําความเย็น มีลําดับการไหล ขอใดถูก
33 of 138
ตองที่สุด
คําตอบ 1 :
อุปกรณลดความดัน เครื่องระเหย(Evaporator) คอนเดนเซอร คอมเพรสเซอร
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
อุปกรณลดความดัน เครื่องระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
อุปกรณลดความดัน คอนเดนเซอร เครื่องระเหย(Evaporator) คอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
คอนเดนเซอร คอมเพรสเซอร เครื่องระเหย(Evaporator) อุปกรณลดความดัน
125
ความรูเกี่ยวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ(Ideal Vapor Compression Refrigeration Cycle) และวัฏจักรทําความเย็นคารโนต(Carnot Refrigeration Cycle) ขอใดถูก
ตองที่สุด
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติมีประสิทธิภาพวัฏจักร(COP)สูงกวาวัฏจักรทําความเย็นคารโนต
คําตอบ 2 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ และวัฏจักรทําความเย็นคารโนต ตางก็เปนวัฏจักรยอนกลับได(Reversible Cycle)
คําตอบ 3 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติเปนวัฏจักรที่สมบูรณ ประสิทธิภาพของวัฏจักร(COP)ไมขึ้นกับชนิดของสารทําความเย็น
คําตอบ 4 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติเปนวัฏจักรที่ยอนกลับไมได(Irreversible Cycle)
ิธ์ ห
126
ความรูเกี่ยวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ(Ideal Vapor Compression Refrigeration Cycle) และวัฏจักรทําความเย็นคารโนต(Carnot Refrigeration Cycle) ขอใดถูก
ตองที่สุด ถาสภาวะที่ 1 หมายถึงสารทําความเย็นไหลออกจากเครื่องระเหย(Evaporator)เขาสูคอมเพรสเซอร สวนสภาวะที่ 2 ,3 และ 4 ใหไลไปตามลําดับการไหล และ TH =
อุณหภูมิอากาศหรือน้ําที่ระบายความรอน TL= อุณหภูมิหองเย็น h = เอนทัลป
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติมีประสิทธิภาพวัฏจักร(COP) = (h2 – h3)/(h2 – h1)
คําตอบ 2 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติมีประสิทธิภาพวัฏจักร(COP) = TL/(TH – TL)
คําตอบ 3 :
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติมีประสิทธิภาพวัฏจักร(COP) = (h1 – h3)/(h2 – h1)
คําตอบ 4 :
วัฏจักรทําความเย็นคารโนต = TH/(TH – TL)
127
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
34 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
128
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 2 :
ภ
ส
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
129
35 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
130
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
36 of 138
คําตอบ 3 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
131
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 2 :
ภ
ส
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
132
37 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ิธ์ ห
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
133
ิท
ส
น
ว
ง
ความหมายของการทําความเย็นโดยวัฏจักรคารโนมีความหมายวาอะไร
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
เปนวัฏจักรการทําความเย็นที่ไดประสิทธิภาพต่ําที่สุด
คําตอบ 2 :
เปนวัฏจักรการทําความเย็นที่ไดประสิทธิภาพสูงที่สุด
คําตอบ 3 :
เปนวัฏจักรการทําความเย็นที่ทํางานจริง
คําตอบ 4 :
เปนวัฏจักรการทําความเย็นที่ทําอุณหภูมิไดต่ําสุด
134
ภ
ส
สารทําความเย็นที่ออกมาจากอีแวปโพเรเตอรแบบควบคุมเอ็กแปนชั่นวาลวควรมีสถานะใด
คําตอบ 1 :
ของเหลวอิ่มตัว
คําตอบ 2 :
ของเหลวผสมกับไอ
คําตอบ 3 :
ไออิ่มตัว
คําตอบ 4 :
ซุปเปอรฮีทหรือไอรอนยวดยิ่ง
38 of 138
ขอที่ :
135
สารทําความเย็นที่ออกมาจากคอนเดนเซอรควรมีสถานะใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ซับคูล(sub-cooled)หรือของเหลวอิ่มตัว
คําตอบ 2 :
ของเหลวผสมกับไอ
คําตอบ 3 :
ไออิ่มตัว
คําตอบ 4 :
ซุปเปอรฮีทหรือไอรอนยวดยิ่ง
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
136
คอมเพรสเซอรเปนอุปกรณหลักที่ใชสําหรับระบบทําความเย็นแบบใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ
คําตอบ 2 :
ระบบทําความเย็นแบบดูดซึม
คําตอบ 3 :
ระบบทําความเย็นแบบใชไฟฟาโดยตรง
คําตอบ 4 :
ระบบทําความเย็นแบบใชน้ําพน
137
ิท
ส
น
ว
ง
ถาอุณหภูมิดานการกลั่นตัวมีคาสูงขึ้นจะสงผลอยางไรกับประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ประสิทธิภาพสูงขึ้น
คําตอบ 2 :
ประสิทธิภาพต่ําลง
คําตอบ 3 :
ประสิทธิภาพเทาเดิม
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิดานการกลั่นตัวไมมีผลตอประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
ส
อ
ข
กร
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
138
ถาอุณหภูมิดานการกลั่นตัวมีคาต่ําลงจะสงผลอยางไรกับประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ประสิทธิภาพสูงขึ้น
คําตอบ 2 :
ประสิทธิภาพต่ําลง
คําตอบ 3 :
ประสิทธิภาพเทาเดิม
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิดานการกลั่นตัวไมมีผลตอประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
139
ถาอุณหภูมิดานการระเหยมีคาสูงขึ้นจะสงผลอยางไรกับประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
คําตอบ 1 :
ประสิทธิภาพสูงขึ้น
39 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
ประสิทธิภาพต่ําลง
คําตอบ 3 :
ประสิทธิภาพเทาเดิม
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิดานการกลั่นตัวไมมีผลตอประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
140
ถาอุณหภูมิดานการระเหยมีคาต่ําลงจะสงผลอยางไรกับประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ประสิทธิภาพสูงขึ้น
คําตอบ 2 :
ประสิทธิภาพต่ําลง
คําตอบ 3 :
ประสิทธิภาพเทาเดิม
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิดานการกลั่นตัวไมมีผลตอประสิทธิภาพของระบบทําความเย็น
ิธ์ ห
141
ระบบทําความเย็นแบบคาสเคด (Cascade) แตกตางจากระบบทําความเย็นแบบ 2 สเตจธรรมดาอยางไร
ขอที่ :
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ใชคอมเพรสเซอรเพียงตัวเดียว
คําตอบ 2 :
ระบบทําความเย็นดานต่ําและสูงจะแยกวงจรจากกัน
คําตอบ 3 :
ระบบทําความเย็นดานต่ําและดานสูงจะอยูรวมเปนวงจรเดียวกัน
คําตอบ 4 :
ไมตองติดตั้งอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนภายในระบบ
ส
อ
ข
กร
142
Booster คืออะไร
คําตอบ 1 :
อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนของระบบหลายสเตจ
คําตอบ 2 :
คอมเพรสเซอรดานความดันต่ําของระบบหลายสเตจ
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอรดานความดันสูงของระบบหลายสเตจ
คําตอบ 4 :
ถังพักน้ํายาเหลวของระบบหลายสเตจ
143
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
40 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
144
การถายเทความรอนในเครื่องระเหย(Evaporator)เปนแบบใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความรอนแฝงการระเหย
คําตอบ 2 :
ความรอนแฝงการกลั่นตัว
คําตอบ 3 :
ความรอนสัมผัส
คําตอบ 4 :
ความรอนจําเพาะ
ิธ์ ห
145
ิท
ส
น
ว
ง
ขอใดคือชนิดของไอสารทําความเย็นที่เกิดขึ้นกอนเขาเครื่องอัดไอ(compressor)ในทางปฏิบัติ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ไอรอนยวดยิ่ง
คําตอบ 2 :
ไออิ่มตัว
คําตอบ 3 :
ไอเปยก
คําตอบ 4 :
ของเหลวอิ่มตัว
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
146
การใชงานแบบระบบความดันหลายขั้น(multistage) นิยมใชสําหรับอุณหภูมิที่เครื่องระเหยเทาไร
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
41 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
147
ขอใดเปนผลของสารความเย็นเปนไอรอนยวดยิ่ง(super heat vapour)เพิ่มขึ้นกอนเขาเครื่องอัดไอ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
อุณหภูมิดานลิ้นทางสงเครื่องอัดต่ําลง
คําตอบ 2 :
ปริมาตรจําเพาะของไอสารทําความเย็นลดลง
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิอิ่มตัวทางดูดลดลง
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิอิ่มตัวทางสงลดลง
148
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
0.33 kg/s
0.033 kg/s
10.19 kg/s
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
149
ขอใดเปนผลทําใหความสามารถการทําความเย็นลดลง
คําตอบ 1 :
อุณหภูมิอิ่มตัวทางสงลดลง
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิทางดูดสูงขึ้น
คําตอบ 3 :
ปริมาตรจําเพาะไอสูงขึ้น
คําตอบ 4 :
อัตราการไหลเชิงปริมาณเพิ่มขึ้น
150
ถาความดันทางดานลิ้นทางดูดลดลงโดยที่อุณหภูมิที่เครื่องควบแนนและเครื่องระเหยคงที่จะสงผลอยางไร
คําตอบ 1 :
งานที่ใชในเครื่องอัดเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
ความสามารถทําความเย็นเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
ปริมาณจําเพาะไอลดลง
42 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
การระบายความรอนออกที่เครื่องควบแนนลดลง
151
เครื่องทําความเย็นมีผลทางความเย็น 10 kW และมีผลตางทางเอลทาลปที่เครื่องระเหย 110 kJ/kg จะมีอัตราการไหลเชิงมวลเทาไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0.09 kg/s
0.009 kg/s
0.3 kg/s
0.003 kg/s
152
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
อุปกรณใดที่สามารถทําใหสารทําความเย็นออกจากเครื่องควบแนนมีอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิของเหลวอิ่มตัวได
คําตอบ 1 :
วาลวขยายตัว
คําตอบ 2 :
Heat exchanger
Filter-drier
Accumulater
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
153
ิท
ส
น
ว
ง
ถาเครื่องระเหยมีความดันสูญเสียมากขึ้น(More Pressure drop) ขอใดไมใชผลที่เกิดขึ้น
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
อุณหภูมิของเหลวอิ่มตัวในเครื่องควบแนนเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
คาการทําความเย็นลดลง
คําตอบ 3 :
กําลังงานในเครื่องอัดลดลง
คําตอบ 4 :
ปริมาตรจําเพาะของไอสูงขึ้น
154
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอใดเปนผลโดยตรงมาจากไอรอนยวดยิ่งในระบบทําความเย็นเพิ่มขึ้นกอนเขาเครื่องอัดไอ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ปริมาตรจําเพาะของไอลดลง
คําตอบ 2 :
ความรอนที่ตองระเหยออกที่เครื่องควบแนนเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิดานลิ้นทางสงเครื่องอัดลดลง
คําตอบ 4 :
กําลังที่ใชเครื่องอัดลดลง
155
ระบบทําความเย็นมีผลทางความเย็น 10 kW และมีคา COP เทากับ 2.5 จะมีกําลังงานที่ใชในการอัดเทาไร
43 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
2 kW
4 kW
6 kW
0.25 kW
156
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอใดเปนผลที่เกิดขึ้นถามีความดันลด (pressure loss) ของสารทําความเย็นในทอที่ออกจากเครื่องควบแนนไปยังถังเก็บสารทําความเย็นมากเกินไป
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
flashed gas
Superheated
subcooled
Liquid hammer
ิธ์ ห
157
ระบบทําความเย็นมีความสามารถทําความเย็น 10 kw และมีคา COP ของระบบเทากับ 2.5 และถากําลังงานของเครื่องอัดลดลง 10% คา COP จะมีคาเทาไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
2.7
3.2
1.5
2
ส
อ
ข
กร
158
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
44 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
159
เครื่องอัดในระบบทําความเย็นเครื่องหนึ่งมีประสิทธิภาพทางกลเทากับ 80% และมีกําลังงานทางทฤษฎี เทากับ 10 kW กําลังงานที่ใชจริงจะมีคาเทาไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
12.5 kW
8 kW
10 kW
12 kW
ิธ์ ห
160
ขอใดไมใชผลทําใหคาความสามารถการทําความเย็นของระบบลดลงโดยที่มีคาอุณหภูมิอิ่มตัวทางสง คงที่
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความดันลดในทอทางดูด
คําตอบ 2 :
ความดันลดในทอทางสง
คําตอบ 3 :
เกิดของเหลวเย็นยิ่ง (Sub cooled) ในเครื่องควบแนน
คําตอบ 4 :
ความดันลดในเครื่องระเหย
ส
อ
ข
กร
161
ิท
ส
น
ว
ง
คอนเดนเซอรมีหลักการทํางานเปนไปตามเสนคุณสมบัติใดบนแผนภูมิ P-h
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
เสนความดันคงที่
คําตอบ 2 :
เสนเอนโทรปคงที่
คําตอบ 3 :
เสนปริมาตรจําเพาะคงที่
คําตอบ 4 :
เสนอุณหภูมิคงที่
162
ภ
ส
วาลวระเหยสารทําความเย็น(Expansion Valve)ทําหนาที่อะไร
คําตอบ 1 :
เพิ่มความดันในระบบทําใหสารทําความเย็นเปลี่ยนสถานะไอเปนของเหลว
คําตอบ 2 :
ลดความดันทําใหสารทําความเย็นเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ
คําตอบ 3 :
ลดความดันใหสารทําความเย็นเปลี่ยนสถานะจากของไอเปนของเหลว
คําตอบ 4 :
ลดความดันในระบบทําใหสารทําความเย็นเปลี่ยนจากสถานะของเหลวเปนของเหลวผสมไอ
45 of 138
ขอที่ :
163
ในระบบอัดไอตามทฤษฎีขอใดไมใชอุปกรณหลัก
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
อีแวปโพเรเตอร
คําตอบ 3 :
วาลวลดความดัน
คําตอบ 4 :
Stop Valve
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
164
จงหาประสิทธิภาพของการทําความเย็นของระบบ เมื่อ Enthalpy ทางดานเขาของ Evaporator = 100 kJ/kg Enthalpy ทางดาน Suction ของ Compressor = 200 kJ/kg
Enthalpy ทางดาน Discharge ของ Compressor = 225 kJ/kg
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
5.0
4.0
3.0
2.5
ิธ์ ห
165
ขอใดเปนอุปกรณพื้นฐานของระบบอัดไอ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
Evaporator Compressor Condenser Receiver
Compressor Oil Separator Condenser Receiver
Condenser Expansion valve Evaporator Compressor
Capillary tube Expansion valve Evaporator Condenser
ว
ศ
ิ
าว
166
คา COP หมายถึงขอใด
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ดัชนีแสดงคาประสิทธิภาพของเครื่องทําความเย็น
คําตอบ 2 :
อัตราการไหลของสารทําความเย็นตอ kW
คําตอบ 3 :
ความรอนที่คายออกในเครื่องควบแนน
คําตอบ 4 :
คาการทําความเย็น
167
ผลทําความเย็น (Refrigeration Effect) คืออะไร
คําตอบ 1 :
งานที่ใสใหกับคอมเพรสเซอรขณะอัดไอ
46 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
คาความรอนที่อีวาโปเรเตอรรับจากหองเย็น
คําตอบ 3 :
คาความรอนที่คอนเดนเซอรถายเทออกจากระบบหารดวยงานที่คอมเพรสเซอรอัดไอ
คําตอบ 4 :
คาความรอนที่อีวาโปเรเตอรถายเทจากระบบหารดวยงานที่คอมเพรสเซอรอัดไอ
168
สารทําความเย็นในขอใดสามารถสัมผัสกับอาหารไดโดยตรง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
R-22
Ammonia
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
