Uploaded by โคนัน แปดริ้ว

คู่มือ AUN QA 3.0 ภาษาไทย

advertisement
ASEAN
University
Network
GUIDE TO
AUN QA
At Programme Level Version 3.0
ASEAN University Network-Quality Assurance
ฝ่ายแผนและ
ประกันคุณภาพการศึกษา
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา
ส่วนที่ 1
การบริหารคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ปรัชญา
การจัดการและการสื่อสารที่ดจี ะสร้ างสังคมที่เป็นสุข และยั่งยื น
ปณิธาน
มุ่งเป็ นศูน ย์กลางทางวิชาการและวิ ชาชีพ ด้านนวัต กรรมการจัดการ เพื่ อผลิ ตบัณ ฑิต ในด้า นการ
บริหารธุรกิ จ การบัญ ชี เศรษฐศาสตร์ การท่อ งเที่ ยว และนิ เทศศาสตร์ ให้ มีค วามเชี่ ยวชาญบนพืน้ ฐาน
ของคุณภาพวิชาชีพ เทคโนโลยี และสานึกรับผิดชอบต่อสังคม
วิสัยทัศน์
สถาบั น อุด มศึก ษาชั้ น นา ด้ านบริหารธุ รกิ จ การบั ญ ชี เศรษฐศาสตร์ การท่ องเที่ ยวและนิ เทศ
ศาสตร์ระดั บประเทศ/สากลที่ เป็ น พลั ง สร้ า งความเข้ มแข็ ง ทางธุ รกิ จและเศรษฐกิจของประเทศ ร่ ว ม
รับผิดชอบต่อสังคม
พันธกิจ
1. จั ดการศึก ษาระดับอุด มศึ กษาและวิชาชีพ ขั้น สูง ในระดั บประเทศ มุ่ งเน้น คุณ ธรรมและความ
เป็นเลิศทางด้านบริหารธุรกิ จ การบัญชี เศรษฐศาสตร์ การท่องเที่ยวและนิเทศศาสตร์
2. ผลิ ต งานวิ จัยและนวั ตกรรม เพื่ อสร้างองค์ ค วามรู้ และน าไปพั ฒ นาการเรียนการสอน และ
เพิ่ม ความเข้ มแข็ง ในท้อ งถิ่ น สั งคมและประเทศชาติ โดยมุ่ง เน้ นการทาวิจัยทั้ งแบบสายตรงและบูรณา
การ
3. บริการวิชาการด้านบริ หารธุ รกิจ การบัญชี เศรษฐศาสตร์ การท่องเที่ยวและนิเทศศาสตร์
4. ทานุ บารุ งและเผยแพร่ศิ ล ปวัฒ นธรรมล้านนา ท้ อ งถิ่น ไทย เพื่อ แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ และเข้ า
ใจความหลากหลายทางวั ฒนธรรม สามารถอยู่ ร่ว มกันได้อย่ างดี ตลอดทั้ งอนุ รักษ์ ทรัพ ยากรและพั ฒนา
สิ่งแวดล้อม
5. พัฒ นาความสัมพัน ธ์และความร่ว มมือทางวิช าการกับสถาบั นวิชาการและองค์กรที่เกี่ยวข้อ ง
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในภูมิภ าคอาเซี ยน
6. พั ฒ นาการบริ หารจั ด การที่ ดี ที่ มี ประสิ ทธิ ภ าพ โปร่ ง ใส พึ่ งพาตนเองได้ ภ ายใต้ เศรษฐกิ จ
พอเพียง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
1
ค่านิยมองค์กร
คณะวิ ทยาการจั ด การและสารสนเทศศาสตร์ เป็น องค์ กรที่ มี ความเป็ น เอกภาพ มีคุ ณ ธรรม
ยกย่ อ งและให้ เกี ย รติ กั น ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบสั ง คม ใช้ ค ว ามสามาร ถและสร้ า ง สรรค์ น วั ต กรรมอั น
หลากหลาย เพื่อมุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพและความเป็น เลิศ ทางวิชาการในระดั บประเทศ/สากล
M : Moral praise and honor มีคุณธรรม ยกย่องและให้เกียรติกั น
I : Innovation สร้างสรรค์นวัตกรรม
S : Social Responsibility รับผิดชอบต่อสังคม
U : Unity ความเป็นเอกภาพ
P : Professionalism and academic excellence ความเป็นมืออาชีพและความเป็นเลิศทางวิชาการ
เอกลักษณ์และอัตตลักษณ์
We’re Smart School.
