Uploaded by Yut Piyaphattanawong

(Book) เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง

advertisement
เมืองไทยสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
ประเทศไทยสมัยเข้าสู่สงครามโลกครั้งทีส
่ อง
เช้าวันที่ 8 ธันวาคม 2484 รัฐบาลภายใต้การนาของจอมพลป.
ตกลงยินยอมให้กองทัพญี่ปุ่นใช้ประเทศไทยเป้นเส้นทางเดินทัพไปยังประเท
ศมลายูและพม่า รัฐบาลพิจารรณาถี่ถ้วนแล้วเห็นว่าไม่มีทางเลือกที่ดีกว่านี้
นายกฯวิงวอนให้ประชาชนช่วยเห็นใจและเข้าใจการตัดสินใจของรัฐบาลด้ว
ย
โดยลาดับเหตุการณ์คือในคืนวันที่ 7 ทูตญี่ปุ่นได้เข้าพบนายดิเรก
ชัยนาม รมว.ต่างประเทศ และพลตารวจตรีอดุลเดชจรัส
แต่พลตารวจตรีปฏิเสธ รมว.มหาดไทยที่วังสวนกุหลาบ
เพื่อขอเคลื่อนพลผ่านไทย ต้องการยื่นคาขาด
จอมพลป.เดินทางไปตรวจราชการที่ต่างจังหวัด
ยดอเรกพยายามชี้แจงว่าแป็นเรื่องคอขาดบาดตายต้องรอ จอมพลป.
แต่จอมพลป.ก็ดารงตาแหน่งผบ.ทบ. เมือ
่ วันที่ 8 ได้กลับมาแล้วจึงจัดประชุม
แบ่งเป็น 3 พวก ได้แก่ สนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร ประกอบด้วยนายปรีดี
เป็นหัวหน้า พวกที่ 2 วางตัวเป็นกลาง พวกที่ 3
สนับสนุนฝ่ายอักษะนาโดยจอมพล ป.
ส่วนใหญ่นั้นออกความเห็นว่าถ้าขัดขืนต่อญี่ปุ่นั้นต้องโดนญี่ปุ่นโจมียับเยิน
คงไม่พ้นการตกเป็นเมืองขึ้น
ชาวไทยก็ไม่เข้าใจเพราะก่อนหน้านี้ประมาณสามเดือน
รัฐบาลชุดเดียวกันยังออกคาสั่งให้ประชาชนร่วมใจกันต่อสู้จนเลือดหยดสุดท้
าย หากมีชาติใดรุกล้าดินแดนอันเป็นที่รักยิ่งของทุกคน
รัฐบาลไม่ตอบคาถามที่เกี่ยวกับการเมืองอ้างว่าจะกระทบกับความมั่นคงของ
ประเทศ
แต่รัฐบาลก็ยืนยันแก่สภาว่าได้รับคาสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรจากญี่ปุ่นที่
จะเคารพซึ่งความเป็นเอกราช อธิปไตยและเกียรติศักดิ์ของประเทศไทย
หลังวันที่ 8 ธันวาคม 2484 ความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นก่อตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว
10 ธันวาคม 2484 รัฐบาบประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศ 11 ธันวาคม 2484
ลงนาม “กติกาสัญญาทางทหารระหว่างไทยกับญี่ปุ่น”
จอมพลป.ถึงกับเรียกประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อขอความคิดเห็น
การประชุมครั้งนี้ถือเป็นเรื่องสาคัญยิ่ง เพราะเป็นการตัดสินชะตาบ้านเมือง
ในระหว่างการประชุม 22 คน รัฐมนตรี 8 คนนิ่งเงียบไม่พูด
รัฐมนตรีคนเดียวที่คด
ั ค้านอย่างเปิดเผยคือ นายปรีดี พนมยงค์
โดยให้เหตุผลว่าไม่ต้องทสนธิสัญญากับญี่ปุ่นในลักษณะที่ต้องเป็นศัตรูกับฝ่า
ยสัมพันธมิตร
วันที่ 12 จอมพลป. ได้ออกแถลงการณ์ทางวิทยุกระจายเสียงเมื่อวันที่
12 ธันวาคม 2484
ถ้อยคาบ่งบอกชัดถึงเจตนารมย์อย่างชัดเจนของไทยว่าต้องการร่วมหัวจมท้า
ยกับญี่ปุ่นในสงครามมหาเอเชียบูรพา ยังมี
“ข้อกาหนดความเข้าใจกันเป็นลับ”
เชื่อว่าลับเพราะหากหนังสือไปตกหล่นที่ใดความเสียหายจะบังเกิดแก่เรา
หมดความเชื่อถือ และโครงการในอนาคตเสียหาย
เกี่ยวกับสัญญาที่ญี่ปุ่นจะรับรองให้ดินแดนมาลยูและพม่าที่เสียให้อังกฤษใน
ตอนรัชการที่ 5 คืนให้กับไทย
กติกาสัญญาพันธไมตรีมีข้อพิเศษกว่าสนธิสัญญาฉบับใดใดนั้น
คือมีการลงนามในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เฉพาะพระพักตร์พระแก้วมรกต
เป็นครั้งแรกที่รัฐบาลนาสิ่งศักสิทธิ์มาเป็นสักขีพยานสนธิสัญญาพันธไมตรีระ
หว่างประเทศ เพราะเชื่อว่า “ญี่ปุ่นเป็นชาตินับถือพิธีการ
ถ้าทาอะไรเป็นพิธีกับญี่ปุ่นจะช่วยให้มั่นคงขึ้นบ้าง”
มีการใช้ภาษาฝรั่งเศสในการทาสัญญา เพราะรังเกียจแม้จะใช้ภาษาอังกฤษ
วันที่ 25 มกราคม 2485 ไทยประกาศสงครามกับอังกฤษและอเมริกา
สร้างความตะลึงให้กับคนส่วนใหญ่ที่ติดตามสถานการณ์
การที่เลือกประกาศสงครามวันนี้ก็เพราะ 1
เป็นวันที่สมเด็จพระณเรศวรมหาราชทรงกระทายุทธหัตถี 2
คือต้องการให้เห็นว่ารัฐบาลสามารถกระทาการใดใดก็ได้โดยมิต้องรอความเ
ห็นชอบจากผู้ใด
เหตุที่จอมพลป. เข้าร่วมกับญี่ปุ่นนั้นเพราะ
ได้รับข่าวชัยชนะของญี่ปน
ุ่ ทางด้านการรบทางด้านแปซิฟิกและโจมตีอ่าวเพิ
ร์ล
ซึ่งก็เป็นทหารโดยนิสัยและเป็นคนชอบอานาจย่อมเห็นดีเห็นงามตามญี่ปุ่น
เพราะหากญี่ปน
ุ่ ชนะสงคราม จมอพลป.