R-134A
ิธ์ ห
169
อุปกรณใดในระบบการทําความเย็นทางทฤษฎีทํางานภายใตสภาวะเอนโทรป(Entropy)คงที่ (Isentropic process)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
อุปกรณลดความดัน
คําตอบ 4 :
อีแวปโพเรเตอร
ส
อ
ข
กร
170
ิท
ส
น
ว
ง
ขอดีของระบบทําความเย็นแบบ Cascade คือขอใด
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ไมทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
สามารถทําความเย็นที่อุณหภูมิต่ําๆ ได
คําตอบ 3 :
ตนทุนและการซอมบํารุงต่ํา
คําตอบ 4 :
มีอุปกรณในระบบนอยกวาแบบ Single stage
171
ภ
ส
สัมประสิทธิ์สมรรถนะการทําความเย็น (COP) มีคาเทากับขอใด
คําตอบ 1 :
47 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอที่ :
ิธ์ ห
172
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
48 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
1,387.09 kJ/kg
1,296.40 kJ/kg
1,252.15 kJ/kg
8.34 kJ/kg
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
173
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
49 of 138
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
174
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
50 of 138
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
175
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
51 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
176
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
177
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
-4 องศาเซลเซียส
-6 องศาเซลเซียส
-8 องศาเซลเซียส
-10 องศาเซลเซียส
ภ
ส
52 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
87.743 MW
633.19 kW
223.51 kW
2.09 kW
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
178
ภ
ส
53 of 138
คําตอบ 1 :
ขนาดทําความเย็นคือ m(h1 – h4) kW
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)คือ (h2 – h1)/(h1 – h4)
คําตอบ 3 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)คือ (h2 – h3)/(h2 – h1)
คําตอบ 4 :
ขนาดทําความเย็นคือ h1 – h4 kW
179
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถาเปนวัฏจักรอุดมคติ(Ideal Cycle) ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ในคอมเพรสเซอรไมสมบูรณหรือยอนกลับไมได
คําตอบ 2 :
ในคอนเดนเซอร ไมสมบูรณหรือยอนกลับไมได
คําตอบ 3 :
ในเครื่องระเหย(Evaporator) ไมสมบูรณหรือยอนกลับไมได
คําตอบ 4 :
ในอุปกรณลดความดัน ไมสมบูรณหรือยอนกลับไมได
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
180
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถาใชเปนเครื่องทําความรอนหรือฮีตปม(Heat Pump) ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ของฮีตปมตองมากกวา 1 เสมอ (COPฮีตปม>1)
คําตอบ 2 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP) ของฮีตปมจะนอยกวาหรือมากกวา 1 ก็ได(COPฮีตปม> 1 หรือ <1)
คําตอบ 3 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ของฮีตปมจะนอยกวาของเครื่องทําความเย็น 1 (COPเครื่องทําความเย็น – COPฮีตปม = 1)
คําตอบ 4 :
โจทยไมชัดเจน ฮีตปมและเครื่องทําความเย็นตางกันจะมาสมมุติแบบนั้นไมได
ส
อ
ข
กร
181
ิท
ส
น
ว
ง
ความรูเกี่ยวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration Cycle) ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ตองมากกวา 1 (100%) เสมอ
คําตอบ 2 :
การไหลผาน Expansion Valve ถือวาเอนโทรปคงที่
คําตอบ 3 :
การอัดของคอมเพรสเซอรถือวาเอนทัลปคงที่
คําตอบ 4 :
ความเสียดทานในExpansion Valveมีมาก แตโดยประมาณแลวเอนทัลปยังคงที่
182
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ความรูเกี่ยวกับเครื่องทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration ) ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
คําตอบ 1 :
อุณหภูมิในหองเย็นยิ่งต่ําสัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ยิ่งสูง
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิอากาศภายนอกยิ่งต่ําสัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ยิ่งต่ํา
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิอากาศภายนอกยิ่งต่ําสัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ยิ่งสูง
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิอากาศในหองเย็นไมมีผลตอสัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)
54 of 138
ขอที่ :
183
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
185 kJ/kg
131 kJ/kg
115 kJ/kg
91 kJ/kg
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
184
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
185
V = m.v1
QL = V(h1 – h4)
QL = h1 – h3
COP = m(h1 – h3)/(h2 – h1)
55 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
พลังงานไฟฟา(kW.h)ที่ใชทั้งปจะประมาณ 2 เทาของเดิม
คําตอบ 2 :
พลังงานไฟฟา(kW.h)ที่ใชทั้งปจะเพิ่มจากเดิมไมมากนัก
คําตอบ 3 :
คาไฟฟา(บาท)ที่ใชทั้งปจะประมาณ 2 เทาของเดิม
คําตอบ 4 :
ไมมีขอใดใกลเคียง
186
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
56 of 138
ขอที่ :
187
เครื่องทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถาเปนวัฏจักรอุดมคติ(Ideal Cycle) ใหสภาวะของสารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องระเหย(Evaporator)และ
ไหลเขาคอมเพรสเซอรเปนสภาวะที่ 1 และสภาวะที่ 2 เปนสภาวะระหวางคอมเพรสเซอรกับคอนเดนเซอร สวนสภาวะที่ 3 และ 4 ใหไลไปตามลําดับการไหลของสารทําความเย็น ถา
อัตราการทําความเย็นเปนQL มีหนวยเปน kW ขอใดตอไปนี้ถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ขนาดทําความเย็น(QL) = (h1 – h4) หนวยเปน kW
คําตอบ 2 :
กําลังอัดของคอมเพรสเซอร = QL(h2 – h1) / (h1 – h4) หนวยเปน kW
คําตอบ 3 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)คือ (h2 – h3)/(h2 – h1)
คําตอบ 4 :
อัตราระบายความรอน = h2 – h3 หนวยเปน kW
188
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
เครื่องทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ถาเปนวัฏจักรอุดมคติ(Ideal Cycle) ใหสภาวะของสารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องระเหย(Evaporator)และ
ไหลเขาคอมเพรสเซอรเปนสภาวะที่ 1 และสภาวะที่ 2 เปนสภาวะระหวางคอมเพรสเซอรกับคอนเดนเซอร สวนสภาวะที่ 3 และ 4 ใหไลไปตามลําดับการไหลของสารทําความเย็น ถา
กําลังอัดคอมเพรสเซอรเปน Wc มีหนวยเปน kW ขอใดตอไปนี้ถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
อัตราการทําความเย็น = Wc (h1 – h4 ) / ( h2 – h1 ) หนวยเปน kW
คําตอบ 2 :
อัตราการทําความเย็น = Wc (h1 – h4 ) หนวยเปน kW
คําตอบ 3 :
กําลังอัดคอมเพรสเซอร = h2 – h1 หนวยเปน kW
คําตอบ 4 :
อัตราระบายความรอน = h2 – h3 หนวยเปน kW
ส
อ
ข
กร
189
ิธ์ ห
ิท
ส
น
ว
ง
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration) ซึ่งใชเปนเครื่องปรับอากาศ แตถาพิจารณาเปนเครื่องทําความรอนหรือฮีตปม(Heat Pump) โดยทํางานที่
อุณหภูมิคูเดิม ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
คําตอบ 1 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ของฮีตปมตอง = 1 เสมอ
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 2 :
ขอที่ :
ภ
ส
คําตอบ 3 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะเครื่องปรับอากาศ(COP-AC)= สัมประสิทธิ์สมรรถนะฮีตปม(COP-HP) + 1
คําตอบ 4 :
โจทยไมชัดเจน ฮีตปมและเครื่องทําความเย็นตางกันจะมาสมมุติแบบนั้นไมได
190
ความรูเกี่ยวกับวัฏจักรทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration Cycle) ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
คําตอบ 1 :
สารทําความเย็นไหลผานอุปกรณลดความดันแมวาจะเปนทางปฏิบัติก็ถือไดวาเอนทัลปคงที่
คําตอบ 2 :
การอัดของคอมเพรสเซอรแมวาจะเปนทางปฏิบัติก็ถือไดวาเอนโทรปคงที่
คําตอบ 3 :
การอัดของคอมเพรสเซอรถือวาเอนทัลปคงที่
57 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
สารทําความเย็นไหลผานอุปกรณลดความดันตามทฤษฎีสมบูรณถือไดวาเอนโทรปคงที่
191
ความรูเกี่ยวกับเครื่องทําความเย็นอัดไอ(Vapor Compression Refrigeration ) ตอไปนี้ ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
192
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ภ
ส
58 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
280 kJ/kg
131 kJ/kg
81 kJ/kg
61 kJ/kg
ิธ์ ห
193
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
V = m / v1
Wc = m(h2 – h1)
QL = h1 – h3
COP = m(h1 – h3)/(h2 – h1)
194
59 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ประหยัดพลังงานไดประมาณ 10%
คําตอบ 2 :
เสียพลังงานเพิ่มประมาณ 10%
คําตอบ 3 :
เสียพลังงานเพิ่มประมาณ 4~5%
คําตอบ 4 :
ประหยัดพลังงานไดประมาณ 4~5%
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
195
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
สารทําความเย็น A
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็น B
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็น C
60 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
196
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ไมสามารถบอกไดเพราะไมทราบคา h2
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
m(h1 – h4) / 4
(h1 – h4) / 4
h2 – h1
V( h2 – h1)
ส
อ
ข
กร
197
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
h2 – h1
h2 – h3
T4(s1 – s4)
61 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ไมมีขอใดถูกตองเลย
198
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
62 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
199
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
63 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
64 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
200
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
65 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
201
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
66 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
67 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
202
วัฏจักรทําความเย็นอุดมคติ(Ideal Refrigeration Cycle) ขอความใดตอไปนี้ ขอใดถูกตองที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
มีความเสียดทานที่คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ยังไมสมบูรณจริงๆ เพราะใชการลดความดันดวยความเสียดทาน
คําตอบ 3 :
สามารถมีประสิทธิภาพเทากับเครื่องทําความเย็นคารโนต(Carnot Refrigeration)ได
คําตอบ 4 :
เปนวัฏจักรยอนกลับไดภายใน(Internal Reversible Cycle)
203
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
204
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
40%
29%
22%
16%
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
68 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
205
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
127 kJ/kg
111 kJ/kg
247 kJ/kg
167 kJ/kg
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
206
ภ
ส
คําตอบ 1 :
เครื่องทําความเย็นควรมีสัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)สูงกวา
คําตอบ 2 :
ความดันดานต่ํา(ที่เครื่องระเหย)ของเครื่องทําความเย็นสูงกวา
คําตอบ 3 :
ความดันดานสูง(ที่เครื่องควบแนน)จะใกลเคียงกัน
คําตอบ 4 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP) จะใกลเคียงกัน
69 of 138
ขอที่ :
207
ประโยชนที่สําคัญของการแลกเปลี่ยนความรอนระหวางทอดานดูดและทอสารทําความเย็นเหลว(Liquid-Suction Subcooled) คือ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP) เพิ่มขึ้นอยางมาก
คําตอบ 2 :
ขนาดทําความเย็น(Cooling Capacity)เพิ่มขึ้นอยางมาก
คําตอบ 3 :
ทําใหอุณหภูมิสารทําความเย็นกอนเขาคอมเพรสเซอรจะเย็นลง
คําตอบ 4 :
ทําใหสารทําความเย็นกอนเขาคอมเพรสเซอรมีโอกาสเปนของเหลวไดนอยลง
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
208
การทําความเย็นแบบการอัดแบบ 2 ขั้น(2-Stage Refrigeration) มีวัตถุประสงคสําคัญคือ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพิ่มขนาดทําความเย็น
คําตอบ 2 :
เพิ่มสัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)
คําตอบ 3 :
เพิ่มขนาดคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
ลดอุณหภูมิระเหย(Evaporating Temperature)
209
หนาที่ที่สําคัญของ Automatic Expansion Valve คือ
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
ลดความดันและปรับอัตราการไหลของสารทําความเย็นเขาสูเครื่องระเหย(Evaporator) และทําใหความดันในเครื่องระเหย หรือ Evaporating Temperature คงที่
คําตอบ 2 :
ลดความดันและปรับอัตราการไหลของสารทําความเย็นเขาสูเครื่องระเหย(Evaporator) และทําใหองศารอนยวดยิ่ง(Degree of Superheat)ที่ออกจากเครื่องระเหยคง
ที่
คําตอบ 3 :
ระเหยสารทําความเย็นใหกลายเปนไอใหหมด
คําตอบ 4 :
ปรับลดอัตราการไหลใหสอดคลองกับภาระการทําความเย็น เชนอาคารตองการภาระการทําความเย็นเพียง 25%ก็ปรับอัตราการไหลใหเหลือ 25%
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
210
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
R-134a
R-22
คําตอบ 3 :
แอมโมเนีย
คําตอบ 4 :
คารบอนไดออกไซด
70 of 138
ขอที่ :
211
ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ การที่ของเหลวไหลผานอุปกรณลดความดัน สิ่งที่เกิดขึ้น ขอใดตอไปนี้ถูกตองหรือใกลเคียงความจริงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ของเหลวจะกลายเปนไอ เพราะความรอนจากอากาศรอบๆไหลเขา
คําตอบ 2 :
ความดันลดธรรมชาติบังคับใหบางสวนตองกลายเปนไอ ทําใหของเหลวที่เหลือเย็นลง ซึ่งไอนั้นก็จะเย็นตามไปดวย
คําตอบ 3 :
ความดันลดธรรมชาติบังคับใหมันเย็นลงแตก็ยังเปนของเหลวอยูทั้งหมด จนกวาจะไหลเขาเครื่องระเหยจึ่งจะกลายเปนไอได
คําตอบ 4 :
ความดันลดเนื่องจากความเสียดทาน ทําใหรอนขึ้นบางสวนจึงกลายเปนไอ
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
212
ของเหลวผสมไอที่ไหลออกจากอุปกรณลดความดันไหลเขาเครื่องระเหย(Evaporator) การทําความเย็นสวนที่สําคัญที่สุด เกิดจาก
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทั้งไอและของเหลวมีความสําคัญเทากัน
คําตอบ 2 :