1.
2.
3.
4.
5.
Smart Managing
Smart Image
Smart Communication
Smart Thinking
Smart Services
เป้าประสงค์ร่วม
1. เพื่ อการจัด การเรียนการสอนที่ เน้ นนิ สิต อยู่แ ละเรี ยน (Live and Learn) อย่างมี ค วามสุ ข จบ
ไปมีงานทา และเป็นคนดีของสังคม
2. เพื่ อ ท าการวิ จัย ที่ เน้ น การสร้ า ง ปั ญ ญ ารว มหมู่ (Collective Intelligence) เคี ยง คู่ ชุ ม ชน
(สนับสนุนแนวคิด OUOP – One University One Province)
3. เพื่ อ การบริ ก ารวิช าการ โดยเน้ น การใช้ปัญ ญารวมหมู่เพื่อ พั ฒ นาความเข้ ม แข็ ง ของชุ ม ชน
(Community Empowerment)
4. เพื่ อ ทานุ บารุ ง ภู มิปัญ ญา ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรมและสิ่ ง แวดล้ อ มของท้ อ งถิ่ น (Local Wisdom)
สู่สากล
5. เพื่ อ บริ ห ารจั ด การอ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ล และยึ ด มั่ น ใ นธรรมาภิ บ าล
(Good Governance)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
2
การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis)
จุดแข็ง
1. หลักสูตรยังเป็นที่ยอมรั บและต้องการของตลาดแรงงาน
2. อาจารย์ มีค วามรู้ค วามเชี่ยวชาญในสาขาวิ ชาที่หลากหลายและเป็ นที่ ยอบรับขององค์ ก รทั้ งภาครั ฐ
และภาคเอกชน
3. คณะมีกระบวนการที่สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณาจารย์ระดั บชาติแ ละนานาชาติ
4. คณะและอาจารย์ ไ ด้ รับ การยอบรั บจากองค์ ก รภาครัฐ และเอกชนให้ ทาหน้ า ที่ รับผิ ด ชอบในการ
ดาเนินงานวิจัยและบริการวิชาการ
5. คณะมีโครงการฯ ในระดับบัณฑิตศึกษามุ่งสร้ างความเชี่ ยวชาญเฉพาะด้าน
6. อาจารย์อยู่ในวัยหนุม่ สาวและเป็น คนรุ่น ใหม่มีพลังงานในการทางาน
จุดอ่อน
1. อาจารย์ไม่ได้ขอตาแหน่ง ทางวิชาการตามระยะเวลาที่กาหนด
2. อาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกยังต่ากว่าเกณฑ์ที่ม หาวิทยาลัยก าหนด
3. จานวนการตีพิมพ์เผยแพร่ง านวิจัยในระดั บนานาชาติยัง มีจานวนน้อย
4. ในบางสาขาวิชาอาจารย์ มีภ าระงานสอนต่ ากว่าภาระงานขั้นต่าที่ม หาวิทยาลัยก าหนด
5. หลั ก สูต รมีค วามหลากหลายมากทาให้ การบริ หารจั ด การไม่ คล่ อ งตั ว มากนัก รวมถึ ง การสร้ างจุ ด
แข็งร่วมกัน
6. ความเป็นปัจเจกชนของอาจารย์ในคณะที่มี ค่อนข้างสูง
7. โอกาสในการสร้างความร่วมมือ กับศิ ษย์ เก่า ที่ส าเร็จการศึก ษามีน้อ ย
อุปสรรค
1. การเปิดเสรีทางการค้ า บริการด้านการศึก ษาระดั บอุด มศึก ษาทาให้ มีก ารแข่งขั นในการจัดการศึ กษา
เพิ่มสูงมากขึน้
2. การศึ ก ษาต้น ทางมีคุ ณ ภาพจากั ด ทาให้ คุ ณ ภาพนัก ศึ กษาด้อ ยลง ส่ งผลต่อ การจัด การศึก ษาและ
คุณภาพของบัณฑิต
3. การแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการของมหาวิ ทยาลัยต่างๆ อยู่ในระดับสูงในปัจจุ บัน