จะมีบุญญาธิการสูงขึ้นไม่เพียงในประเทศไทยเท่านั้น
ถึงขนาดยอมเลิกกีฬาขี่ม้า ล่าสัตว์ เทนนิสที่โปรดปราน
มาใช้เวลาศึกษาศิลปะการสู้รบทางทหารแบบญี่ปุ่น
นับตั้งแต่จอมพลป. เข้าดารงตาแหน่งนายกฯ ในปลายปี 2581
ก็ได้ใช้อานาจเผด็จการทั้งทางทหารและทางรัฐสภา จนเป็นที่ยอมรับว่า
“เชื่อผู้นาชาติพ้นภัย” หลงระเริงต่ออานาจเผด็จการแล้วโดยสมบูรณ์
แต่ก็มีความผิดที่ไม่น่าให้อภัยข้อหนึ่ง คือ
เมื่อเหตุการณ์พลิกผันจากดีเป็นร้าย จากชัยชนะเป็นความพ่ายแพ้
กลับขาดความเด็ดเดีย
่ วที่จะเผชิญต่อความจริงอย่างลูกผู้ชาย
กลับหาข้อแก้ตัวต่างๆนานาซึ่งล้วนแต่ฟังไม่ขึ้นและขาดเหตุผล
ซึ่งได้กาจัดกลุ่มบุคคลที่จัดแย้งออกไปจนหมดสิ้น กลุ่มคนที่ไม่สนับสนุน
“ท่านผู้นา” นายดิเรก ชัยนาม
รมว.ต่างประเทศถูกลดตาแหน่งลงเป็นรัฐมนตรีช่วย
และนาเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติให้นายปรีดี
พนมยงค์เป็นผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ประชาชนก็ไม่สามารถขัดได้
เนื่องจากในยุคนั้นเป็น “เชื่อพิบูลสงครามชาติไม่แตกสลาย”
“เชื่อพิบูลสงครามชาติปลอดภัย” “เชื่อและตามผู้นาชาติจะสวัสดี”
และยิ่งประชาชนนั้นยิ่งไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็น
มีใบปลิวออกโจมตีจมพล ป. ว่าเป็นเครื่องมือของญี่ปุ่น
แต่รัฐบาลปราบปรามอย่างเด็ดขาดจับนักสือพิมพ์ที่น่าสงสัย 10 คน
ศาลพิจารณาจาคุกตลอดชีวิต 2 คน
ประชาชนเริ่มไม่พอใจ
ยิ่งนานวันเข้าความเจ็บแค้นและความสะเทือนใจในหมู่ประชาชนก็ยิ่งทวีมาก
ขึ้น พร้อมๆกับความชื่นชม “ท่านผู้นา” ค่อยจางหาย
จนกลับกลายเป็นไม่พอใจและเคียดแค้น
ทาให้ต้องหมดอานาจลงในเดือนกรกฎาคม 2487
การสร้างชาติของจอมพลป.
ในขณะที่ประเทศไทยประกาศเข้าร่วมเป้นพันธมิตรกับญี่ปุ่นในสงครา
มโลกครั้งที่สองในเดือนมกราคม 2485
ขณะที่ประชาชนทั้งประเทศกาลังตกอยู่ในยุค “ปฏิวัติทางวัฒนธรรม”
ตามแผนการสร้างชาติของ “ท่านผู้นา”
การปฏิวัตินี้เป็นไปอย่างพิสดารตลอดระยะสงคราม (มกราคม 2485 - สิงหาคม
2488)
เมื่อจมอพลป. เข้าสูต
่ าแหน่งเดือนธันวาคม 2481
แถลงต่อคณะรัฐมนตรีและต่อประชาชนอย่างชัดเจนว่า
นโยบายสาคัญของรัฐบาลคือ การนานาวาไทยเข้าสู่ความเป็นอารยประเทศ
งานแรกคือการสถาปนาตนเองขึ้นเป็น “ผู้นา” ของชาติ
เพียงเดือนเดียวที่ขึ้นดารงตาแหน่งได้จับกุมศัตรูทางการเมืองถึง 50 คน
และอีกเพียงหนึ่งปีต่อมามีอานาจกุมบังเหียนประเทศไว้ทุกด้าน
ได้รับตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงสาคัญ ๆ หลายกระทรวงมหาดไทย
ต่างประเทศ กลาโหม ศึกษาธิการ ทหารบก ทหารเรือพิเศษ
ทหารอากาศพิเศษ ทหารสูงสุด
คนไทยได้รับกระตุ้นเตือนตลอดเวลาว่าตนกาลัง
“อยู่ในประเทศสยามใหม่” ซ่งกาลังพัฒนาสู่ความเป็นอารยะ
ก้าวแรกของการปลุกระดมความสานึกเรื่อง “สังคมใหม่”
คือการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย” เพื่อให้ต้องตามชื่อเชื้อชาติ
และให้เลิกใช้คาเรียกชื่อคนไทย ซึ่งแบ่งหลายพรรคพวก มาเป็นชื่อ
“คนไทย”
กระบสนการสร้างชาติขิงจอมพลป. ดาเนินไปรวดเร็วแบบสายฟ้าแลบ
รัฐบาลสั่งงานออกมาในรูปแบบ “รัฐนิยม”
ถือเป็นประกาศิตที่ประชาชนต้องพร้อมใจกันยึดปฏิบัติ
รัฐบาลโฆษณาระเบียบ “รัฐนิยม” เป็นครัง้ คราว
รัฐบาลท่านผู้นาออกรัฐนิยมทั้งสิ้น 12 ฉบับ
รัฐบาลพยาบามทิ้งประเพณีและความเชื่อต่างๆในอดีตออกไป
ประกาศให้ประชาชนถือวันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันชาติ ให้ใช้วันที่ 1
มกราคมเป็นวันขึ้นปีใหม่ตามหลักสากลแทน
ให้ตัดตอนเพลงสรรญเสริญพระบารมีและเพลงชาติให้กะทัดรัดมากขึ้น
หากพิจารณาทางด้านจิตวิทยา รัฐนิยมทั้ง 12