ของเหลวเทานั้นที่มีความสําคัญ
คําตอบ 3 :
ไอมีความสําคัญมากกวาของเหลวเล็กนอย
คําตอบ 4 :
การเพิ่มของเอนโทรปทําใหเกิดการทําความเย็น
213
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
71 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
สารทําความเย็น A
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็น B
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็น C
คําตอบ 4 :
ไมสามารถบอกไดเพราะไมทราบคา h2
214
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
โดยปกติแลว เครื่องทําความเย็นใชคอนเดนเซอรระบายความรอนแบบใด มักมีประสิทธิภาพ COP สูงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ดวยน้ํา(water-cooled Condenser)
คําตอบ 2 :
ระเหยน้ํา(Evaporative Condenser)
คําตอบ 3 :
ดวยอากาศ(Air-cooled Condenser)
คําตอบ 4 :
ไมมีขอใดถูก
การระบายความรอนดี ทําใหของเหลวที่ออกจากคอนเดนเซอรมีอุณหภูมิต่ํา มีผลทําให
ขอที่ :
ิธ์ ห
215
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
กําลังที่ใชในการอัดของคอมเพรสเซอรตอหนวยการทําความเย็นมีคาเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ( COP )เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
ความรอนที่ถายเทที่คอนเดนเซอรมีคามากขึ้นประมาณ 15%
คําตอบ 4 :
ความดันดานต่ํา(Evaporating Pressur ) ลดลง
ส
อ
ข
กร
216
การออกแบบเครื่องทําความเย็นให Condensing Temperature สูงมักมีผลทําให
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
เครื่องมีประสิทธิภาพต่ํา
คําตอบ 2 :
เครื่องมีประสิทธิภาพสูง
คําตอบ 3 :
ขนาดทําความเย็นเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรมีขนาดเล็กลง
217
ภ
ส
การออกแบบเครื่องทําความเย็นให Evaporating Temperature สูงมักมีผลทําให
คําตอบ 1 :
เครื่องมีประสิทธิภาพต่ํา
คําตอบ 2 :
เครื่องมีประสิทธิภาพสูง
คําตอบ 3 :
ขนาดทําความเย็นเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรจะมีขนาดใหญขึ้น
72 of 138
ขอที่ :
218
ถาวัฏจักรดังรูปเปนวัฏจักรคารโน คา COP ของระบบจะมีคาเทาใด
คําตอบ 1 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
219
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
บริเวณหมายเลข 2 ในภาพสารทําความเย็นจะมีสถานะเปนอะไร
73 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ของแข็ง
คําตอบ 2 :
ของเหลว
คําตอบ 3 :
ไอ
คําตอบ 4 :
ของเหลวผสมกับไอ
220
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
บริเวณหมายเลข 3 ในภาพสารทําความเย็นจะมีสถานะเปนอะไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ของแข็ง
คําตอบ 2 :
ของเหลว
คําตอบ 3 :
ไอ
คําตอบ 4 :
ของเหลวผสมกับไอ
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
221
จาก Diagram สารทําความเย็นที่จุด A มีลักษณะเปนอยางไร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ไอความดันสูง
คําตอบ 2 :
ไอความดันต่ํา
คําตอบ 3 :
ของเหลวความดันสูง
คําตอบ 4 :
ของเหลวความดันต่ํา
222
จาก Diagram สารทําความเย็นที่จุด C มีลักษณะเปนอยางไร
74 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ไอความดันสูง
คําตอบ 2 :
ไอความดันต่ํา
คําตอบ 3 :
ของเหลวความดันสูง
คําตอบ 4 :
ของเหลวความดันต่ํา
223
ิธ์ ห
จาก Diagram สารทําความเย็นที่จุด B มีลักษณะเปนอยางไร
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
ของเหลวความดันต่ํา
คําตอบ 2 :
ของเหลวความดันสูง
คําตอบ 3 :
ไอความดันสูง
คําตอบ 4 :
ไอความดันต่ํา
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
224
จาก Diagram สารทําความเย็นที่จุด D มีลักษณะเปนอยางไร
ภ
ส
คําตอบ 1 :
ไอความดันสูง
คําตอบ 2 :
ไอความดันต่ํา
คําตอบ 3 :
ของเหลวความดันสูง
75 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ของเหลวความดันต่ํา
225
จุดไหนในระบบมีความดันที่ใกลเคียงกัน
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
จุด B และ C
คําตอบ 2 :
จุด C และ D
คําตอบ 3 :
จุด A และ D
คําตอบ 4 :
จุด B และ D
ิธ์ ห
226
ความดันของสารทําความเย็นจุดใดสูงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
จุด A
คําตอบ 2 :
จุด B
คําตอบ 3 :
จุด C
คําตอบ 4 :
จุด D
227
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
76 of 138
อุณหภูมิของสารทําความเย็นจุดใดสูงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
จุด D
คําตอบ 2 :
จุด C
คําตอบ 3 :
จุด B
คําตอบ 4 :
จุด A
228
ิธ์ ห
ขอใดคือความหมายของระบบทําความเย็นแบบ 2 stages
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เปนระบบทําความเย็นที่ใชคอมเพรสเซอร 2 ตัว
คําตอบ 2 :
ในหนึ่งรอบการทํางานของระบบทําความเย็น สารทําความเย็นจะถูกอัดตัว 2 ครั้ง
คําตอบ 3 :
เปนระบบทําความเย็นที่ทํางานที่ระดับอุณหภูมิ 2 ระดับ
คําตอบ 4 :
เปนระบบทําความเย็นที่สารทําความเย็นมีสถานะทํางาน 2 สถานะ
ส
อ
ข
กร
229
บริเวณใดในระบบทําความเย็นที่มีความดันสูงที่สุด
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
ทางเขาของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ทางออกของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
ทางเขาของอีแวปพอเรเตอร
คําตอบ 4 :
ทางออกของอีแวปพอเรเตอร
230
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
บริเวณใดในระบบทําความเย็นที่มีความดันต่ําที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทางออกของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ทางเขาของคอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
ทางออกของคอนเดนเซอร
คําตอบ 4 :
ทางออกของอีแวปพอเรเตอร
77 of 138
231
ถาไมคิดผลกระทบของความดันที่ลดลงภายในทอ บริเวณใดในระบบทําความเย็นที่ความดันเทากัน
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทางเขาของคอมเพรสเซอรและทางออกของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ทางออกของอีแวปพอเรเตอรและทางเขาของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
ทางเขาของอีแวปพอเรเตอรและทางออกของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
ทางเขาของคอนเดนเซอรและทางออกของอีแวปพอเรเตอร
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
232
บริเวณใดในระบบทําความเย็นที่มีอุณหภูมิสูงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทางเขาของอีแวปพอเรเตอร
คําตอบ 2 :
ทางออกของอีแวปพอเรเตอร
คําตอบ 3 :
ทางเขาของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
ทางออกของคอมเพรสเซอร
233
บริเวณใดในระบบทําความเย็นที่มีอุณหภูมิต่ําที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทางเขาของอีแวปพอเรเตอร
คําตอบ 2 :
ทางออกของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
ทางเขาของคอนเดนเซอร
คําตอบ 4 :
ทางออกของคอนเดนเซอร
234
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ถานําตูเย็นขนาดการทําความเย็น 10 kW ใสเขาไปในหองขนาด 2x2x2 m ซึ่งหุมฉนวนปดอยางดี แลวเปดฝาตูเย็นทิ้งไว อยากทราบวาอุณหภูมิภายในหองจะเปลี่ยนแปลงอยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เย็นลงเล็กนอย
คําตอบ 2 :
เย็นลงอยางรวดเร็ว
คําตอบ 3 :
รอนขึ้น
คําตอบ 4 :
ไมเปลี่ยนแปลง
235
ภ
ส
78 of 138
ระบบทําความเย็นในภาพเปนระบบทําความเย็นชนิดใด
คําตอบ 1 :
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
1 Stage
2 stage
คําตอบ 3 :
แคสเคด (Cascase)
คําตอบ 4 :
ดูดซึม
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
236
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
79 of 138
ความดันของระบบดังรูปที่บริเวณใดมีคาเทากัน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
1 และ 2
3 และ 4
4 และ 5
5 และ 6
ส
อ
ข
กร
237
ความดันของระบบดังรูปที่บริเวณใดมีคาเทากัน
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
1 และ 2
2 และ 3
3 และ 4
4 และ 5
80 of 138
ขอที่ :
238
ถาบริเวณทางเขาของคอมเพรสเซอรเปนไออิ่มตัว บริเวณใดในรูปมีคาอุณหภูมิเทากัน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
1 และ 2
2 และ 3
3 และ 4
4 และ 5
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
239
อุณหภูมิของระบบดังรูปที่บริเวณใดมีคาสูงสุด
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
1
2
3
4
240
อุณหภูมิของระบบดังรูปที่บริเวณใดมีคาต่ําสุด
81 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
5
6
7
8
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
241
จงหาคา COP ของระบบทําความเย็น
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
2.56
4.04
4.4
6.87
242
82 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
m7 = (h6 – h3) / (h2 – h3)
m7 = QL / (h5 – h4)
m7 = (h6 – h3) / (h7 – h2)
m7 = QL / (h8 – h1)
ส
อ
ข
กร
243
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
83 of 138
คําตอบ 1 :
WcH = (h8– h7) / (h6 – h3) / (h7 – h2)
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
WcH = h8 – h7
WcH = (h6 – h3) / (h7 – h2)
WcH = h6 – h5
244
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
245
ส
อ
ข
กร
WcL = (h8 – h7) / (h6 – h3) / (h7 – h2)
WcL = h8 – h7
WcL = (h6 – h3) / (h7 – h2)
WcL = h6 – h5
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
84 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Wc = QL + WcL + WcH
Qc = h8– h7
Qc = (h6– h3) / (h7 – h2)
Qc = h5 – h4
ส
อ
ข
กร
246
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ขอใดคือ cooling capacity ที่เกิดขึ้นของระบบทําความเย็นหลายขั้นดังรูป
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
85 of 138
คําตอบ 1 :
m1(h8-h1)
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
m1(h1-h8)
m3(h2-h6)
m3(h6-h2)
247
157 ขอใดคือความรอนที่ระบายออกจากระบบทําความเย็นหลายขั้นดังรูป
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
248
m1(h2-h1)
(m1+m3)(h4-h1)
m3(h4-h7)
(m3)(h4-h5)
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
เครื่องทําความเย็นมีอุณหภูมิอิ่มตัวที่เครื่องระเหย (Evaporator) -10 องศาเซลเซียส และเปนไอรอนยวดยิ่ง (Superheat) 5K อุณหภูมิสารทําความเย็นกอนเขาเครื่องอัดไอจะมี
อุณหภูมิเทาไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0 องศาเซลเซียส
-5 องศาเซลเซียส
-10 องศาเซลเซียส
-15 องศาเซลเซียส
249
สารทําความเย็นที่จุด B มีลักษณะเปนอยางไร
86 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ของเหลวความดันต่ํา
คําตอบ 2 :
ของเหลวความดันสูง
คําตอบ 3 :
ไอความดันสูง
คําตอบ 4 :
ไอความดันต่ํา
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
250
ิท
ส
น
ว
ง
ในระบบการทําความเย็นแบบ 2 ขั้น ที่ใชความดันในอีแวปโพเรเตอรเทากับ Pe และใชความดันในคอนเดนเซอรเทากับ Pd ความดันที่เหมาะสมสําหรับทางดูดเขา(Suction) ของ
คอมเพรสเซอรดานความดันสูง(High Stage) ควรมีคาเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
(Pd + Pe)/2
(Pd + Pe)/(Pd - Pe)
รากที่สองของ (Pd x Pe)
รากที่สองของ (Pd + Pe)
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
251
ภ
ส
87 of 138
ระบบทําความเย็นระบบหนึ่งมีคาตางๆ ดังแสดง จงคํานวณหาคา Cooling Capacity ของระบบทําความเย็นนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
1,648 kW
1,614 kW
1,629 kW
1,594 kW
252
ิท
ส
น
ว
ง
ระบบทําความเย็นระบบหนึ่งมีคาตางๆ ดังแสดง จงคํานวณหาคา Heat Rejection Capacity ของระบบทําความเย็นนี้
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
1,914 kW
1,890 kW
1,656 kW
1,690 kW
88 of 138
ขอที่ :
253
ระบบทําความเย็นระบบหนึ่งมีคาตางๆ ดังแสดง จงคํานวณหาคา Absorbed Power ของระบบทําความเย็นนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
285 kW
265 kW
42 kW
61 kW
ส
อ
ข
กร
254
ิท
ส
น
ว
ง
ระบบทําความเย็นระบบหนึ่งมีคาตางๆ ดังแสดง จงคํานวณหาคา C.O.P. ของระบบทําความเย็นนี้
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
5.7
6.2
6.1
89 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
5.6
255
ระบบทําความเย็นระบบหนึ่งมีคาตางๆ ดังแสดง จงคํานวณหาคา Pressure Ratio ของระบบทําความเย็นนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
5.3
4.4
4.6
3.8
ส
อ
ข
กร
256
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
90 of 138
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอ 2 สเตจแบบอุดมคติ (Ideal 2-Stage Vapor Compression Refrigeration Cycle) จงคํานวณอัตราการระบายความรอนเปน kW
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
QC = QL + WCL + WCH
QC = h8 – h1
QC = (h6 – h3)/(h7 – h2)
QC = h5 – h4
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
257
ภ
ส
91 of 138
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอ 2 สเตจแบบอุดมคติ (Ideal 2-Stage Vapor Compression Refrigeration Cycle) จงคํานวณอัตราระบายความรอนเปน kW
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
QC = (h8 – h1)(h6 – h3)/(h7 – h2)
QC = h8 – h1
QC = (h6 – h3)/(h7 – h2)
QC = h5 – h4
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
258
ภ
ส
92 of 138
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอ 2 สเตจแบบอุดมคติ (Ideal 2-Stage Vapor Compression Refrigeration Cycle) จงคํานวณอัตราระบายความรอน
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
QC = QL + WCH
QC = h8 – h1
QC = (h6 – h3)/(h7 – h2)
QC = m7(h8 – h1)
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
259
ใหคํานวณหาคาปาซิตี้ตออัตราไหลเชิงปริมาตรไอ ของระบบทําความเย็นที่ใชสารแอมโมเนียที่อุณหภูมิกลั่นตัว (Sat. Condensing Temp.) +40 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิไอ
ระเหย (Sat. Evaporating Temp.) –10 องศาเซลเซียส โดยกําหนดตารางน้ํายาตามตารางขางลางนี้
ภ
ส
93 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
12,770 กิโลจูลตอลูกบาศกเมตร
2,536 กิโลจูลตอลูกบาศกเมตร
88 กิโลจูลตอลูกบาศกเมตร
443 กิโลจูลตอลูกบาศกเมตร
260
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ใหคํานวณหาอัตราการไหลเชิงปริมาตรเขาคอมเพรสเซอร สําหรับระบบทําความเย็นขนาด 58.15 กิโลวัตต โดยใชสารแอมโมเนีย ที่อุณหภูมิกลั่นตัว (Sat. Condensing Temp.)
