Uploaded by Pateera Chananti Phoomwanit

IDL-56239

advertisement
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 10
AQUADAPT
www.aquadapt.org
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การเติมอากาศในบ่อปลา
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
ออกซิเจนละลายน้้าในบ่อเลี้ยงปลา
ออกซิเจนละลายน้้าในบ่อเลี้ย งปลา เกิดจาก
การแพร่ข องอากาศลงไปในน้้า จากการสั งเคราะห์
แสงของแพลงค์ตอนพืช สาหร่ายและพืชน้้าในยามทีม
่ ี
แสงแดด อย่างไรก็ตาม พืชและสัตว์น้าจะใช้ออกซิเจน
เพื่ อ ช่ ว ยในการหายใจในเวลากลางคื น จึ ง มี ค วาม
จ้ า เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ ต้ อ ง ห า จุ ด ที่ เ ห ม า ะ ส ม ส้ า ห รั บ
ออกซิ เ จนในน้้ า เพื่ อ ให้ เ พี ย งพอ หากออกซิ เ จนต่้ า
เกิ น ไปจะท้ า ให้ สั ต ว์ น้ า เครี ย ด อ่ อ นแอ กิ น อาหาร
ลดลง โตช้า ติดโรคได้ง่าย และอาจจะท้าให้สัตว์น้า
ตายหมดทั้งบ่อได้
ผู้เลี้ยงปลาต้องระวังเรื่องปริมาณออกซิเจนใน
ฤดู ร้ อ น เพราะอั ต ราการหายใจของพื ช และสั ต ว์ จ ะ
เพิ่มมากขึ้ น การใช้ ออกซิเจนจะสู งขึ้ นตามอุณหภูมิ
รวมทั้ง แพลงค์ ต อนพื ช จะเจริญ เติบ โตอย่ างรวดเร็ ว
ห า ก ไ ม่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น ถ่ า ย น้้ า ก ล า ง คื น ป ริ ม า ณ
ออกซิเจนจะถูกน้าไปใช้ เป็ นจ้านวนมาก ออกซิเจน
อาจจะลดลงจนเป็ น ศู น ย์ ท้ า ให้ ป ลาตาย หมอกควั น
และเมฆฝนที่ บ ดบั ง แสงนาน ๆ จะท้ า ให้ พื ช น้้ า และ
แพลงค์ตอนพืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เป็นผล
ให้ปลาขาดออกซิเจนและตายได้
ปริมาณออกซิเจนในน้้ าแต่ล ะบ่ อจะแตกต่า ง
กันไปตามความอุด มสมบู รณ์ ภายในบ่ อ การจั ด การ
บ่อ ขนาดและปริมาณสัตว์ น้าที่เลี้ยงในบ่อ โดยส่ว น
ใหญ่ อ อกซิ เ จนจะมี ค่ า ต่้ า สุ ด เวลาเช้ า มื ด และสู ง สุ ด
ช่วงบ่าย นอกจากนี้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้้า
จะขึ้ น อยู่ กั บ ความดั น บรรยากาศหรื อ ความสู ง ของ
พื้ น ที่ ค ว า ม เ ค็ ม แ ล ะ อุ ณ ห ภู มิ บ่ อ ที่ อ ยู่ บ น ที่ สู ง
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
ออกซิเจนจะละลายน้้าได้น้อยลง น้้าที่มีความเค็มและ
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นออกซิเจนละลายได้น้อยลงเช่นกัน
USER
www.sea-user.org
จ. เชียงใหม่ 50200
053 854 898
สรุปนโยบายและแนวทางปฎิบัติ 10
AQUADAPT
www.aquadapt.org
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าและการปรับตัว
การเติมอากาศในบ่อปลา
สู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
การใช้ออกซิเจนในบ่อปลา
การเลี้ ย งปลาที่ ค วามหนาแน่ น สู ง และขนาด
ปลาที่โตขึ้นท้าให้มีการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น ของเสีย
วิธีการเติมอากาศในบ่อปลามีหลายรูปแบบ
1.