ฉบับนั้นทาให้ผู้คนกาลังรู้สึกว่าประเทศกาลังเข้าสู่ยุคใหม่จริงๆ
แนะนาประชาชนถึงวิธีการประพฤติปฏิบต
ั ิตนในรูปแบบสังคมใหม่
ยกย่องภาษาและหนังสือกับหน้าที่พลเมืองดี ควรกินวันละ 4 มือ
้ นอนวันละ 6 –
8 ชั่วโมง รูจ
้ ักกับการอออกกัลงกาย ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทา
โอนอุตสาหกรรมใหญ่ๆที่ชาวต่างชาติเคยดาเนินการอยู่ เช่น สัมปทานป่าไม้
เหมือนแร่ กิจการสาธารณูปโภค โรงงานยาสูบ
ควบคุมให้กิจการบางประเภทให้คนไทยเท่านั้น
ขณะที่รัฐนาวาไทยกาลังเฟื่องฟูด้วยคติ “รัฐนิยม”
ประชาชนชาวไทยเกิดแรงกระตุ้นเรื่องชาตินิยม
และเกิดความรักชาติสุดซึ้งมาก
เมื่อเมืองไทยเริ่มเป็นชาติมหาอานาจผนวกกับดินแดนฝั่งขวาแม่น้าโขง
โดยได้รับการสนับสนุนจากญี่ปุ่นทาให้คนไทยเทดทูนญี่ปุ่นในฐานะมหามิตร
มากขึ้น
และทุกคนคิดว่าความสาเร็จทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากความเป็นอัจฉริยะของจอ
มพล ป. มหาบุรุษของเมืองไทยยุคสร้างชาติ
การสร้างเอกลักษณ์ใหม่ให้เป็นสังคม “ไทยเพื่อไทย”
และอีกปัจจัยหนึ่งกระตุ้นให้เกิดพลังสร้างชาตินั้นก็คือ
การที่ญี่ปุ่นช่วยขยายดินแดนโดยมอบรัฐที่เคยเสียให้แก่อังกฤษไป ไทรบุรี
ตรังกานู กลันตัน และปะลิส
คนไทยตื่นเต้นและภาคภูมิใจในความยิ่งใหญ่และชัยชนะเหนื่อองักฤษที่เคยเ
ป็นมหาอานาจ และญี่ปุ่นยังแสดงเจตจานงที่จะเคารพและรักษาไว้ซึ่งเอกราช
ญี่ปุ่นนั้นก็ยังโฆษณาความรุ่งเรืองของเมืองไทยให้นานาชาติรู้จัก
“วงการไพบูลย์ร่วมกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
“เอเชียเพื่อชาวเอเชียเท่านั้น”และมีการเจรจาลงนามไทยในข้อตกลงทางวัฒ
นธรรม โดยจะรักษาวัฒนธรรมอันดี
ไม่เหมือนกับที่เคยโดนตะวันตกดุแคลนว่าเป็นวัฒนธรรมที่ตอ
้ ยต่า
จอมพล ป. เชื่อว่าคนไทยต้องมีวัฒนธรรมสูงในสายตาของชาวโลก
ประเทศในเอเชียต้องตกเป็นเมืองขึ้นของยุโรปและอเมริกาเพราะความด้อยท
างวัฒนธรรม ในช่วงประกาศสงครามแปซิฟิกนั้น จอมพล ป.
เชื่อมั่นว่าเมืองไทยมีผู้นาเพียงคนเดียวนั่นคือท่านเอง
ในยามสงครามเช่นนี้ผู้นาต้องเด็ดเดี่ยว จอมพล ป.
แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มเห็นว่าตนเองนิยมลัทธิทหารนิยมและเชื่อว่าการปกค
รองที่เหมาะสมที่สด
ุ ในประเทศไทยคือการปกครองแบบเผด็จการทหาร
พยายามเน้นถึงความสาคัญของทหารทีจ
่ ะช่วยป้องกันประเทศ
และปลูกฝังลัทธิทหารมีการจัดตั้งกรมยุวชนทหาร เมื่อเข้าสู่สภาวะสงคราม
จอมพล ป. จึงใช้อานาจเด็ดขาดแบบทหารมากขึ้น
หลังจากที่กองทัพญี่ปุ่นเข้าประเทศ 2484
แผนการสร้างชาติขิงจอมพลป.มีความเป็นเผด็จการมากขึ้นเช่นเดียวกับ
ฮิตเลอร์ มุสโสลินี จอมพล ป. ให้เหตุผลถึงการนาลัทธิผู้นามาใช้ว่า
ญี่ปุ่นมีเครื่องยึดมั่นคือพระเจ้าแผ่นดินของเขา
ของเราไม่มอ
ี ะไรเป็นที่ยึดแน่นอนที่มีอยู่ก็คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
และรัฐธรรมนูญ ชาติก็ยังไม่มีตัวตน
ศาสนาก็ยังไม่ได้ทาให้คนเลื่อมไสถึงยึดมั่น
พระมหากษัตริย์ยังเป็นเด็กเห็นแต่รูป รัฐธรรมนูญก็เป็นสมุดหนังสือ
เวลาบ้านเมืองคับขันจะเอาอะไรมายึดได้ ถึงขนาดให้นาไก่และสีเขียว
แสลักไว้ตามเก้าอี้ หน้าต่างและรั้วของทาเนียบสามัคคีชัย
ชักชวนให้บ้านเรือนทุกหลังประดับรูปท่านผู้นา เคารพรูปของ ฯพณฯ
ในโรงละคร
ถึงขั้นมีการเขียนบทละครสรรญเสริญยกย่องให้ท่านผู้นาเป็นเทวดามีอิทธิปา
ฏิหาริย์รักษาคนตาบอดแต่กาเนิดให้หายได้
และท่านยังชานาญในการแต่งคาขวัญอีกด้วย
“คนไม่รักชาติคือคนที่เกิดมารกโลก” “เราตายดีกว่าชาติตาย”
ด้านสื่อ
ใช้สื่อมวลชนทางวิทยุกระจายเสียงและหนังสือพิมพ์เป็นเครื่องมือสร้างลัทธิ
“ผู้นานิยม”
ให้ตนเองอย่างเต็มทีโ่ ดยการออกพระราชบัญญัติควบคุมข่าวของสื่อมวลชน