+40 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิไอระเหย (Sat. Evaporating Temp.) –10 องศาเซลเซียส โดยกําหนดตารางน้ํายาตามตารางขางลางนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
16.39 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
82.56 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
237.95 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
472.59 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
ส
อ
ข
กร
261
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ใหคํานวณหาคา C.O.P. (Coefficient of Performance) ของระบบทําความเย็นตามตาราง และ p-h Diagram ที่กําหนดมาให โดยที่คา Enthalpy จุดอัดสูงสุดแบบ Isentropic
กอนเขาคอนเดนเซอร มีคาเทากับ 1,925.93 kJ/kg
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
1.0
1.18
94 of 138
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
5.05
4.13
262
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ (Ideal Vapor Compression Refrigeration) ถาสภาวะที่ 1 หมายถึงสารทําความเย็นไหลออกจากเครื่องระเหย (Evaporator) เขาสู
คอมเพรสเซอรเปน สวนสภาวะที่ 2, 3 และ 4 ใหไลไปตามลําดับการไหล ตองการคํานวณการระบายความรอนที่คอนเดนเซอรเปน kJ/kg
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
m(h2 – h1)
V(h2 – h3)
h2 – h3
m(h2 – h3)
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
263
ิท
ส
น
ว
ง
สมมติอากาศภายนอกอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เครื่องทําความเย็นแบบระบายความรอนดวยอากาศ อุณหภูมิ Condensing Temperature (TC) ที่ดีที่สุดคือขอใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
55 องศาเซลเซียส
50 องศาเซลเซียส
40 องศาเซลเซียส
60 องศาเซลเซียส
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
264
ถาแชแข็งเนื้อจระเข 2,000 kg ซึ่งมีน้ํา 75% โดยมวล จากอุณหภูมิ 20 deg.C เปน -18 deg.C ภายใน 4 ชั่วโมง จุดเยือกแข็งของเนื้อจระเข -2 deg.C จงหาภาระการทําความเย็น
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
35 kW
45 kW
49 kW
52 kW
95 of 138
ขอที่ :
265
หองเย็นอุณหภูมิ -50 องศาเซลเซียส ควรออกแบบเครื่องทําความเย็นใหมี Evaporating Temperature (Te) ประมาณเทาไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
-47 องศาเซลเซียส
-50 องศาเซลเซียส
-55 องศาเซลเซียส
-60 องศาเซลเซียส
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
266
วัฏจักรทําความเย็นอัดไอแบบอุดมคติ (Ideal Vapor Compression Refrigeration) ถาสภาวะที่ 1 หมายถึงสารทําความเย็นไหลออกจากเครื่องระเหย (Evaporator) เขาสู
คอมเพรสเซอร สวนสภาวะที่ 2, 3 และ 4 ใหไลไปตามลําดับการไหล ตองการคํานวณงานที่ตองใชของคอมเพรสเซอรเปน kW
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
m(h2 – h1)
V(h1 – h4)
h1 – h3
h2 – h1
ส
อ
ข
กร
267
ขอใดเปนภาระการทําความเย็นสวนใหญของหองแชแข็ง (Freezer)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ภาระความรอนจากพื้นผนังและเพดาน
คําตอบ 2 :
ภาระจากผลิตภัณฑ
คําตอบ 3 :
ภาระจากผูทํางานภายใน
คําตอบ 4 :
ภาระระบบแสงสวาง
268
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอใดตอไปนี้ตองทราบเปนอันดับแรกกอนที่จะออกแบบหองเย็น
คําตอบ 1 :
ขนาดของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ขนาดของคอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
ขนาดของ Evaporator
คําตอบ 4 :
ภาระการทําความเย็น
96 of 138
ขอที่ :
269
ฉนวนขอใดตอไปนี้มีความตานทานความรอนมากที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
โพลียูรีเทน (K=0.025 W/mK) หนา 100 mm
คําตอบ 2 :
โพลีสไตรีน (K=0.029 W/mK) หนา 75 mm
คําตอบ 3 :
ฉนวนไยแกว (K=0.036 W/mK) หนา 100 mm
คําตอบ 4 :
ฉนวนยางอีลาสโตเมอร Closed Cell (k=0.035 W/mK) หนา 75 mm
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
270
100 W
152 W
222 W
252 W
ิธ์ ห
271
ิท
ส
น
ว
ง
ผนังหองเย็นดานใดตอไปนี้จะมีภาระความรอนที่ผานผนังเขามามากที่สุด
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 1 :
ผนังสีดําดานทิศตะวันตก
คําตอบ 2 :
ผนังสีขาวดานทิศใต
คําตอบ 3 :
ผนังสีเหลืองดานทิศตะวันตก
คําตอบ 4 :
ผนังสีเขียวดานทิศใต
ว
ศ
ิ
าว
272
จงคํานวณหาอัตราการไหลของความรอนที่ผานผนังกวาง 5 เมตร ยาว 10 เมตร ถาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของผนังเทากับ 0.37 วัตตตอตารางเมตรเคลวิน อุณหภูมิภายนอก
เทากับ 40 องศาเซลเซียส อุณหภูมิภายใน 10 องศาเซลเซียส
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
740 W
555 W
185 W
4,054 W
273
การถนอมอาหารโดยวิธีแชเยือกแข็ง จะตองนําอาหารเขาแชในหองแชเยือกแข็ง จนกระทั่งอาหารมีอุณหภูมิที่ใจกลางต่ําลงมาที่อยางนอยกี่องศาเซลเซียส
97 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
274
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
135 W
140 W
145 W
150 W
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
275
จงคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์การนําความรอน (Thermal conductance) (C) ของฉนวนโพลียูรีเทนซึ่งหนา 120 มม.โดยมีคา Thermal Conductivity (k) เทากับ 0.025 W/mK
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
98 of 138
ขอที่ :
276
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
0.75 kW
0.80 kW
0.85 kW
0.95 kW
ส
อ
ข
กร
277
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
0.32 kW
0.36 kW
0.38 kW
0.40 kW
99 of 138
ขอที่ :
278
การคํานวณภาระของการทําความเย็นและการออกแบบหองเย็นที่ดีควรเปนอยางไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 3 :
การคํานวณภาระทางความเย็นเพื่อนํามาออกแบบหองเย็นที่ดีประกอบดวย ภาระทางความเย็น 3 ประการ คือ ภาระที่ผานผนังเขามา ภาระทางอากาศใหม และภาระ
จากอุปกรณตางๆ
ฉนวนหองเย็นตองมีคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอน (U) ต่ํา
คําตอบ 4 :
ความรอนจากการแผรังสีของดวงอาทิตยผานกระจกไมมีผลตอการคํานวณภาระความเย็นเมื่อมีการติดมานบังแสงแดด
คําตอบ 2 :
ขอที่ :
การออกแบบหองเย็นที่จะนําภาระทางความเย็นเฉลี่ยมาใชในการออกแบบ
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
279
เนื้อไก 136 kg อุณหภูมิ 4.4 deg.C นําเขาหองเย็นเพื่อการแชแข็งใหมีอุณหภูมิ-20.6 deg.C ภายใน 12 ชั่วโมง จงคํานวณอัตราการดึงความรอนออกจากเนื้อไก กําหนดใหอุณหภูมิ
เยือกแข็งของไก -2.8 deg.C, คาความรอนจําเพาะกอนถึงจุดเยือกแข็ง 3.35 kJ/kgK, คาความรอนแฝงเพื่อการแชแข็ง 246.6 kJ/kg, คาความรอนจําเพาะต่ํากวาจุดเยือกแข็ง 1.76
kJ/kgK
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
852.3 watt
847.9 watt
936.9 watt
951 watt
280
ิท
ส
น
ว
ง
จงหาคา U สําหรับผนังทรายหนา 0.2 เมตร มีฉนวนโพลียูรีเทนหนา 0.075 เมตร และดานในสุดเปนผนังฉาบปูนหนา 13 มิลลิเมตร กําหนดให ผนังทรายมีคา c = 5.11 วัตตตอตาราง
เมตร-เคลวิน โพลียูรีเทนมีคา k = 0.025 วัตตตอเมตร-เคลวิน ผนังฉาบปูนมีคา k = 0.072 วัตตตอเมตร-เคลวิน สัมประสิทธิ์การพาความรอนภายใน f = 9.37 วัตตตอตารางเมตรเคลวิน สัมประสิทธิ์การพาความรอนภายนอก f = 22.70 วัตตตอตารางเมตร-เคลวิน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
281
ส
อ
ข
กร
0.297 วัตตตอตารางเมตร
0.297 วัตตตอเมตร-เคลวิน
0.297 วัตตตอเคลวิน
0.297 วัตตตอตารางเมตร-เคลวิน
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
100 of 138
หองเย็นขนาดภายนอก 4m x 5m x 3m ภายนอกอุณหภูมิ 25deg.C และ RH 60% อุณหภูมิภายในหองเย็น 7 deg.C ผนังหองเย็นทุกดานหนา 150 mm จงคํานวณหาภาระจาก
อากาศที่เขามาใหม
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
0.289 kW
0.321 kW
0.329 kW
0.421 kW
ิธ์ ห
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
282
ภาระของเครื่องควบแนน (condenser ) เปนผลทางความรอนจากอุปกรณใด
คําตอบ 1 :
เครื่องระเหย (evaporator)
คําตอบ 2 :
เครื่องอัดไอ (compressor)
คําตอบ 3 :
เครื่องระเหย (evaporator) และวาลวระเหยสารทําความเย็น (expansion valve)
คําตอบ 4 :
เครื่องอัดไอ (compressor) และเครื่องระเหย (evaporator)
ภ
ส
ขอที่ :
283
การเลือกเครื่องระเหย (evaporator)ไมขึ้นอยูกับปจจัยใด
คําตอบ 1 :
ภาระการทําความเย็น
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิหองเย็น
101 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 3 :
ขนาดเครื่องควบแนน (condenser)
คําตอบ 4 :
ชนิดสารทําความเย็น
284
สารทําความเย็นชนิดใดไมอยูในกลุมฟลูออโรคารบอน (fluorocarbons)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
285
ขอใดไมใชขอกําหนดที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบและติดตั้งทอสารทําความเย็น
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
R-22
R-134a
R-717
R-11
คําตอบ 1 :
ความดันลดในทอ
คําตอบ 2 :
น้ํามันหลอลื่นกลับเครื่องอัดไอ
คําตอบ 3 :
ความเร็วของสารทําความเย็นภายในทอ
คําตอบ 4 :
ชนิดเครื่องอัดไอ
ส
อ
ข
กร
286
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
อุปกรณระเหยสารทําความเย็น (expansion divice) ชนิดใดที่มีราคาถูกที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ลิ้นลดความดันอัตโนมัติ (automatic expansion valve)
คําตอบ 2 :
ลิ้นลดความดันชนิดควบคุมดวยความรอน (thermostatic expansion valve)
คําตอบ 3 :
ชนิดทอรูเข็ม (capillary tube)
คําตอบ 4 :
ชนิดลูกลอยความดันต่ํา (low side float valve)
287
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
เครื่องอัดไอ (compressor) ชนิดใดนิยมมาใชทําความเย็นสําหรับรถหองเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
แบบเปด (open type)
คําตอบ 2 :
แบบปด (hermetic type)
คําตอบ 3 :
แบบกึ่งเปด (semi-open type)
คําตอบ 4 :
แบบกึ่งปด (semi-hermetic)
102 of 138
288
ขอใดคือหนาที่หลักของหอทําความเย็น (cooling tower)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ระบายความรอนออกจากเครื่องควบแนน (condenser)
คําตอบ 2 :
ระบายความรอนออกจากเครื่องระเหย (evaporator)
คําตอบ 3 :
รักษาความดันทางดานดูด
คําตอบ 4 :
ระบายความรอนออกจากเครื่องอัดไอ (compressor)
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
289
อุปกรณแยกน้ํายาเหลว (accumulator) ติดตั้งระหวางอุปกรณใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เครื่องอัดไอ (compressor) - เครื่องควบแนน (condenser)
คําตอบ 2 :
เครื่องควบแนน (condenser) - ถังพักน้ํายาเหลว (receiver)
คําตอบ 3 :
ถังพักน้ํายาเหลว (receiver) - วาลวระเหยสารทําความเย็น (expansion valve)
คําตอบ 4 :
เครื่องระเหย (evaporator) - เครื่องอัดไอ (compressor)
290
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เครื่องระเหย (evaporator)
คําตอบ 2 :
เครื่องอัดไอ (compressor)
คําตอบ 3 :
ถังพักน้ํายาเหลว (receiver)
คําตอบ 4 :
เครื่องควบแนน (condenser)
291
ส
อ
ข
กร
ิธ์ ห
ิท
ส
น
ว
ง
น้ํามันที่ถูกแยกออกจากอุปกรณแยกน้ํามันหลอหลื่น (oil separator) จะถูกสงไปที่อุปกรณใด
ว
ศ
ิ
าว
สารทําความเย็นชนิดใดเมื่อรวมตัวกับน้ําหรือความชื้นจะกัดกรอนโลหะจําพวกทองเหลืองและทองแดง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ภ
ส
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
292
R-134a
R-404A
R-12
R-717
ในการออกแบบเครื่องทําความเย็นทําไมตองออกแบบใหสารทําความเย็นที่ไหลเขาคอมเพรสเซอรมีสถานะเปนไอรอนยวดยิ่ง(super heat vapor)
คําตอบ 1 :
เพื่อลดการเกิด OXIDE ชิ้นสวนภายในระบบทําความเย็น
คําตอบ 2 :
เพื่อลดกําลังในการขับคอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
เพื่อใหมั่นใจวาไมมีสารทําความเย็นเหลวไหลเขาเครื่องอัดไอ
103 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
เพื่อเพิ่มอุณหภูมิของเครื่องอัดไอใหมีอุณหภูมิที่เหมาะแกการทํางาน
293
หากวัฏจักรการทําความเย็นทางทฎษฎีมีอุณหภูมิระเหย (Evaporating Temperature) สูงขึ้นจะเกิดผลกระทบอยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เครื่องทําความเย็นมี COP ลดลง