4. โอกาสที่ จะได้บุค ลากรทางด้ านบริหารธุ รกิ จ บัญ ชี เศรษฐศาสตร์ การท่อ งเที่ยวและนิเทศศาสตร์
ที่จบการศึ ก ษาระดั บดุษฎี บัณ ฑิ ต จากมหาวิ ทยาลั ยที่มี ชื่ อ เสี ยงที่มี ค วามรู้ค วามสามารถมีน้ อ ยเมื่ อ
เทียบกับมหาวิทยาลัยส่วนกลาง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
3
โอกาส
1. มหาวิทยาลัยเปิดโอกาสให้ คณะมีการสร้างเครือข่ ายและการบูรณาการทั้งภายในและต่างประเทศ
2. ศาสตร์ ทางหารบริ หารธุ รกิ จ การบั ญ ชี เศรษฐศาสตร์ การท่ อ งเที่ ยวและนิ เทศศาสตร์ เป็ น องค์
ความรู้ ที่มี ความจาเป็ นต้ องเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของหน่ว ยงานต่างๆ ทั้ง ภาครั ฐ
และเอกชน
3. รัฐ บาลมีน โยบายด้ า นเศรษฐกิ จและสั งคมที่ เน้ น ด้ า นการพั ฒ นาธุ รกิ จขนาดกลางและขนาดย่ อ ม
(SMEs) ทาให้คณะมีโอกาสในการสร้ างเครือข่ ายและหาแหล่งทุนวิ จัยและบริก ารวิชาการ
4. สามารถสร้างนวัตกรรมทางด้านหลักสูต รในการเชื่อมโยงกั บศาสตร์ ตา่ งๆ เป็นสหสาขาวิชา
5. แหล่งทุนวิจัยที่สอดคล้องกับความเชี่ ยวชาญของคณะมีม ากและเพิ่มขึ้ น
แผนการพัฒนาการดาเนินงานของคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ระยะสั้น
สร้างความเข้มแข็งทางวิชาการของแต่ ละสาขาวิชาในทุก ๆ ด้าน
ระยะกลาง จัดตัง้ คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม
ระยะยาว
จัดตัง้ คณะบริหารธุรกิ จ คณะนิเทศศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์
นโยบายก ารบริ ห ารงานเพื่ อ ก ารพั ฒ นาก ารด าเนิ น งานของค ณะวิ ท ย าการจั ด ก ารและ
สารสนเทศศาสตร์
1. ด้านการจัดการศึกษา/ผลิตบัณฑิต
1.1. พัฒนาปรับปรุงประเมิ นหลั กสู ตรทุ กระดับชั้ น เพื่ อสร้างความเข้ม แข็ง อย่างต่อ เนื่อ ง โดยยึด แนว
ทางการพั ฒ นาของมาตรฐานการศึ กษาและสถาบั นการศึ ก ษาด้ านการบริหารธุ รกิ จ การบั ญ ชี
เศรษฐศาสตร์ การท่ อ ง เที่ ย วและนิ เทศศาสตร์ ชั้ น น าโดยค านึ ง ถึ ง ความต้ อ ง การขอ ง
ตลาดแรงงานและผู้ใช้บัณฑิต
1.2. พัฒนาความร่ วมมื อทางวิช าการกับหน่ว ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสมาคมวิช าชีพ ในการจั ด
การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพและส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ทั้ ง ในและนอ ก
มหาวิทยาลัย
1.3. พัฒ นา ปรั บปรุง และสนับสนุน การจั ดการเรียนการสอน ทั้ง ห้อ งปฏิบัตกิ าร วัสดุ อุปกรณ์ เพื่ อ
สนับสนุนคณะให้เป็นแหล่ง เรี ยนรู้ที่เหมาะสม
1.4. สนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึก ษาสอบใบอนุญาตในการประกอบวิช าชีพในแต่ล ะสาขาวิชา
1.5. พัฒ นาเพิ่ มช่ องทางและสร้ างกระบวนการคั ดกรองที่ มีประสิทธิภ าพในการจั ดผู้ ผ่านการศึก ษา
ต้นทางเพื่อให้ได้นักศึกษาที่ มีคุณ ภาพ
1.6. มีกลไกวิจัยภายนอกเพื่อนามาสร้ างนวัตกรรมหลักสูต ร