เช่น
อออกพระราชบัญญัติการพิมพ์ให้อานาจรัฐมนตรีมหาดไทยคือตัวท่านเองคว
บคุมและพิจารณาว่าบทความชิ้นไหนขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอั
นดีของประชาชน มีอานาจเด็ดขาดว่า
หนังสือพิมพ์ฉบับไหนถูกห้ามดาเนินกิจการหรือยึดกิจการ
ยิ่งเมื่อเข้าร่วมกับญี่ปุ่นแล้วต้องกวดขันมากขึ้น
ข่าวทั้งหมดจะต้องมาจากไทยไม่ก็ญี่ปุ่นเท่านั้น
จะไม่นาเสนอข่าวสารฝ่ายสัมพันธมิตรในทางที่ดี
การปลุกระดมความคิดมวลชนอีกรูปแบบหนึ่งคือ
วิธีปลุกใจด้วยบทเพลงและบทละครอิงประวัติศาสตร์
เตือนชาวไทยมิให้ประมาทและสามัคคีกัน ศึกถลาง เจ้าหญิงแสนหวี
พ่อขุนผาเมือง รวมทัง้ บทเพลงต่างๆ ตื่นเถิดชาวไทย เลือดอยุธยา
ในเรื่องการแต่งกายรัฐบาลเห็นว่าเป็นเรือ
่ งน่าอายสาหรับประเทศที่กา
ลังเป็นมหาอานาจ
จึงมีประกาศให้กระทรวงมหาดไทยแนะนาให้คนไทยแต่งตัวตามระเบียบที่วา
งไว้เพื่อเป็นการเชิดหน้าชูตา โดยให้ผู้ชายสวมหมวก รองเท้าหุ้มส้น ถุงเท้า
เสื้อนอกกางเกงขายาว ผู้หญิงมีหมวก กระโปรง รองเท้าหุ้มส้นหรือรัดส้น
การสวมหมวกนั้นเป็นเรื่องใหม่มากในหมู่สตรี
ทางราชการก็ชี้ให้เห็นความสาคัญของการสวมหมวก ถึงขนาด
“มาลานาไทยไปสู่มหาอานาจ” ซึ่งเรื่องหล้านี้นั้นเป็นเรื่องสาคัญจริงๆ
เพราะเป็นการสร้างชาติยอย่างหนึ่งทาให้ประเทศอยู่ในระดับเสมออารยประเ
ทศ บางที่ถึงขนาดไม่แต่งตัวตามระเบียบติดต่อราชการได้
ได้เชื้อเชิญพระประยูรวงศ์เจ้าจอมในร.5 ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้นาทางแฟชั่น
แต่บางคนก็โดนปฏิเสธ โดนตีกลับว่า ทุกวันนี้
จนจะไม่เป็นตัวของตัวเองอยู่แล้ว ยังจะมายุ่งกับหัวกับหูอีก
ต่อมารัฐบาลก็สั่งให้ประชาชนเลิกกินหมาก
กินหมากเป็นคนป่าเถื่อนเหมือนเนื้อสัตว์สดๆ เลือดแดงท่ติดปาก
เคี้ยวเองเหมือนควาย ปากเหม็น ฟันขยับยับเยิน
ทาให้สถานที่สกปรกเพราะชอบบ้วน
การปรับปรุงตัวอักษร
ได้ตั้งคณะกรรมการส่งเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยขึ้น
ได้ปรับเปลี่ยนการใช้สรรพนามเหลือแค่ 2 คาคือ บุรุษที่ 1 ข้าพเจ้า และ บุรุษที่
2 ท่าน แต่ก็มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็น ฉัน
ได้รับความนิยมมากกว่า การวางหลักเกณฑ์การตั้งชื่อ
ชายควรมีความเข้มแข็ง หญิงควรไพเราะ และควรมีหลายพยางค์
- ออกประกาศห้ามใช้คาว่า “ฮัลโล” ให้ใช้ “สวัสดี”
- ยกเลิกบรรดาศักดิ์
- การใช้ชีวิตต่างๆ พิธส
ี มรส พิธีศพ
ห้ามอุ้มลุกแบบเอาใส่เอวเดะเอวคดงอ ต้องมีบุคลิกภาพที่สวยงามตลอด
- การให้สามีเคารพภรรยา หยิงให้ทัดเทียมชาย จัดตั้งกองทหารหญิง
โรงเรียนนายร้อยหญิง
- เลิกการพึ่งโชคชะตา
- ให้รักษาวัฒนธรรมไทยไว้ จัดตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร
จัดตั้งวงจุลดุริยางค์ ปรับปรุงการละเล่นพืน
้ เมือง
เบื้องลึกเบื้องหลังนั้น จอมพลป.เขียนจดหมายแถลง “ข้อเท็จจริง”
การสร้างชาติของท่านนั้นเป็นไปเพราะต้องการให้ญี่ปุ่นเห็นว่าไทยเป็นชาติ
ที่เก่าแก่ มีวัฒนธรรมสูง จะมาดูถูกไม่ได้ ส่วนการ “ปฏิวต
ั ิวัฒนธรรม”
เกรงว่าคนไทยจะไปใส่กิโมโน
ใช้ช้อนส้อมก็เพราะกลัวคนไทยใช้ตะเกียบแบบญี่ปุ่น
การใช้ภาษาไทยฉบับใหม่นั้นก็เพื่อไม่ให้ญี่ปุ่นเสนอให้เด้กไทยเรียนญี่ปุ่น
เป็นเรื่องที่ตอบได้ยากว่าแผนปฏิวัติวัฒนธรรมของจอมพลป.
เป็นการลอกเลียนแบบจากเผด็จการนาซีฮิตเลอร์
หรือจากเผด็จการฟาสซิสม์มุสโสลินีหรืออิทธิพลเลือดรักชาติซามูไรแบบญี่ปุ่
น ผู้รักสัจจะและยุติธรรมจะต้องยอมรับว่า ในสมัย “เชื่อผู้นาชาติพ้นภัย”
และในสมัยที่ท่านผู้นามีบุญวาสนาพรั่งพร้อมด้วยอานาจและบริวารนั้น
ประชาชนทุกเพศทุกวัยก็พร้อมปฏิบัตต
ิ าม
ประเทศไทยมีโอกาสเป็นอารยประเทศตามนโยบายจอมพลป.