คําตอบ 2 :
ความรอนที่ตองระบายทิ้ง (Heat reject) เพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอรใชพลังงานลดลง
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิของสารทําความเย็นดานทางสงของคอมเพรสเซอรสูงขึ้น
294
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
เมื่อ Cooling load เพิ่มมากขึ้นจะสงผลตอ Thermostatic expansion valve (TXV) อยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพิ่มอัตราการไหลของสารทําความเย็น
คําตอบ 2 :
ลดอัตราการไหลของสารทําความเย็น
คําตอบ 3 :
คงอัตราการไหลของสารทําความเย็นไวเทาเดิม
คําตอบ 4 :
ไมมีอะไรเกิดขึ้นเมื่อ Cooling load เปลี่ยนแปลง
295
ขอใดไมใชสารทําความเย็นชนิด HFC (Hydrofluorocarbon)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
296
R-507
R-134a
R-22
R-404A
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอใดคือจุดประสงคของการระบายน้ําทิ้ง (Bleed-off) ใน Evaporative condenser
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพื่อลดความเขมขนของน้ํา
คําตอบ 2 :
เพื่อลดอุณหภูมิของน้ําในอางน้ํา
คําตอบ 3 :
เพื่อลดขนาดของปมน้ํา
คําตอบ 4 :
เพื่อเพิ่ม Capacity ให Evaporative condenser
297
ขอใดไมใชวัสดุที่ใชทําคอลยเย็นในระบบทําความเย็นแอมโมเนีย
104 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทอทองแดง ครีบอลูมิเนียม
คําตอบ 2 :
ทอสเตนเลส ครีบอลูมิเนียม
คําตอบ 3 :
ทอเหล็กชุบสังกะสี ครีบเหล็กชุบสังกะสี
คําตอบ 4 :
ทอสเตนเลส ครีบสเตนเลส
298
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
สภาวะอากาศภายนอกแบบใดที่ทําให Evaporative Condenser มีสมรรถภาพสูงสุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะแหงสูง
คําตอบ 2 :
วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะแหงต่ํา
คําตอบ 3 :
วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะเปยกสูง
คําตอบ 4 :
วันที่อากาศมีอุณหภูมิกระเปาะเปยกต่ํา
สาเหตุใดที่ทําใหระบบทําความเย็นมีความดันดานสง (Discharge Pressure) สูงมากเกินไป
ขอที่ :
ิธ์ ห
299
คําตอบ 1 :
มีปริมาณสารทําความเย็นในระบบสูงมากเกินไป
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอรมีขนาดใหญเกินไป
คําตอบ 3 :
มีปริมาณน้ําหลอเย็นของคอนเดนเซอรมากเกินไป
คําตอบ 4 :
ความดันดานดูด (Suction Presure) ต่ําเกินไป
ส
อ
ข
กร
300
ิท
ส
น
ว
ง
ถายายตําแหนงกระเปาะ (bulb) ของ Thermostatic Expansion Valve จากดานปลายของ Evaporator ไปไวตรงกลางของ Evaporator จะเกิดอะไรขึ้น
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
มี suction superheat มากขึ้น
คําตอบ 2 :
มี Suction Superheat นอยลง
คําตอบ 3 :
ไมมีอะไรเกิดขึ้น
คําตอบ 4 :
Liquid Flooded ลงคอมเพรสเซอร
301
ภ
ส
หลักในการเลือกขนาดของคอมเพรสเซอรเพื่อมาใชงานในระบบทําความเย็นคือขอใด
คําตอบ 1 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับภาระความรอนจากระบบได
คําตอบ 2 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะใชสําหรับเพิ่มความดันของสารทําความเย็นใหเพียงพอที่จะนําไปใชงานได
คําตอบ 3 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะถายเทความรอนออกจากระบบได
คําตอบ 4 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทําความเย็นในระบบได
105 of 138
ขอที่ :
302
หลักในการเลือกขนาดของคอนเดนเซอรเพื่อมาใชงานในระบบทําความเย็นคือขอใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับภาระความรอนจากระบบได
คําตอบ 2 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะใชสําหรับเพิ่มความดันของสารทําความเย็นใหเพียงพอที่จะนําไปใชงานได
คําตอบ 3 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะถายเทความรอนออกจากระบบได
คําตอบ 4 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทําความเย็นในระบบได
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
303
หลักในการเลือกขนาดของอีแวปโพเรเตอรเพื่อมาใชงานในระบบทําความเย็นคือขอใด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับภาระความรอนจากระบบได
คําตอบ 2 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะใชสําหรับเพิ่มความดันของสารทําความเย็นใหเพียงพอที่จะนําไปใชงานได
คําตอบ 3 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะถายเทความรอนออกจากระบบได
คําตอบ 4 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทําความเย็นในระบบได
304
ิท
ส
น
ว
ง
หลักในการเลือกขนาดของรีซีฟเวอรเพื่อมาใชงานในระบบทําความเย็นคือขอใด
ขอที่ :
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับภาระความรอนจากระบบได
คําตอบ 2 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะใชสําหรับเพิ่มความดันของสารทําความเย็นใหเพียงพอที่จะนําไปใชงานได
คําตอบ 3 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะถายเทความรอนออกจากระบบได
คําตอบ 4 :
ตองมีขนาดเพียงพอที่จะรองรับปริมาณสารทําความเย็นในระบบได
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
305
การละลายน้ําแข็งในระบบทําความเย็นเกิดขึ้นในบริเวณใด
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
อีแวปโพเรเตอร
คําตอบ 2 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 3 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 4 :
รีซีฟเวอร
306
106 of 138
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
307
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
308
สารทําความเย็นชนิดใดเปนสารประเภท HCFC
107 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
R-11
R-12
R-13
R-22
309
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
หากเครื่องควบแนนแบบระเหย (Evaporative Condenser) เกิดตะกรันหรือมีสิ่งสกปรกอุดตันทําใหอัตราการถายเทความรอนลดลง เครื่องทําความเย็นจะเกิดกระทบผลอยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความดันที่สารทําความเย็นกลั่นตัวจะสูงขึ้น
คําตอบ 2 :
ความดันที่สารทําความเย็นระเหยจะลดลง
คําตอบ 3 :
ผลทําความเย็น (Refrigerating Effect) มากขึ้น
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรใชพลังงานลดลง
ิธ์ ห
310
หากนําใชวาลวลดความดัน (Expansion Valve) ที่มีขนาด (Capacity) ใหญกวาที่ขนาดที่เหมาะสมไปติดตั้งกับเครื่องทําความเย็นจะทําใหเกิดผลกระทบอยางไร
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
ความดันที่สารทําความเย็นกลั่นตัวจะสูงขึ้น
คําตอบ 2 :
ความดันที่สารทําความเย็นระเหยจะสูงขึ้น
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็นจะไหลเขาเครื่องระเหย (Evaporator) นอยหรือมากเกินไปสลับกันไป (Hunting)
คําตอบ 4 :
มีสารทําความเย็นเหลวไหลเขาคอมเพรสเซอรเปนจํานวนมากตลอดการทํางาน
ส
อ
ข
กร
311
คอมเพรสเซอรชนิดใดที่เหมาะสําหรับตูเย็นใชงานภายในบาน (ไมใชในเชิงพาณิชย)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ
ส
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
312
ว
ศ
ิ
าว
Semi-hermetic Compressor
Screw Compressor
Open Type Compressor
Hermetic Compressor
ขอใดเปนกลุมของอุปกรณลดความดัน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
Capillary Tube, Thermostatic Expansion Valve, Hand Expansion Valve
Automatic Expansion Valve, Hand Expansion Valve, Solenoid Valve
Capillary Tube, High Pressure Switch, Thermostatic Expansion Valve
Thermostat, Globe Regulating Valve, Automatic Expansion Valve
108 of 138
ขอที่ :
313
สิ่งที่ใชแยกวาสารทําความเย็นใดเปน Zeotropic หรือ Azeotropic คืออะไร
คําตอบ 1 :
จํานวนชนิดสารทําความเย็นที่นํามาผสม
คําตอบ 2 :
จํานวนโมเลกุลของฟลูออรีน
คําตอบ 3 :
Temperature Glide
คา GWP
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
314
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับการเปลี่ยนสารทําความเย็น
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Drop-in ไมจําเปนตองเปลี่ยนสารหลอลื่นที่ใชอยูในระบบเดิม
Retrofitting ไมจําเปนตองเปลี่ยนสารหลอลื่นที่ใชอยูในระบบเดิม
Retrofitting มีความหมายเดียวกับ Recovery
Drop-in จําเปนตองเปลี่ยนอุปกรณบางอยางในระบบ
315
สารทําความเย็นใดไมสามารถเติมเขาระบบในสถานะกาซ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
R717
R22
R134a
R404a
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
316
ภ
ส
109 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เลือกวาลว Nominal Size 10 มิลลิเมตร
คําตอบ 2 :
เลือกวาลว Nominal Size 13 มิลลิเมตร
คําตอบ 3 :
เลือกวาลว Nominal Size 20 มิลลิเมตร
คําตอบ 4 :
เลือกวาลว Nominal Size 25 มิลลิเมตร
317
ส
อ
ข
กร
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
110 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0.0368 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
0.0347 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
0.01 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
0.0224 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง
318
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 4 :
319
ว
ศ
ิ
าว
SDC-U50BS.BSG
SDC-U75BS.BSG
SDC-U85BS.BSG
SDC-U100BS.BSG
ภ
ส
คําตอบ 3 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ขอใดใชเปนสารทําความเย็นขั้นที่สองในอุตสาหกรรมอาหาร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
R717
R22
R502
111 of 138
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Propylene Glycol
320
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับระบบทําความเย็นที่ออกแบบใชสารทําความเย็นมาระบายความรอนใหกับคอมเพรสเซอรโดยใชระบบ Thermosiphon
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คาปาซิตี้ของคอลยเย็นตองใหญกวาเดิม
คําตอบ 2 :
คาปาซิตี้ของคอนเดนเซอรตองใหญกวาเดิม
คําตอบ 3 :
คาปาซิตี้ของคอลยเย็นตองเล็กกวาเดิม
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรตองมีคาปาซิตี้มากกวาเดิม
321
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ขอใดไมมีผลตอขนาดของคอลยเย็นในหองเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ปริมาณสินคา
คําตอบ 2 :
จํานวนหลอดไฟในหอง
คําตอบ 3 :
จํานวนรถ Forklift
คําตอบ 4 :
ขนาดของคอมเพรสเซอร
322
R-22 เปนสารทําความเย็นประเภทใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
CFC
HFC
HCFC
HFFC
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
323
R-502 เปนสารทําความเย็นประเภทใด
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
CFC
HFC
HCFC
HFFC
324
R-134a เปนสารทําความเย็นประเภทใด
112 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
325
R-507 เปนสารทําความเย็นประเภทใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
CFC
HFC
HCFC
HFFC
ิธ์ ห
326
R-12 เปนสารทําความเย็นประเภทใด
คําตอบ 1 :
ขอที่ :
CFC
HFC
HCFC
HFFC
CFC
HFC
HCFC
HFFC
ส
อ
ข
กร
327
ิท
ส
น
ว
ง
แอมโมเนียเปนสารทําความเย็นที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมดานไหน
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
ทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 3 :
ทําลายโอโซนและทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 4 :
ไมทําลายโอโซนและไมทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
328
ภ
ส
คารบอนไดออกไซดเปนสารทําความเย็นที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมดานไหน
คําตอบ 1 :
ทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
ทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 3 :
ทําลายโอโซนและทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 4 :
ไมทําลายโอโซนและไมทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
113 of 138
ขอที่ :
ขอที่ :
ขอที่ :
ขอที่ :
329
R-134a เปนสารทําความเย็นที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมดานไหน
คําตอบ 1 :
ทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
ทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 3 :
ทําลายโอโซนและทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 4 :
ไมทําลายโอโซนและไมทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
330
R-507เปนสารทําความเย็นที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมดานไหน
คําตอบ 1 :
ทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
ทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 3 :
ทําลายโอโซนและทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 4 :
ไมทําลายโอโซนและไมทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
331
R-22เปนสารทําความเย็นที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมดานไหน
คําตอบ 1 :
ทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
ทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 3 :
ทําลายโอโซนและทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 4 :
ไมทําลายโอโซนและไมทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
332
R-12 เปนสารทําความเย็นที่มีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมดานไหน
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทําลายโอโซน
คําตอบ 2 :
ทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 3 :
ทําลายโอโซนและทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
คําตอบ 4 :
ไมทําลายโอโซนและไมทําใหเกิดกรีนเฮาสเอฟเฟค
333
สารทําความเย็นแอมโมเนียมี Refrigerant Number อะไร
คําตอบ 1 :
R-717
114 of 138
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
R-718
R-744
R-290
334
สารทําความเย็นคารบอนไดออกไซดมี Refrigerant Number อะไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
335
สารทําความเย็นน้ํามี Refrigerant Number อะไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
R-717
R-718
R-744
R-290
R-717
R-718
R-744
R-290
ส
อ
ข
กร
336
ิท
ส
น
ว
ง
ระบบทําความเย็นแบบ Direct Expansion ที่ใช Thermostatic Expansion Valve ควบคุมปริมาณการไหลของสารทําความเย็นนั้น ตัวแปรที่สําคัญที่สุดที่ทําใหระบบทํางานไดดีคือ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
337
Suction Super Heat
Liquid Sub-cooling
Suction Temperature
Liquid Temperature
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ระบบทําความเย็นที่ไมมี Suction Super Heat อาจจะทําใหเกิดปญหาดังตอไปนี้
คําตอบ 1 :
มีน้ํายาเหลวไหลกลับจากคอลยเย็นเขาเครื่องอัดน้ํายา
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิทางดูดต่ําเกินไป
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิทางสงสูงเกินไป
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิน้ํามันสูงเกินไป
115 of 138
ขอที่ :
338
ระบบทําความเย็นที่ไมมี Liquid Sub-cooling อาจทําใหเกิดปญหาดังตอไปนี้
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ปริมาณสารทําความเย็นหมุนเวียนในระบบไมเพียงพอ
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิทางดูดต่ําเกินไป
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิทางสงต่ําเกินไป
คําตอบ 4 :
ความดันน้ํามันต่ําเกินไป
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
339
ระบบทําความเย็นที่มีอากาศในระบบ จะทําใหเกิดปญหาดังตอไปนี้
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ความดันทางสงสูงกวาปกติ
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็นมีคุณสมบัติทําความเย็นไดนอยลงเพราะมีอากาศผสมอยู
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็นไหลเขาคอลยเย็นไดยากเพราะอากาศขวางอยู
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรดูดสารทําความเย็นไดนอยลงเพราะอากาศขวางอยูในทอทางดูด
340
ิท
ส
น
ว
ง
ในระบบทําความเย็นที่ใชสารทําความเย็น HFC ฮีทเตอรอุนน้ํามันที่เครื่องอัดน้ํายามีประโยชนอะไร
ขอที่ :
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
ปองกันไมใหสารทําความเย็นละลายผสมกับน้ํามันหลอลื่นในเครื่องอัดน้ํายามากเกินไปในขณะหยุดเครื่อง
คําตอบ 2 :
ปองกันไมใหน้ํามันหลอลื่นมีอุณหภูมิเย็นเกินไปในขณะที่เครื่องทํางาน
คําตอบ 3 :
รักษาใหขอเหวี่ยงมีอุณหภูมิที่เหมาะสมในขณะทํางานเพื่อใหการหลอลื่นมีประสิทธิภาพ
คําตอบ 4 :
รักษาลิ้นทางดูดทางสงใหมีอุณหภูมิที่เหมาะสมในขณะทํางานเพื่อใหการดูดสารทําความเย็นมีประสิทธิภาพ
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
341
ระบบทําความเย็นโดยทั่วไปในประเทศไทย ที่ใชการระบายความรอนดวยอากาศ มีอุณหภูมิกลั่นตัวออกแบบเทาไร
คําตอบ 1 :
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
116 of 138
ขอที่ :
342
ระบบทําความเย็นโดยทั่วไปในประเทศไทย ที่ใชการระบายความรอนดวยน้ํา มีอุณหภูมิกลั่นตัวออกแบบเทาไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
343
ระบบทําความเย็นที่ใชสารทําความเย็น HFC ที่มีขนาดทอ Suction ใหญเกินไป ถึงแมวาจะมีขอดีคือ ความดันสูญเสียภายในทอต่ํา แตมีขอเสียคือ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
น้ํามันหลอลื่นจากคอลยเย็นไมสามารถไหลกลับไปเครื่องอัดน้ํายา
คําตอบ 2 :
สิ้นเปลืองสารทําความเย็นในระบบมากขึ้น
คําตอบ 3 :
สูญเสียความรอนผานผนังทอทางดูดที่มีพื้นที่ผิวมากขึ้น
คําตอบ 4 :
สิ้นเปลืองคาฉนวนหุมทอทางดูดมากขึ้น
ส
อ
ข
กร
344
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
42.8
1,920
0.0234
27.75
117 of 138
ขอที่ :
345
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
346
คอมเพรสเซอรที่ใชในเครื่องปรับอากาศและตูเย็นตามบานเรือนมักเปนแบบ
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
7.2
7.5
10
5
คําตอบ 1 :
ประกอบปด(Semi-hermetic)
คําตอบ 2 :
หุมปด(Hermetic)
คําตอบ 3 :
เปด(Open-type)
คําตอบ 4 :
ประกอบปด(Semi-hermetic)หรือแบบเปด(Open-type)
ส
อ
ข
กร
347
ิท
ส
น
ว
ง
คอมเพรสเซอรแบบชนิด 8 สูบมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 114 mm ชวงชัก 114 mm หมุนดวยความเร็ว 20 รอบ/วินาที จงคํานวณอัตราปริมาตรชวงชัก(Piston displacement
rate/Swept Volume rate)
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
118 of 138
ขอที่ :
348
คอยลทําความเย็น(Cooling Coil) ที่มีครีบ(Fins)อลูมิเนียม 4 ครีบ/นิ้ว(4 Fins/ inch) จะมีระยะหางระหวางครีบ(Fin spacing) เทากับประมาณ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 3 :
1.6 mm
0.20 mm
6 mm
คําตอบ 4 :
ไมสามารถหาคําตอบไดเพราะไมทราบคาความหนาของครีบอลูมิเนียม
คําตอบ 2 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
349
ในการเลือกขนาดอัตราระบายความรอนของคอนเดนเซอร ตําราบางเลมจะใชหลักจากประสบการณ(Thumb’s Rule) เรียกวา อัตราการระบายความรอนที่คอนเดนเซอรตออัตราทํา
ความเย็น(HRR=Ratio of Heat Rejected at the condenser to the refrigerating capacity) ถา HRR = 1.25 อาจจะกลาวไดวา ระบบทําความเย็นมีประสิทธิภาพวัฏจักรหรือ
สัมประสิทธสมรรถนะ(COP)ประมาณ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 3 :
1.25
0.8
4
คําตอบ 4 :
ไมสามารถหาคําตอบไดเพราะไมทราบคากําลังของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
ขอที่ :
350
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
5 kW
10 kW
15 kW
20 kW
351
เครื่องทําความเย็นทั่วไปที่ระบายความรอนดวยน้ํา(water cooled) มักจะอาศัยหอทําความเย็น(Cooling Tower)ทําน้ําใหเย็นเพื่อกลับมาใชใหม โดยอาศัยการระเหย
อัตราระเหย
119 of 138
ของน้ําจะประมาณรอยละเทาใดของอัตราน้ําระบายความรอน(น้ําหลอเย็น)หมุนเวียนตอหนวยเวาลา
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0.1
1
3
5
352
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ในระบบทําความเย็นแบบธรรมดา(Single stage) การออกแบบทอทางเดินของสารทําความเย็น(น้ํายา) ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ทอทองแดงเหมาะสมที่สุดไมวาจะใชกับสารทําความเย็นชนิดใดเชน แอมโมเนีย R-22 R-134a เปนตน เพราะทอทองแดงผิวจะเรียบความเสียดทานจึงนอย
คําตอบ 2 :
ทอสารทําความเย็นเหลวหรือทอที่ตอระหวางคอนเดนเซอรและอุปกรณลดความดัน ตองระวังเรื่องความเสียดทานและการวนกลับของน้ํามันหลอลื่น(Oil Return)
คําตอบ 3 :
ทอทุกทอตองคํานึงถึงความเสียดทานและการวนกลับของน้ํามันหลอลื่น(Oil Return)เสมอ
คําตอบ 4 :
ทอที่เขาและออกจากคอมเพรสเซอรตองคํานึงถึงความเสียดทานและการวนกลับของน้ํามันหลอลื่น(Oil Return)
ขอใดคือหลักการของ Evaporator
ขอที่ :
ิธ์ ห
353
คําตอบ 1 :
เปนกระบวนการคายความรอนที่ความดันต่ํา อุณหภูมิต่ํา
คําตอบ 2 :
สารทําความเย็นจะเกิดการควบแนนที่ Evaporator
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็นจะถูกเพิ่มความดันกอนเขา Evaporator
คําตอบ 4 :
สารทําความเย็นไดรับความรอนและระเหยกลายเปนไอ
ส
อ
ข
กร
354
ิท
ส
น
ว
ง
ขอใดเปนผลจากการรวมตัวกับน้ํามันของสารทําความเย็น
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ความสามารถในการถายเทความรอนที่เครื่องควบแนนเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
ความหนืดของน้ํามันที่ผสมกับสารความเย็นเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
การรวมตัวของน้ํามันหลอลื่นกับสารความเย็น ทําใหความสามารถในการหลอลื่นลดลง
คําตอบ 4 :
การผสมกันระหวางน้ํามันหลอลื่นกับสารทําความเย็นทําใหการหลอลื่นดีขึ้น
355
ภ
ส
120 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
356
ิธ์ ห
ขอใดไมใชอุปกรณพื้นฐานของระบบทําความเย็น
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
0.18 kg/s
0.21kg/s
0.25kg/s
0.29kg/s
compressor
flash tank
evaporator
condenser
ส
อ
ข
กร
357
ิท
ส
น
ว
ง
สารชนิดใดที่ไมใชตัวกลางถายเทความรอนออกจากเครื่องควบแนนโดยทั่วไป
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
อากาศ
คําตอบ 2 :
น้ํา
คําตอบ 3 :
น้ําเกลือ
คําตอบ 4 :
น้ําและอากาศ
358
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ขอใดเปนหลักการของทอแคพิลลารี (Capillary tube)
คําตอบ 1 :
เพิ่มความดันของสารความเย็นจากเครื่องควบแนน (Condenser) มายังเครื่องระเหย (Evaporator)
คําตอบ 2 :
เปนกระบวนการ Throttling
คําตอบ 3 :
เปนกระบวนการเพิ่มอุณหภูมิใหกับสารทําความเย็น
คําตอบ 4 :
เปนการเพิ่มความดันของสารทําความเย็น โดยใหงานกับระบบ
121 of 138
ขอที่ :
359
สารทําความเย็นใดไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากที่สุด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
HFC
CFC
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
360
Condenser ระบบใดที่ใหประสิทธิภาพในการควบแนนมากที่สุด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
Air – Cooled Condenser
Water – Cooled Condenser
Evaporative Condenser
Submerged – water - Cooled Condenser
361
ขอใดเปนผลที่เกิดเมื่อสารทําความเย็นเหลวไหลเขาเครื่องอัดไอ
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
NH3
คําตอบ 1 :
ทําใหเครื่องอัดไอพัง
คําตอบ 2 :
ทําใหความดันดานดูดลดลง
คําตอบ 3 :
ประสิทธิภาพการอัดเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
ทําใหน้ํามันซึ่งรั่วออกมาปนกับสารทําความเย็นมากขึ้น
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
362
ขอใดคืออุปกรณควบคุมการไหลของสารความเย็น
คําตอบ 1 :
Expansion valve
Shut – off – valve
Evaporator
Condenser
ภ
ส
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
363
ประสิทธิภาพของคอมเพรสเซอร (volumetric efficiency) จะดีขึ้นเมื่อใด
คําตอบ 1 :
อัตราสวนกําลังอัด (Compression ratio) ลดลง
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิอิ่มตัวที่คอนเดนเซอรสูงขึ้น
122 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 3 :
อุณหภูมิอิ่มตัวที่เครื่องระเหยลดลง
คําตอบ 4 :
สารทําความเย็นที่ออกจากเครื่องระเหยมี degree of superheat สูงขึ้น
364
เพราะเหตุใด Evaporative condenser จึงตองมีการระบายน้ําทิ้ง (Bleed –off)
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพื่อลดความเขมขนของน้ํา
คําตอบ 2 :
เพื่อลดอุณหภูมิของน้ํา
คําตอบ 3 :