1.7. สนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์ เร่ง ทาผลงานทางวิชาการเพื่อเข้ าสู่ตาแหน่ง ทางวิชาการ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
4
1.8. สร้างโครงการพัฒนาอาจารย์ จากนักศึ กษาที่มี ผลการศึก ษายอดเยี่ยม
2. ด้านการวิจัย
2.1. ส่ ง เสริ ม และสนั บสนุ น อ าจารย์ ท าวิ จั ยเพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนโดยรั บ การจั ด สรร
งบประมาณจากแหล่งภายในและภายนอกมหาวิทยาลั ย
2.2. พัฒนาศักยภาพในการทาวิจัยของอาจารย์
2.3. สร้างเครือข่ายงานวิจัยกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก
2.4. ส่งเสริมและสนั บสนุ นอาจารย์ในการสร้างผลงานวิจัยและนาเสนอเผยแพร่ง านวิ จัยในระดั บชาติ
และนานาชาติ
2.5. จัดระบบพี่เลีย้ ง (Mentor) สาหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ของคณะ
2.6. จัดทาเอกสารทางวิชาการเพื่อ เผยแพร่ ผลงานวิจัยของอาจารย์
3. ด้านการบริการวิชาการ
3.1. สร้ างเครือ ข่ า ยความร่ว มมื อ กั บหน่ ว ยงานภายในและภายนอกเพื่ อ ให้ บริ ก ารทางวิ ช าการแก่
ชุมชนและสังคม
3.2. จัดตัง้ ศูนย์บริการวิชาการเพื่อเป็นแหล่งเรี ยนรู้ ทางวิชาชีพและความรู้อื่น ๆ เพื่อชุมชนและสังคม
3.3. พัฒนาหลักสูตรระยะสั้นตามศาสตร์ แต่ละสาขาวิช าเพื่อ ให้ บริก ารวิช าการต่อชุมชนและสัง คม
3.4. สนับสนุนให้อาจารย์และผู้เรียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมในการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม
3.5. สร้างคลังข้อมูลธุรกิจ เศรษฐกิจเพื่อบริการวิชาการชุมชนในท้องถิ่น ภาคเหนือ รวมถึงลุ่มแม่น้าโขง
4. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
4.1. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ อ าจารย์ บุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษา มี จิต ส านึ ก ในการทานุ บ ารุ ง
ศิลปวัฒนธรรมไทยและสิ่งแวดล้อ ม
4.2. ส่ ง เสริ ม และสนั บสนุ น อ าจารย์ บุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษาให้ เข้ า ร่ ว มด าเนิ น กิ จ กรรมด้ า น
ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมโดยเปิด โอกาสให้ชุ มชนและท้องถิ่น เข้ามามี ส่วนร่วม
4.3. ส่ ง เสริ ม และสนั บสนุ น ให้ อ าจารย์ บุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษาให้ สื บ สานโครงการตามแนว
พระราชดาริและเศรษฐกิ จพอเพียง
4.4. ส่งเสริมและสนับสนุนอาจารย์ ให้น าศิล ปวัฒนธรรมไทยมาบู รณาการในการเรี ยนการสอน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
5
5. ด้านการบริหารจัดการ
5.1. จัด ทาแผนพั ฒ นาคณะและทบทวนจั ด ทางบประมาณให้ ส อดคล้ อ งกั บแผนยุ ทธศาสตร์ ข อง
มหาวิทยาลัย
5.2. บริหารจัดการด้วยระบบกลไกการประกั นคุณ ภาพการศึกษา