จนถึงกระทั่งวันที่ 24 กรกฎาคม 2487 รัศมีแห่งความศิวิไลซ์วูบดับลง
เนื่องจากสภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่รับร่าวพราราชบัญยัติอนุมัติพระราชกาห
นดจัดตั้งนครบาลเพ็ชรบูรณ์และพุทธบุรม
ี ณฑล พันตรีควง อภัยวงศ์นายกฯ
คนใหม่เข้าแถลงต่อสภาผู้แทนราษฎรในวันแรกที่รับตาแหน่งว่า
“ข้าพเจ้ามิได้เป็นผู้นา ข้าพเจ้าเป็นนายกฯ”
และเมื่อได้เข้ารับตาแหน่งก็มีการยกเลิกนโยบายสร้างชาติของท่านผู้นาหลา
ยๆอย่าง อย่างรวดเร็ว
การที่ยกเลิกนโยบายนี้อาจเป็นการหาคะแนนนิยมในหมู่ประชาชน
เพราะเวลานั้นอย่างที่ทราบกันชัดเจนแม้จะไม่เปิดเผยว่า รัฐบาลจอมพลป.
เริ่มทาตัวเหินห่างจากประชาชนออกไปทุกขณะ
แม่ว้าสังคมไทยส่วนใหญ่จะเป็นผู้ตามที่ดก
ี ้ตาม
แต่ก็ไม่วายที่จะมาถึงภาวะหนึ่งที่ประชาชนเริ่มเบื่อหน่าย
และต้องการปลีกตัวออกจากคาสั่ง
นอกจากนี้ยังมีการเกณฑ์คนไปสร้างนครหลวงที่เพชรบูรณ์ทาให้คนเสียชีวิต
เพราะไข้ป่ามากมาย ขณะเดียวกันขบวนการเสรีไทยก็เข้มแข็งมากขึ้น
มีการแจกใบปลิวที่ทาให้เห็นสภาพที่แท้จริงขิงไทยมากขึ้น
ประกอบกับที่ควงเข้ามานั้น ก็เป็นช่วงที่ฝ่ายอักษะเริ่มแพ้สงคราม
จึงมีนโยบายว่ารัฐบาลชุดใหม่จะล้มล้างผลงานที่รัฐบาลฝ่ายอักษะทาไว้เพื่อผ
ลประโยชน์ของประเทศไทยในกรณีแพ้สงคราม
หลังจากรัฐบาลชุดใหม่เข้ามานั้นก็ออกคาสั่งยกเลิก
- ราวง เพราะข้าราชการไม่ทางานเลย เอาแต่ราวง
ทาให้เสียเวลาราชการไปอย่างน่าตาหนิที่สุด
- ผ่อนผันการสวมหมวก รองเท้า
- ยกเลิกวีรกรรมทั้ง 14 ข้อ
- เลิกการใช้อักษรแบบใหม่
- เลิกระเบียบการตั้งชือ
่ บุคคล
- เลิกการสนทนานายมั่น คง
- เลิกระเบียบห้ามกินหมาก นามบัตร ขายก๋วยเตี๋ยว
แม้ว่านโยบายสร้างชานติของจอมพลป.
จะล่มสลายไปพร้อมกับรัฐบาลของ ฯพณฯ แล้วก็ตาม
ผู้รักความจริงคงปฏิเสธไม่ได้ว่าการเปลี่ยนแปลงหลายสิ่งหลายอย่างยังคง
อยู่
เอกลักษณืไทยหลายอย่างก็ได้ท่านผู้นาเป็นผู้ช่วยยกเกียรติภูมิของชาติใ
ห้สูงส่งขึ้นในสายตาของอารยประเทศ
พร้อมๆกับที่ยังคงรักษาสัญลักษณ์แห่งไทยไว้อย่างน่าภาคภูมิใจ
ที่ญี่ปุ่นไม่ยึดไทยเป็นเมืองขึ้นนั้นสาเหตุมาจาก
3 ตาแหน่งคือ
ญี่ปุ่นสนใจยึด seas เป็นอู่ข้าวอู่น้า
ถ้าไทยยอมให้ผ่านเป็นทางไปได้ก็จะเก็บกาลังไว้ต่อสู้กรณีที่จะต้องสู้กั
บประเทศที่ตนต้องการทรัพยากร
- มีการลงสัญญาที่วัดพระแก้ว และญี่ปุ่นก็ขึ้นชื่อว่าเป้นประเทศที่ซื่อสัตย์
- ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวที่เป้นเอกราช ไม่ต้องทาลายเอกราช
และได้ชื่อว่าช่วยปลดแอกเมืองขึ้นที่โดนยึดได้
การที่ญี่ปุ่นเข้ามานั้นทาให้ได้เมืองคืน
จากที่อังกฤษใช้เรือรบและกระบอกปืนเข้ามาปล้นดินแดนเหล่านี้ไปจากไทย
แต่การที่ทหารญี่ปุ่นเข้ามานั้นก็สร้างความร้าวฉานให้กับคณะราษฎรผู้เปลี่ย
นแปลงการปกครอง
2475 คิฝ่ายสนับสนุนและต่อต้านญี่ปุ่นและก้แตกแยกจนบายปลาย
เรื้อรังเรื่อยมาเป็น “มะเร็งการเมือง”
การลาออกของนาย ทวี บูณยเกตุ และพันตรีควงอภัยวงศ์
ซึ่งเป็นการ”บีบ”ของจอมพลป. โดยให้เหตุผลเรื่องปัญหาญี่ปุ่น เป็น “อาวุธ”
และปัญหาเรื่องญี่ปุ่นนี้เองก็กลายเป็นเครื่องมือประหัตประหารจอมพลป.