เพื่อลดขนาดของปมน้ํา
คําตอบ 4 :
เพื่อเพิ่มอัตราการถายเทความรอน
365
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คอมเพรสเซอรเครื่องหนึ่งมี 2 ลูกสูบ เสนผานศูนยกลางลูกสูบเทากับ 60 mm ระยะชักของลูกสูบ เทากับ 80 mm ทํางานดวยความเร็วรอบ 1450 rpm จะมีอัตราการดูดเทากับเทาใด
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 3 :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
366
ิท
ส
น
ว
ง
ภ
ส
คอนเดนเซอรในขอใดตอไปนี้ มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบตอพื้นที่ผิวระบายความรอนที่ใช
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
แบบทอซอนทอ (double pipe)
คําตอบ 2 :
แบบเปลือกและทอ (shell and tube)
คําตอบ 3 :
แบบทอครีบระบายความรอนดวนอากาศ (finned tube, air-cooled type)
คําตอบ 4 :
แบบระบายความรอนโดยธรรมชาติ
367
ระบบทําความเย็นมีภาระการทําความเย็น 20 kW มี COP เทากับ 4.0 จะตองใชกําลังขับที่คอมเพรสเซอรเทากับเทาใด
123 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
0.2 kW
4 kW
5 kW
6 .67kW
368
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ระบบทําความเย็นมีภาระการทําความเย็น 21 kW มี COP เทากับ 3.0 จะมีการถายเทความรอนที่ คอนเดนเซอรเทากับเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
25 kW
28 kW
30 kW
33 kW
ิธ์ ห
369
ระบบทําความเย็นมีภาระการทําความเย็น 15 kW มีการถายเทความรอนที่คอนเดนเซอรเทากับ 20 kW จะมี COP เทากับเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
3.0
3.5
4.0
4.5
ส
อ
ข
กร
370
ิท
ส
น
ว
ง
น้ําแข็งที่เกาะที่ผิวทอของเครื่องระเหยในหองเย็นทําให
ขอที่ :
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ทําใหหองเย็นจัดมากขึ้น
คําตอบ 2 :
อัตราการถายเทความรอนลดลง
คําตอบ 3 :
ทําใหลมหมุนเวียนดีเพราะผิวน้ําแข็งลื่น
คําตอบ 4 :
ทําความสะอาดคอลยเย็นงาย
371
ภ
ส
โดยปกติแลวคอนเดนเซอรแบบเปลือกและทอ (Shell and tube condenser) ใชสารอะไรเปนตัวกลาง ในการระบายความรอน
คําตอบ 1 :
น้ํา
คําตอบ 2 :
อากาศ
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็น
คําตอบ 4 :
น้ํามันหลอลื่น
124 of 138
ขอที่ :
372
ทอรูเข็ม (Capillary tube) ทําหนาที่เหมือนกับอุปกรณใดในขอตอไปนี้
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
เครื่องระเหย (Evaporator)
คําตอบ 4 :
วาลวลดความดัน (Expansion valve)
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
373
ขอใดคือคุณสมบัติของสารทําความเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
กัดกรอนโลหะ
คําตอบ 2 :
ติดไฟ
คําตอบ 3 :
ไมเปนวัตถุระเบิด
คําตอบ 4 :
มีคาความรอนแฝงตอหนวยน้ําหนักต่ํา
374
ขอใดคือสารทําความเย็นทุติยภูมิ (Secondary refrigerant)
คําตอบ 1 :
น้ําเกลือ
คําตอบ 2 :
แอมโมเนีย
คําตอบ 3 :
R-22
R-134a
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
375
สารทําความเย็นในขอใดทําลายโอโซน และถูกหามใชในประเทศที่พัฒนาแลว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
R-12
R-134a
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
125 of 138
ขอที่ :
376
ในทางทฤษฎีแลวกระบวนการที่เกิดขึ้นในอุปกรณใดตอไปนี้เปนกระบวนการที่มีคา enthalpy คงที่
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอร
คําตอบ 2 :
คอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
เครื่องระเหย (Evaporator)
คําตอบ 4 :
วาลวลดความดัน (Expansion valve)
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
377
ขณะที่ระบบทําความเย็นทํางาน สารทําความเย็นภายในเครื่องระเหย (Evaporator) เปนอยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
รับความรอนและเปลี่ยนสถานะจากไอเปนของเหลว
คําตอบ 2 :
คายความรอนและเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ
คําตอบ 3 :
เดือดและเปลี่ยนสถานะจากไอเปนของเหลว
คําตอบ 4 :
เดือดและเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ
378
ขอใดตอไปนี้เปนสาเหตุทําใหความดันทางดานสงมีคาสูงขึ้น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอนเดนเซอรมีขนาดใหญเกินไป
คําตอบ 2 :
เติมสารทําความเย็นเขาไปในระบบมากเกินไป
คําตอบ 3 :
หอทําความเย็น (Cooling tower) มีขนาดใหญเกินไป
คําตอบ 4 :
ปมน้ําคอนเดนเซอรมีขนาดใหญเกินไป
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
379
ถามีความดันตก (Pressure drop) ในทอดูด (Suction line) มากขึ้นจะทําให
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอรทํางานนอยลง
คําตอบ 2 :
คอมเพรสเซอรทํางานมากขึ้น
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอรมีสมรรถนะดีขึ้น
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรมีอัตราสวนกําลังอัดลดลง
ภ
ส
ขอที่ :
380
ถามีความดันตก (Pressure drop) ในทอสง (discharge line) มากขึ้นจะทําให
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอรทํางานนอยลง
คําตอบ 2 :
คอมเพรสเซอรทํางานมากขึ้น
126 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 3 :
คอมเพรสเซอรมีสมรรถนะดีขึ้น
คําตอบ 4 :
คอมเพรสเซอรมีอัตราสวนกําลังอัดลดลง
381
เมื่อภาระการทําความเย็นเพิ่มมากขึ้นจะสงผลตอ Thermostatic Expansion Valve (TXV) อยางไร
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ลดอัตราการไหลของสารทําความเย็น
คําตอบ 2 :
คงอัตราการไหลของสารทําความเย็น
คําตอบ 3 :
เพิ่มอัตราการไหลของสารทําความเย็น
คําตอบ 4 :
ไมมีอะไรเกิดขึ้นเมื่อภาระการทําความเย็นเปลี่ยนแปลง
382
การละลายน้ําแข็งที่อีแวปโพเรเตอรวิธีใดใชเวลานานที่สุด
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 1 :
การละลายน้ําแข็งดวยน้ํา
คําตอบ 2 :
การละลายน้ําแข็งดวยไฟฟา
คําตอบ 3 :
การละลายน้ําแข็งดวยไอสารทําความเย็นอุณภูมิสูง (Hot gas)
คําตอบ 4 :
การละลายน้ําแข็งดวยวิธีธรรมชาติโดยการหยุดเครื่องทําความเย็น
ส
อ
ข
กร
383
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
นํามาใชไมไดเพราะใชสารทําความเย็นตางชนิดกัน
คําตอบ 2 :
ใชไดแตตองเพิ่มขนาด(กําลัง)มอเตอรขับ
คําตอบ 3 :
ใชไดแตตองเปลี่ยนอุปกรณลดความดันเปนแบบอิเล็กทรอนิกส
คําตอบ 4 :
ใชไดโดยไมมีขอแม
ภ
ส
ขอที่ :
384
คอมเพรสเซอรแบบชนิด 6 สูบมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 250 mm ชวงชัก 250 mm หมุนดวยความเร็ว 20 รอบ/วินาที จงคํานวณอัตราปริมาตรชวงชัก(Piston displacement
rate/Swept Volume rate)
127 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ไมสามารถหาคําตอบไดเพราะไมทราบคาประสิทธิภาพเชิงปริมาตร
385
คอยลทําความเย็น(Cooling Coil)หรือคอยลของเครื่องระเหย(Evaporator Coil) ของเครื่อง ปรับอากาศ และเครื่องทําความเย็นสําหรับหองอุณหภูมิต่ํามากๆจะมีขอแตกตางที่
สําคัญคือ
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอยลของเครื่องปรับอากาศจะเล็กยาวกวา
คําตอบ 2 :
คอยลของเครื่องทําความเย็นมักทําดวยเหล็ก
คําตอบ 3 :
คอยลของเครื่องทําความเย็นจะมีระยะระหวางครีบโลหะหางกันมากกวา
คําตอบ 4 :
คอยลของเครื่องปรับอากาศจะมีระยะระหวางครีบโลหะหางกันมากกวา
386
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
ในการเลือกขนาดอัตราระบายความรอนของคอนเดนเซอร ถาเผื่ออัตราระบายความรอนใหเพิ่มขึ้น หรือใหขนาดคอนเดนเซอรใหญขึ้น 25% จะมีผลอันใดตอระบบทําความเย็น
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คอมเพรสเซอรจะตองทํางานหนักขึ้นเพราะตองอัดสารทําความเย็นเขามากขึ้น
คําตอบ 2 :
น้ํามันจะคางอยูในคอนเด็นเซอรเพราะความเร็วของสารทําความเย็นลดลง
คําตอบ 3 :
ไมควรทําอยางยิ่งเพราะไอบางสวนอาจเล็ดลอดออกไปยังอุปกรณลดความดัน
คําตอบ 4 :
สัมประสิทธิ์สมรรถนะ(COP)ของระบบทําความเย็นจะเพิ่มขึ้น
387
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
128 of 138
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
388
ในการเลือกขนาดหอทําความเย็น(Cooling Tower) ในทางปฎิบัติ คาที่ตองทราบอยางนอยที่สุดคือ
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
14 kW
28.6 kW
30 kW
3 kW
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศภายนอก อัตราการไหลของน้ํา ขนาดทําความเย็นของเครื่องทําความเย็น อุณหภูมิน้ําเขา และอุณหภูมิน้ําออก
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศภายนอก อัตราการไหลของน้ํา อุณหภูมิน้ําเขา และอุณหภูมิน้ําออก
คําตอบ 3 :
อัตราการไหลของน้ํา ขนาดทําความเย็นของเครื่องทําความเย็น อุณหภูมิน้ําเขา และอุณหภูมิน้ําออก
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิอากาศภายนอก อัตราการไหลของน้ํา ขนาดทําความเย็นของเครื่องทําความเย็น อุณหภูมิน้ําเขา และอุณหภูมิน้ําออก
ส
อ
ข
กร
389
ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน(Split type,Air conditioner) การออกแบบทอทางเดินของสารทําความเย็น(น้ํายา) ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
ว
ศ
ิ
าว
คําตอบ 1 :
ทอสารทําความเย็นดานดูดหรือทอที่ตอระหวางคอมเพรสเซอรและเครื่องระเหย(Evaporator) ถาออกแบบมีขนาดเล็กเกินไป จะมีผลทําใหความดันดานสูง(High
Pressure Side) สูงขึ้น
คําตอบ 2 :
ทอสารทําความเย็นดานดูดหรือทอที่ตอระหวางคอมเพรสเซอรและเครื่องระเหย(Evaporator) ถาออกแบบมีขนาดเล็กเกินไป จะมีผลทําใหขนาดทําความเย็นลดลงได
คําตอบ 3 :
ทอทุกทอตองคํานึงถึงความเสียดทานและการวนกลับของน้ํามันหลอลื่น(Oil Return)เสมอ
ภ
ส
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ทอสารทําความเย็นเหลวหรือทอที่ตอระหวางคอนเดนเซอรและอุปกรณลดความดัน ตองออกแบบให Superheat เล็กนอย จึงจะไมเกิดการกลายเปนไอบางสวน
(Flash gas)
390
129 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
สําหรับชุดควบแนน ใหอุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอนคงที่ ถาอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 :
สําหรับชุดควบแนน ใหอุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอนลดลง และใหอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะลดลง
คําตอบ 3 :
สําหรับหนวยแฟนคอยล ใหอุณหภูมิอากาศเขาหนวยแฟนคอยลคงที่ และใหอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
สําหรับหนวยแฟนคอยล ใหอุณหภูมิอากาศเขาหนวยแฟนคอยลคงที่ และใหอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะลดลง
391
หนาที่ของ Thermostatic Expansion Valve
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
ลดความดันโดยควบคุมให Degree Superheat คงที่
คําตอบ 2 :
ลดความดันโดยความคุมให Evaporating Presssure คงที่
คําตอบ 3 :
ลดความดันพรอมควบคุมอัตราการไหลใหคง
คําตอบ 4 :
ลดความดันโดยอาศัยเทอรมอสแตตชวยปรับอัตราการไหลใหเปลี่ยนตามภาระการทําความเย็น
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
392
ภ
ส
130 of 138
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ส
อ
ข
กร
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
393
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ความรูเกี่ยวกับคอยลของเครื่องระเหย(Evaporator Coil) แบบมีครีบอลูมิเนียม ขอความใดตอไปนี้ถูกตองหรือใกลเคียงความจริงที่สุด
คําตอบ 1 :
ระยะหางระหวางครีบของคอยลที่ใชในเครื่องปรับอากาศจะมากที่สุด
คําตอบ 2 :
อัตราอากาศไหลและอื่นๆคงเดิม ถาเพิ่มจํานวนแถวตามแนวลึก(Rows Deep) ขนาดทําความเย็นจะเพิ่มขึ้น และสภาวะของอากาศที่ผานคอยลออกมาจะมีอุณหภูมิต่ํา
ลง แตอัตราสวนความชื้น(Humidity Ratio)จะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
ทุกอยางคงเดิม ถาเพิ่มอัตราไหลหรือความเร็วลมผานคอยล ขนาดทําความเย็นจะเพิ่มแตสภาวะของอากาศที่ผานคอยลออกมาจะมีอุณหภูมิและอัตราสวนความชื้น
(Humidity Ratio)เพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 :
ทุกอยางคงเดิม ถาเพิ่มอัตราไหลหรือความเร็วลมผานคอยล ขนาดทําความเย็นจะเพิ่ม และสภาวะของอากาศที่ผานคอยลออกมาจะมีอุณหภูมิต่ําลง แตอัตราสวนความ
131 of 138
ชื้น(Humidity Ratio)เพิ่มขึ้น
ขอที่ :
394
ปมน้ําเย็น(Chilled Water)ในระบบปรับอากาศหรือปมแอมโมเนียเหลวในระบบทําความเย็นที่ใช Force(Pump) Circulation ถาลดอัตราการไหลหมุนเวียนลงเหลือ 50% กําลังที่ปม
ตองใชจะเหลือประมาณเทาใด?