5.3. บริหารจัดการโดยยึด หลักธรรมาภิบาล การบริหารจัดการที่ ดีและทาองค์กรให้มี ความสุข
5.4. พัฒนาและเสริมสร้างองค์กรไปสู่ก ารเป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู้
5.5. พัฒนาและสร้างผู้บริหารรุ่น ใหม่โดยการมอบหมายอานาจและการกระจายอานาจ
5.6. เสริมสร้างการทางานเป็น ทีม และการบริหารที่มี ส่วนร่วมของสมาชิกในองค์กร
6. ด้านการพัฒนานักศึกษา
6.1. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึ กษา
6.2. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิ จกรรมชุ มชนที่สร้ างเสริม ทักษะในการดารงชีวิต
6.3. ส่ง เสริ ม และสนับสนุ น ให้ นั กศึ ก ษามี ส่ ว นร่ว มในการจั ด กิจกรรมทั้ งทานุ บารุ งศิ ล ปวั ฒ นธรรม
การบริการแก่ชุมชนและการสื บสานโครงการตามพระราชด าริ
6.4. จัดระบบให้คาปรึกษาและแนะแนวอาชีพ รวมถึงการศึก ษาต่อ ให้กั บนักศึก ษา
6.5. ปลู กฝั ง ค่านิยมด้านคุ ณ ธรรม จริ ยธรรมและภาวะผู้น ารวมถึ งขนบธรรมเนียมประเพณี ไ ทยแก่
นักศึกษา
7. ด้านการพัฒนาบุคลากร
7.1. ส่งเสริม และสนั บสนุนให้อาจารย์มี การพัฒ นาตนเองในด้ านคุ ณวุ ฒิก ารศึ กษา สร้างผลงานทาง
วิชาการและงานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการและเสริมศัก ยภาพความเป็นนักวิชาการ
7.2. พัฒ นาศั กยภาพของบุ ค ลากรทั้ง สายวิช าการและสายสนับสนุ น วิช าการให้ มีทัก ษะทางวิ ชาชี พ
เพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง
7.3. ส่ง เสริ ม และสนับสนุน ให้ มี การพั ฒ นาบุค ลากรทั้ งจากการฝึ ก อบรมและศึก ษาดู งานหน่ว ยงาน
ภายในและภายนอกองค์กร
7.4. เสริ ม สร้ างวัฒ นธรรมองค์ ก รเพื่ อ ให้ บุคลากรมีใจบริก าร จริยธรรม ความรั บผิ ดชอบต่ อ หน้ า ที่
และคานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม
7.5. สร้ างขวั ญ และกาลัง ใจให้ กับบุ คลากรทุก ระดั บชั้ น และสร้ างโอกาสความก้ าวหน้า ในสายงาน
ต่าง ๆ
7.6. พัฒ นางานบุ คลากรสายสนับสนุ นให้มี ศัก ยภาพให้บริก ารในลั กษณะ One Step Service และมี
ความเป็นมืออาชีพ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
6
8. ด้านเครือข่าย
8.1. สร้ าง/รั ก ษา/ส่ง เสริ ม เครื อ ข่ ายศิ ษย์ เก่ า และสร้างกิ จกรรมสั มพั น ธ์ ใ นรูปของสมาชิ ก /ชุ ม ชน/
สมาคม
8.2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
7
ส่วนที่ 2
คู่มือประกันคุณภาพเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ระดับหลักสูตร เวอร์ชั่น 3.0
1. บทนารูปแบบการประกันคุณภาพเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
1.1 การประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษา
คุณ ภาพของการศึ ก ษาระดั บอุ ด มศึ ก ษานั้ น ไม่ ใช่ เป็ น เพี ยงความเข้าใจเกี่ ยวกั บคุ ณ ภาพทาง
วิชาการเพี ยงมิ ตเิ ดียวเท่ านั้ น ต้ องมีมุ มมองด้ านความต้ องการและความคาดหวัง ที่หลากหลายของผู้ มี