จนต้องหลุดพ้นจากตาแหน่งนายกฯ ราษฎรไม่พอใจถึงความเป้นเผด็จการ
เพราะเห้นว่าการที่นายกฯยับยั้งมติของสภาฯเป็นการกระทาผิดกฎหมายรัฐธ
รรมนูญอย่างชัดแจ้ง กษัตริย์เท่านั้นที่สามารถทาได้
จึงเท่ากับเป็นการนาเอาอานาจกษัตริย์มาใช้
ฐานะสงครามของทางญี่ปุ่นเมื่อ 2487 ก็ดูไม่เป็นที่น่าพึงพอใจมากนัก
ฝ่ายอักษะพ่ายแพ้และสูญเสียที่มั่นในสงครามหลายแห่ง เช่น โรม นอร์มังดี
ปารีส สูญเสียเรือรบไปมาก เพราะไม่ค่อยจะประสานกัน
เครื่องบินก้เสียหายไปมาก
ทาให้การลาเลียงอาวุธก็เป็นไปได้ด้วยความลาบาก
ความเป็นอยู่ของไทยก็เดือดร้อนขึ้ ข้าวของขึ้นราคา ภาษีสูงขึ้น
เมืองต่างๆก็โดนโจมตีหลายครั้งในปี 2486 – 2487 ถูกโจมตีไปกว่า 4,000 ครั้ง
ต้องหยุดเรียน ซ้าร้ายยังเกิดน้าท่วมปี 2485
ประเทศไทยจึงได้รับรู้รสชาติอันขืนข่มของสงครามเป็นอย่างไร
ทารุณร้ายกาจเพียใด ดังนั้นควรอย่างยิ่งที่จะขจัดจอมพล ป.
เป็นผู้นาวาไทยเข้าร่วมรบเป็นฝ่ายญี่ปุ่น
และจากที่คนไทยถูกบังคับดัดนิสัยอยู่ได้ไม่นานก็เริ่มเห็นว่าตนเองสูญเสียอิส
รภาพและความเป็นตัวของตนเอง ความนิยมคลั่งไคล้ผู้นาจึงเริ่มเสื่อมถอย
ประเด็นการสร้างนครหลวงเพชรบูรณ์นั้นเพราะเป้นดินแดนทุรกันดาร
ตายด้วยไข้ป่าขณะไปก่อสร้าง
-
ด้านยุทธศาสตร์ก็ถูกปิดล้อมได้ง่ายเพราะห่างไกลจากจังหวัดอื่น
การขาดแคลนเรื่องการอุปโภคบริโภค
ส่วนพุทธมณฑลที่สระบุรีนั้นเป้นการสร้างวิมานที่สิ้นเปลืองในขณะที่ประเทศ
ประสบสภาวะสงคราม รัฐบาลควรเอาใจใส่เรื่องปากท้องประชาชน
ปรีดีนั้นมองคนไว้แล้วที่จะมาเป้นนายกคือควง กับ ทวี
ทวีนั้นเป้นนักกฎหมายที่เก่งมาก มีประสบการณ์การบริหารและการเมืองสูง
แต่เกบียดชังญี่ปุ่นเอามา เนื่องจ่ากยังต้องร่วมมือกับรัฐบาลญีป
่ ุ่นอยู่
อาจจะไม่เหมาะ ส่วนพันตรีควง อภัยวงศ์นั้นเป้นคนสนุกสนาน
เข้ากับคนอื่นได้ง่าย มีความเป็นกลาง พอที่จะเข้ากับสส ได้จึงได้รับชันะจาก
สสและได้แต่งตั้งให้พันตรีควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรีวันที่ 1 สิงหาคม
2487 ซึ่งการโค่นล้มจอมพล ป. ตอนนั้นได้ถือเป้นเรื่องที่ “ฟลุค”
เพราะตอนนั้นยังใช้รธน 2475 การเลือกสส
แบบแต่งตั้งนั้นก็มาจากทหารส่วนใหญ่
พันตรีควง อภัยวงศ์ได้ขึ้นรับตาแหน่งนายกฯนั้น
ภารกิจใหญ่คตือรักษาความสงบเรียบร้อยในประเทสและการรักษามิตรภาพ
กับญี่ปุ่น หรือพุดง่ายๆก้คือการทาอย่างไรไม่ให้ญี่ปุ่นยึดไทยเป้นเมืองขึ้น
การที่ควงขึ้นเป็นนายกก้สร้างความไม่พอใจอย่างมากจากญี่ปุ่น จึงจับตาดู
พระยาพหลพลพยุหเสนา กับพลเรือโทหลวงสินธุสงครามชัย
เพราะมีความสนิทชิดเชื้อกับญี่ปุ่น ขณะเดียวกันญี่ปุ่นก็กลัวไทยจะหักหลัง
เพราะดูมีท่าทีเข้าฝ่ายสัมพันธมิตรเพราะข้าราชการไทยส่วนใหญ่เป็นพวกฝั
กใฝ่สัมพันธมิตร จึงต้องคอยสอบถามนายปรีดี
ทุกครั้งที่ญี่ปุ่นพบการลักลอบขนอาวุธ
ได้เกิดเหตุการณ์ขัดแย้งกับญี่ปุ่นอย่างรุนแรงอย่างน้อยสองครั้ง 1 คือ
ญี่ปุ่นข้อกู้เงินเพิ่มจานวนมหาศาลที่ไทยยืมอยู่เป็นประจาแล้ว
ในตอนนั้นสถานะทางการเงินก้ยอบแยบไม่มีให้กู้
หากไทยไม่ยอมก็จะมีแผนการกวาดล้างคนญี่ปุ่นในไทย
แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรบอกต้องรอถึงวัน “ดีเดย์”