คําตอบ 1 :
เทาเดิม
คําตอบ 2 :
50%
25%
12.5%
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
395
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
132 of 138
396
คําตอบ 1 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
397
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
คําตอบ 1 :
133 of 138
คําตอบ 2 :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
398
ิท
ส
น
ว
ง
ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน(Split type,Air conditioner) การออกแบบทอทางเดินของสารทําความเย็น(น้ํายา) ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงความจริงที่สุด
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ถาชุดควบแนน(Condensing Unit)ตั้งอยูบนพื้นดิน สวนหนวยแฟนคอยล(Fan Coil Unit) แขวนบนชั้นที่ 5 ทอสารทําความเย็นดานดูดหรือทอที่ตอระหวาง
คอมเพรสเซอรและเครื่องระเหย(Evaporator) ตองระวังเรื่องการกลับของน้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 2 :
ทอสารทําความเย็นเหลว(Liquid Line)คือ ทอที่ตอระหวางคอมเพรสเซอรและคอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
เครื่องขนาดทําความเย็น 100 kW ความเสียดทานในทอสารทําความเย็นดานสงที่ออกจากคอมเพรสเซอร(Discharge Line)เทากับ 10 kPa ทอขนาดและความยาว
เดิมนี้ ถานํามาใชกับเครื่องทําความเย็นขนาด 200 kW โดยสภาวะทุกอยางเหมือนเดิม ความเสียดทานจะเปลี่ยนเปนประมาณ 20 kPa
คําตอบ 4 :
ถาชุดควบแนน(Condensing Unit)ตั้งอยูบนพื้นดิน สวนหนวยแฟนคอยล(Fan Coil Unit) แขวนบนชั้นที่ 3 ทอสารทําความเย็นดานดูดหรือทอที่ตอระหวาง
คอมเพรสเซอรและเครื่องระเหย(Evaporator) สวนที่ออกมาจากเครื่องระเหยควรออกแบบใหเปนรูปตัวยูคว่ําลง โดยสวนบนตองสูงกวาคอยลเย็นของหนวยแฟนคอยล
เพื่อไมใหของเหลวไหลโดยน้ําหนักหรือแรงโนมถวงกลับเขาดานดูดของคอมเพรสเซอรขณะที่คอมเพรสเซอรหยุดทํางาน
399
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ตูเย็นที่ใชตามบานเรือนทั่วไปแบบไรนําแข็งเกาะ(No Frost) คลายเครื่องทําความเย็นที่ใชสําหรับหองเย็นขนาดเล็กทั่วไป โดยภายในชองแชแข็งจะมีคอยลเครื่องระเหย(Evaporator
Coil)และพัดลมหมุนเวียน เพียงแตการระบายความรอนที่คอนเดนเซอรดวยอากาศของตูเย็นนั้น ไมตองใชพัดลม การควบคุมอุณหภูมิภายในตูเย็นทําอยางไร?
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ใชเทอรมอสแตตควบคุมอุณหภูมิโดยการตัดตอหรือหยุด-เดินพัดลม
คําตอบ 2 :
ใชโซลีนอยดวาลวควบคุมอัตราไหลของสารทําความเย็น เชนในเวลากลางคืนก็ใหอัตราไหลต่ําลง
คําตอบ 3 :
ใชเทอรมอสแตทควบคุมการตัดตอหรือหยุด-เดินคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
ใช Thermostatic Expansion Valve ควบคุมการไหลของสารทําความเย็นตามภาระความเย็นที่ตูเย็นตองการ
400
134 of 138
Thermostatic Expansion Valve ขนาดใหญมักจะมี External Equalizer External Equalizer นั้นมีไวเพื่ออะไร?
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
เพื่อความคุมให Degree Superheat คงที่
คําตอบ 2 :
เพื่อความคุมให Evaporating Presssure คงที่
คําตอบ 3 :
เพื่อไมใหความดันลดในคอยลเครื่องระเหย(Pressure drop in evaporator coil)มามีผลตอ การควบคุม Degree Superheat
คําตอบ 4 :
เพื่อลดความดันของตัววาลว โดยใหสารทําความเย็นบางสวนไหลผานทางดาน External Equalizer
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
401
คอมเพรสเซอรแบบมอเตอรแแยกใชมูเลและสายพาน ซึ่งปรับรอบการหมุนดวยการเปลี่ยนขนาดมูเล ถาทําความเย็นได 1000 kW ใชมอเตอรขับ 500 kW คอมเพรสเซอรหมุน 800
รอบ/นาที ถาตองการลดขนาดทําความเย็นลงเปน 500 kW ขนาดมอเตอรจะลดลงเปนเทาไร และคอมเพรสเซอรจะตองหมุนในอัตราเทาไร? ถาสภาวะการทํางานเหมือนเดิมทั้งหมด
เชน Saturated Suction(Evaporating) Temperaturecและ Condensing Temperature เปนตน
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
มอเตอรขับ 250 kW และคอมเพรสเซอรหมุน 400 รอบ/นาที
คําตอบ 2 :
มอเตอรขับ 125 kW และคอมเพรสเซอรหมุน 400 รอบ/นาที
คําตอบ 3 :
มอเตอรขับ 62.5 kW และคอมเพรสเซอรหมุน 400 รอบ/นาที
คําตอบ 4 :
มอเตอรขับ 12.5 kW และคอมเพรสเซอรหมุน 400 รอบ/นาที
402
เครื่องควบแนนแบบระเหย(Evaporative Condenser) ลักษณะดังนี้
ขอที่ :
ิท
ส
น
ว
ง
คําตอบ 1 :
น้ําไหลในทอสารทําความเย็นปลอยไหลนอกทอ
คําตอบ 2 :
ทั้งน้ําและสารทําความเย็นตางไหลอยูในทอและมีพัดลมดูดอากาศผาน
คําตอบ 3 :
สารทําความเย็นไหลในทอน้ําพนไหลนอกทอและมีพัดลมดูดอากาศผาน
คําตอบ 4 :
น้ําไหลในทอและมีพัดลมดูดอากาศผาน
ส
อ
ข
กร
ิธ์ ห
ว
ศ
ิ
าว
403
คอมเพรสเซอรของเครื่องทําความเย็นนํามาจากประเทศหนึ่งใชระบบไฟฟา 415/3/60 ถานํามาใชในโรงงานแหงหนึ่งซึ่งใชระบบไฟฟา 380/3/50 ขอความใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 :
ความสามารถในการทําความเย็นเหลือประมาณ 83%
คําตอบ 2 :
กําลังขับกลายเปน 415/380 เทาของเดิม
คําตอบ 3 :
ไมสามารถใชงาน
คําตอบ 4 :
ความสามารถในการทําความเย็นเหลือประมาณ 91%
ภ
ส
ขอที่ :
404
135 of 138
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
ปมมี Compression ratio 4 ตอ 1
คําตอบ 2 :
ถาคอมเพรสเซอรดูดอัด 1 ลิตรปมหมุนเวียน 4 ลิตร
คําตอบ 3 :
ปมตองมีเฮดเปน 4 เทาของคอมเพรสเซอร
คําตอบ 4 :
ถามวลที่กลายเปนไอในเครื่องระเหย 1 kg ปมตองหมุนเวียนได 4 kg
405
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :
คําตอบ 3 :
81 ลิตร/วินาที
72 ลิตร/วินาที
48 ลิตร/วินาที
คําตอบ 4 :
หาไมไดขอมูลยังไมพอ หรือไมมีขอใดใกลเคียงเลย
คําตอบ 2 :
ขอที่ :
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
406
ในระบบทําความเย็น คอนเดนเซอรที่ระความรอนดวยน้ํามักจะกําหนด Fouling Factor Fouling Factor คืออะไร?
ภ
ส
ขอที่ :
คําตอบ 1 :
คือคาการนําความรอนของคอนเดนเซอรอันเกิดจากสิ่งสกปรก
คําตอบ 2 :
คือคาความหนาของทอทองแดงที่จะทําคอนเดนเซอร
คําตอบ 3 :
คือคาอัตราการเกิดตะไครน้ําและตะกรันดานนอกของคอนเดนเซอร
คําตอบ 4 :
คือคาความตานทานความรอนอันเกิดจากตะกรัน
407
136 of 138
เครื่องทําความเย็นขนาด 17.58 kW-R ใชสารทําความเย็น R22 อุณหภูมิไอระเหยอยูที่ 1.7 deg.C อุณหภูมิควบแนนที่คอนเดนเซอร 48.9 deg.C ทอระหวางคอมเพรสเซอรกับ
คอนเดนเซอรมีความยาวรวม 9.14 m ตองเลือกใชทอขนาดเทาใด เมื่อตองการให Pressure Drop ไมเกิน 41.4 kPa กําหนดใหใชตารางดานลาง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ิธ์ ห
13 mm
16 mm
19 mm
22 mm
408
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ส
อ
ข
กร
ิท
ส
น
ว
ง
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
137 of 138
เครื่องปรับอากาศขนาด 3.5 kW-R ใชคอมเพรสเซอรแบบเปด ทํางานภายใตอุณหภูมิไอระเหย –17.8 deg.C อุณหภูมิควบแนน 37.8 deg.C จงหาภาระของคอนเดนเซอร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
ย
่
า
น
ห
ำ
จ
ม
า้
ิธ์ ห
4.34 kW
4.5 kW
4.64 kW
63 kW
409
ิท
ส
น
ว
ง
ในขบวนการถายเทความรอนที่คอลยเย็น ถาคา Overall Coefficient of Heat Transfer เทากับ 50 วัตตตอตารางเมตร-เคลวิน คา Log Mean Temperature Different เทากับ 8
เคลวิน ปริมาณความรอนที่ตองการถายเทเทากับ 20,934 กิโลจูลตอชั่วโมง จงหาพื้นที่ผิวของคอลยเย็นที่ใชในการถายเทความรอนจํานวนนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ขอที่ :
410
14.5 ตารางเมตร
0.015 ตารางเมตร
49.6 ตารางเมตร
52.3 ตารางเมตร
ส
อ
ข
กร
ว
ศ
ิ
าว
ภ
ส
ในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (Split Type Air Conditioner) คอมเพรสเซอรและคอนเดนเซอรพรอมพัดลมจะรวมอยูในชุดเดียวกัน เรียกวาชุดควบแนน (Condensing Unit) ผู
ผลิตรายใหญๆ มักจะทดสอบหาสมรรถนะการทํางานโดยหาขนาดความสามารถในการทําความเย็น มีตัวแปรคืออุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอน อุณหภูมิอิ่มตัวดานดูด หรือ
อุณหภูมิระเหย และอุณหภูมิอากาศเขาหนวยแฟนคอยล ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตองหรือใกลเคียงที่สุด
คําตอบ 1 :
ใหอุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอนคงที่ ถาอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะลดลง
คําตอบ 2 :
ใหอุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอนคงที่ ถาอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 :
ใหอุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอนลดลง และใหอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะลดลง
คําตอบ 4 :
ใหอุณหภูมิอากาศที่ใชระบายความรอนเพิ่มขึ้น แตใหอุณหภูมิอิ่มตัวดานดูดลดลง ขนาดความสามารถในการทําความเย็นจะเพิ่มขึ้น
138 of 138
Download