ผูเ้ ลีย
้ งปลาควรใช้เครือ
่ งปัม
๊ น้้าแบบพ่น
จากปลาและอาหารที่เหลือก็มีส่วนท้าให้ออกซิเจนใน
เพือ
่ เพิม
่ อากาศในบ่อ ช่วงหน้าฝนทีฟ
่ า้ ปิด
บ่ อ ลดลง สาหร่ า ยที มี อ ยู่ ใ นบ่ อ ตายเป็ น จ้ า นวนมาก
เป็นเวลานานหรือในกรณีฉกุ เฉิน รวมทัง้ เมือ่
ท้าให้จุลินทรีย์ต้องใช้ออกซิเจนเพื่อย่อยสลาย อาจ
ปลามีขนาดโตขึน
้ ใกล้จับขาย หากสามารถ
ส่งผลให้ออกซิเจนลดลงและน้้าเน่าเสียได้
ท้าให้น้าเป็นฝอยขนาดเล็กการละลาย
ออกซิเจนในอากาศลงน้้าได้ดข
ี น
ึ้
2.
การใช้ใบพัดตีน้า ความสามารถในการ
เพิม
่ ออกซิเจนจะขึน
้ อยูก
่ บ
ั ลักษณะรูปร่าง
และขนาดของใบพัด แต่มข
ี อ
้ เสียคือ
งบลงทุนและงบด้าเนินการสูง
3.
ระบบเติมอากาศแบบเวนจูรี่ ประกอบไป
ด้วยปัม
๊ และหัวฉีดทีพ
่ น
่ น้้าผสมอากาศลง
ผู้เลี้ยงปลาควรลงทุนซื้อชุดตรวจสอบปริมาณ
ออกซิเจนทีล
่ ะลายในน้้าส้าเร็จรูป มาใช้เพือ
่ ตรวจสอบ
ไปในบ่อเลีย
้ งปลา อาจจะวางท่ออากาศ
บริเวณพืน
้ บ่อหรือกลางน้้า
ปริมาณออกซิเจนอย่างสม่้ าเสมอ ผู้เลี้ยงปลาควรใช้
เครือ
่ งเติมอากาศเพือ
่ รักษาระดับออกซิเจนไม่ให้ต่้ากว่า
3 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยเฉพาะในบ่อทีม
่ ก
ี ารเลีย
้ งปลาทีม
่ ี
ความหนาแน่นสูงและขนาดใกล้จบ
ั บ่อทีม
่ ป
ี ลาเป็นโรค
หรือบ่อทีม
่ ป
ี ริมาณแอมโมเนียสูงจ้าเป็นต้องเพิม
่ เครือ
่ งให้
อากาศ ออกซิเจนจะช่วยให้จุลินทรีย์ท้ างานได้ดีขึ้น
ในการเลีย
้ งปลา ควรควบคุมความขุน
่ หรือความ
โปร่งแสงของน้้า อยูร่ ะหว่าง 30 – 50 เซนติเมตร
การเติมอากาศลงในบ่อปลาช่วยท้าให้สภาพ
น้า้ ดีขน
ึ้ เป็นการช่วยลดปริมาณก๊าซพิษ เช่น แอมโมเนีย
ไฮโดรเจนซัลไฟล์
และช่วยให้สต
ั ว์นา้ กินอาหารดีขน
ึ้
โตเร็ว ท้าให้โอกาสเป็นโรคน้อยลง อย่างไรก็ตาม
ควรค้านึงถึงต้นทุนที่เพิ่มขึ้นด้วย
หน่ วยวิ จั ย สั ง คมและสิ่ งแวดล้ อ ม
USER
www.sea-user.org
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่
จ. เชียงใหม่ 50200
053 854 898
Download