วันที่เปิดฉากฝ่ายสัมพันธมิตรโจมตีญี่ปุ่น แต่นายควง ทาการต่อรองเสียก่อน
อีกหนึ่งเหตุการณ์คือ ญี่ปุ่นพบขบวนการดินต่อต้านญี่ปุ่น
พบสนามบินลับๆ 3 แห่งในภาคอิสาน
จึงขอให้ยื่นคาขาดจัดการกับคนเหล่านั้น
แต่ญี่ปุ่นยอมจานนกับฝ่ายสัมพันธมิตรเสียก่อน
ในวันที่ 17 สิงหาคม 2488 พันตรีควง อภัยวงศ์ลาออกจากตาแหน่ง
หลังญี่ปุ่นยอมจานนได้ 2 วัน
เศรษฐกิจสมัยสงคราม
รัฐบาลไทยถูกญี่ปุ่นบังคับให้ลดค่าเงินบาทลงมาเท่ากับเงินเยนของญี่ปุ่
น การค้าระหว่างประเทศหยุดชะงัก เงินคงคลังของรัฐบาลหมด
ฐานะการเงินระหว่างประเทศของประเทศจึ้งเข้าขั้นวิกฤต
ตามที่จริงนั้นตามข้อตกลงเรื่องเงินเยน - บาท
อาจเป็นข้อดีกับไทยให้ขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น
แต่ในทางปฏิบัติกลับไม่เป็น เช่นนั้น
เพราะไทยอยู่นะหว่างสงครามไม่สามารถผลิตสินค้าออกนอกประเทศได้
และรัฐบาลไทยต้องแบกภาระหนักจาก ญี่ปุ่นเรีกร้องขอกู้เงินบาท
ก่อนหน้านั้นช่วงปี 2482 การค้าต่างประเทศของไทยขยายตัวขึ้นมาก
เพราะไทยวางตัวเป็นกลางจึงสามารถส่งออกข้าว ยางพาราและดีบุกได้
อังกฤษ จีน ญี่ปุ่นซื้อข้าวไทยมากขึ้น
แต่พอญี่ปุ่นเข้ามาได้ควบคุมการค้าทางทะเลทั้งหมด
บังคับให้ไทยค้าขายกับญี่ปุ่นเพียงอย่างเดียว จนกลางปี 2485
ได้เปิดการค้าเสรีกับประเทศที่ยึดมาได้บา้ ง
- ตั้งสมาคมการค้าทะเลใต้
- ตั้งองค์การควบคุมสินค้าและราคา กาหนดราคาสินค้าที่จะส่งออก
กาหนดโควตา พ่อค้าไทยจึงไม่สามารถทาได้โดยตรง
และมีการบังคับซื้อข้าว อาหารไปเลี้ยงทหารญี่ปุ่นที่อยู่มลายู
ทาให้ราคาสูงขึ้น
ห้ามส่งของข้ามจังหวัดเพราะต้องใช้รถไฟในการลาเลียงทหาร
ไทยก็พยายามหาเงินเข้ารัฐ โดยการเก็บภาษีต่างๆ
พรบ.เงินช่วยชาติในสภาวะคับขัน พรบ.ชายโสดพรบ.ยาสูบ
พรบ.เกลือับบ
ขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น
เสรีไทยในอเมริกา นาโดย ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
อัคราชทูตไทยประจาอเมริกา
ได้ปราศรัยทางวิทยุกระจายเสียงที่เมืองซานฟานซิสโก
และประกาศตั้งขบวนการเสรีไทย
โดยมีวัตถุประสงค์เพือ
่ ปลดแอกเมืองไทยให้หลุดพ้นจักรวรรดินิยมญี่ปุ่น
นับตั้งแต่นั้นมาสถานทูตไทยประจากรุงวอชิงตันก็เป้นสถานที่รวมคนที้เก
ลียดชังจอมพลป. ในฐานะที่นาประเทศเข้าร่วมกับศัตรูโดยฝืนมติมหาชน
ทางด้านการทหารได้รับการร่วมมือจากกระทรวงต่างประเทศของสหรั
ฐอเมริกาอย่างดี จัดตั้งกองทหารอาสาเสรีไทย ประสานงานกับขบวนการ
โอ เอส เอส ล้วนแต่เป็น “ปัญญาชนชั้นหนึ่ง” มีการฝึกหลายที่ทั้งอินเดีย
จีน การลักลอบเข้าประเทศตอนนั้นก้เป็นไปโดยยากลาบาก
มีพลโทอดุลเดชจรัส อธิบดีกรมตารวจ ควบคุมเสรีไทยอมเมริกาเอาไว้
ทาให้การดาเนินการเป็นไปได้โดยสะดวก และสามารถติดต่อกับหน่วย โอ
เอส เอส ที่จีนได้จนกระทั่งสงครามเลิก
ในประเทศอังกฤษก็เหมือนกัน
นักเรียนที่นั้นไม่พอใจและประณามจอมพลป.
แต่อังกฤษต่างจากที่อเมริกาคือสถานทูตลอนดอนนั้นไม่เห็นด้วยกับการต่
อต้านรัฐบาล ห้ามนักเรียนไทยทาการใดใด แต่นักเรียนเหล่านี้ก้ไม่ลดละ
ธันวาคม 2484 นักเรียนไทยได้ส่งโทรเลขไปแสดงความยินดีต่อ
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
ที่ท่านทูตและนักเรียนไทยประกาศตัดขาดจากรัฐบาลจอมพลป.
นักเรียนอังกฤษในไทยประกาศจะปวารณาตนร่วมต่อสู้กับญี่ปุ่นทุกทางที่จ
ะทาได้ ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2485
ก็เริ่มจัดตั้งขบวนการต่อต้านญีชี่ปุ่นในแบบเดียวกับอเมริกา
แต่ปัญหาคือยัง หาคนที่เหมาะสมมาเป็นหัวหน้าขบวนการไม่ได้
ตอนแรกจะเอา ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์
น้องพระนางเจ้าราไพพรรณี แต่อังกฤษไม่สนับสนุน
เพราะกลัวว่าไทยจะเป็นประชาธิปไตยมที่พระมหากษัตริย์อยูเ่ หนือรัฐธรร
มนูญ จึงของให้ปราโมชช่วย ปราโมชช่วย จึงส่งนายมณี สาณะเสน
จนท.สถานทูตไทยประจากรุงวอชิงตัน เดือนสิงหา 2485
รัฐบาลอังกฤษรับสมาชิกเสรีไทยเป็นทหารในฐานพลทหารในหน่วยการโ
ยธา เพื่อฝึกวิชาทหารชั้นต้น 6 เดือน ได้มีการออกไปฝึกอินเดีย
ดาเนินการร่วมกับหน่วยกองทัพ 136
เพื่อวาวแผนเข้ามาทางานใต้ดินต่อต้านญี่ปุ่นในประเทศไทย
ชุดเสรีไทยชุดแรกที่ลักลอบเข้ามาโดยการโดดร่มคือชุดของนายป๋วย
อึ๊งภากรณ์ ในราว สิงหาคม 2487
แต่ถูกพลตารวจโทอดุลเดชจรัสควบคุมตัวไว้ให้ได้รับการติดต่อกับฝ่ายอัง
กฤษที่อินเดีย
เป็นที่น่าสังเกตว่าเสรีไทยในอังกฤษเข้ามาในเมืองไทยก่อนเสรีไทยในอเ
มริกา 2 เดือน
ในไทยนั้นก็ได้กระทาการแบบเงียบๆวางเป้าหมายไว้สองอย่าง คือ
เพื่อต่อต้านญี่ปุ่นและเพื่อติดต่อทาความเข้าใจกับฝ่ายสัมพันธมิตรถือประ
กาศสงครามของจอมพล ป. เป็นโมฆะ
เหมือนรัฐบาลพลัดถิ่นของนายพลเดอโกลล์ฝรั่งเศส
ขบวนการเสรีไทยในไทยก็ได้ทาการอย่างเงียบๆ ได้ส่งนายจากัด
พลางกูร ไปติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ครั้งแรกส่งไปจีนก็สาบสูญ
ชุดที่สองส่งไปจุงกิง คือนายจากัด พลางกูร
ก็สามารถเดินทางไปได้แต่ถูกทหารจุงกิงจับจตัวไว้ แต่อนุญาตให้ติดต่อ
เสนีย์ และรอคอยออยู่นานก็ยังไม่ได้คาตอบทาให้สงสัยมากขึ้น
อันที่จริงมีโอกาสได้พบ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์
และจากอเมริกา คือ ม.ล.ขาบ กุญชร
ม.จ.ศุภสวัสดิ์สงศ์สนิทไม่ได้ให้ความหวังไรมาก
เพราะรัฐบาลไม่สนับสนุนรัฐบาลพลัดถิ่น แต่ฝั่งอมเริกาก็พยายามติดต่อ
แต่ถึงคราวเคราะห์ นายจากัด พลางกูรเกิดล้มป่วยเสียชีวิต ชุด 3 คือสงวน
และแดง ได้รับการช่วยเหลือจากม.ล.ขาบ กุญชร ชุดที่ 4
เป็นคณะส.ส.อิสาน เดินทางไปเมืองจีนเพือ
่ พบเจียงไคเช็ค
การส่งทั้ง 4
ชุดนี้ออกไปนั้นทาให้เกิดการประสานงานทั้งในและนอกประเทศ
เสรีไทยต่างประเทศก้ได้ทราบถึงว่ามีขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นในไทยเกิดขึ้
นเหมือนกัน
“และแล้ว ดินแดน 220,000
ตารางไมล์ของเมืองไทยก็มิได้เป็นดินแดนที่เร้นลับอีกต่อไป”
ตอนแรกนั้นต่างประเทศไม่รู้ว่าหัวหน้าเสรีไทยในไทยนั้นเป็นใคร
รู้กันเพียงแต่ว่าชื่อ “รู้ท” กว่าจะรู้ก็ต่อเมื่อาด้โดดร่มลงไทยในราวตุลาคม 2487
อุปสรรคที่ขวางการทางานร่วมกันของกลุ่มต่อต้านญี่ปุ่น
1. ความเห้นและนโยบายของอเมริกาและอังกฤษเกี่ยวกับประเทศไทยเป็น
คนละแนวความคิด
2. ความเข้าใจและความแตกแยกในกลุ่มคนไทยด้วยกันเอง
เสนีย์ ปราโมชไม่ไว้ใจ ม.ล.ขาบ กุญชร
เพราะตอนที่อยูจุงกิงก็ไม่ค่อยช่วยเหลือเท่าที่ควร นั่นเพราะม.ล,ขาบ กุญชร
เคยเป็นอยู่ใต้บังคับบัญชาของจอมพลป. มาก่อน
จอมพลป.ส่งนางมาเพื่อดูเสนีย์ และไม่ชอบปรีดี ตอนนั้นเสนีย์
ปราโมชได้เป็นเอกอัคราชทูตไทยประจากรุงวอชิงตันโดยไม่รู้ตัวมาก่อน
อ้างว่าเป็นเพราะตนตอนนั้นเป็นอาจารย์สอนอยู่ที่มธ
ได้รับความนิยมจากลุกศิษย์ ปรีดีในฐานะผู้กก่อตั้งก็อิจฉากลัวมีหน้ามีตาเกิน
จึงใช้อานาจ “เนรเทศ” ไปอยู่เสียที่กรุงวอชิงตัน
เมื่อ 2488 อย่างที่ทราบกันแล้วว่าฝ่ายอักษะแพ้สงคราม
นายปรีดีจึงขอร้องให้ฝ่ายสัมพันธมิตรออกประกาศเป็นทางการรับรองสถาน
ภาพของประเทสไทยภายหลังสงคราม แต่ต้องผิดหวังเช่นเคย
เพราะฝ่ายกระทรวงต่างประเทศกลัวยุ่งยากกับอังกฤษ
สาหรับอังกฤษยังยืนกรานเช่นเคย ถือว่าขบวนการเสรีไทยนั้น
“แผนการของนักการเมืองที่เต็มไปด้วยเหลี่ยมคู ไม่มีทหารสนับสนุน
รังแต่จะสร้างความยุ่งยาก ไม่มีวันที่จะดาเนินงานสาเร็จตามเป้าหมายได้”
ที่ผ่านมาญี่ปุ่นก็รู้ว่ามีขบวนการเสรีไทย
แต่ที่ไม่จัดการนั้นก็เพราะว่าเป้นในช่วงที่กาลังทางทหารของญี่ปุ่นนั้นอ่อนแ
อเต็มที่ หากจะเอาทหารก็ต้องเอามาจากพม่า
แต่ก้มีความเสีย่งประเด็นยุทธศษสตร์
จึงทาได้เพียงแค่เตือนรัฐบาลมิให้กระทานอกขอบเขต
เมื่อสงครามกับญี่ปุ่นจบลง การต่อสู้อีกประเภทหนึ่งที่ยังหลงเหลือ
นั่นคือการต่อสู้เพื่ออานาจและเกมการเมืองในหมู่สมาชิกกลุ่มเสรีไทยยังคง
ดาเนินอยู่ต่อไป จะมีใครปฏิเสธได้ว่า
ความขัดแย้งและความริษยาในหมู่เสรีไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
ได้เป็นชนวนสาคัญที่ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน
และเกิดความขัดแย้งชนิดที่เป็นรอยร้าวประสานกันไม่ได้ในหมู่นักการเมืองไ
ทย
Download