ส่วนได้สว่ นเสีย คุณภาพของการศึกษาระดับอุดมศึกษา สามารถกล่าวได้ว่าเป็นนิยามที่มีหลากหลายมิติ
ปฏิ ญ ญาโลกว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งการศึ ก ษาระดั บอุ ด มศึ ก ษาในศตวรรษที่ 21: วิ สั ยทั ศ น์ แ ละการ
ด าเนิ น งาน (ตุ ล าคม 2541) บทความที่ 11 กล่ า วว่ า การประเมิ น เชิ ง คุ ณ ภาพ ค านึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพใน
การศึ ก ษาระดั บอุด มศึ ก ษาแบบหลากหลายมิ ติ ซึ่ งหมายรวมถึ ง ภารกิ จและกิ จกรรม การสอนและ
หลักสู ตร การทาวิจัยและความเชี่ ยวชาญด้านวิช าการ การทางานร่วมกับผู้อื่ น ผู้ เรียนอาคาร สิ่งอ านวย
ความสะดวก อุปกรณ์ การให้บริก ารแก่ ชุม ชนและสิ่ งแวดล้อ มทางด้านวิ ชาการซึ่ งการประเมิ น ตนเอง
ภายในและการตรวจสอบจากภายนอกอย่ า งเปิ ด เผยโดยผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิ อิ ส ระรวมถึ ง ผู้ เชี่ ยวชาญชาว
ต่างประเทศหากเป็ นไปได้ เป็นสิ่งสาคัญในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการประกันคุ ณภาพการศึก ษา
ในการพั ฒ นา การปฏิ บัติ งาน การให้ การสนั บสนุ น และการปรั บปรุ งระดั บคุณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บอุ ดมศึ ก ษานัน้ สถาบั น จาเป็ น ต้ องมี ก ารวางระบบการประกั น คุ ณ ภาพ The Regional Report of
Asia and the Pacific (ยู เนสโก, 2003 b) ให้ คาจากัด ความของการประกันคุ ณภาพในระดับอุดมศึก ษาไว้
ว่ า เป็ น “ ขั้ น ตอ นการจั ด การและประเมิ น อ ย่ า ง มี ระบบเพื่ อ คว บคุ ม ดู แ ลผลง านขอ งสถาบั น
ระดับอุดมศึกษา”
1.2 รูปแบบของ AUN-QA
เครื อ ข่ายมหาวิทยาลั ยอาเซียน หรือ AUN ตระหนัก ถึง ความส าคั ญ ของคุณ ภาพในการศึก ษา
ระดั บอุ ด มศึ ก ษาและคว ามจาเป็ น ในการพั ฒ นาระบบการประกั น คุ ณ ภาพแบบอ งค์ รวมเพื่ อ เพิ่ ม
มาตรฐานทางวิ ช าการความก้ าวหน้า ทางการศึ ก ษา การวิจัยและการให้บริก ารแก่ม หาวิ ทยาลัยที่ เป็ น
สมาชิก ในปี พ.ศ.2541 เครือข่ ายมหาวิ ทยาลั ยอาเซี ยนเสนอแนวคิ ดเกี่ ยวกับเครือ ข่ายประกั นคุ ณ ภาพ
ของมหาวิ ทยาลั ยในอาเซี ยนซึ่ ง น าไปสู่ ก ารพั ฒ นารู ปแบบขอ งการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาขอ ง
เครื อ ข่ ายมหาวิ ทยาลั ยอ าเซี ย น ตั้ ง แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา เครื อ ข่ า ยประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาขอ ง
มหาวิ ทยาลั ยอาเซี ยนได้ ทาการสนั บสนุ น พั ฒ นา และประยุ ก ต์ ใช้ แ นวปฏิ บัติ เกี่ ยวกั บการประกั น
คุณ ภาพการศึ กษาโดยใช้แ นวทางเชิ งประจั กษ์ ผ่านการทดสอบ ประเมิน ปรั บปรุงและเผยแพร่ ทั้งนี้ ใน
ภาพที่ 1 แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเครือข่าย AUN-QA และพัฒนาการการประกันคุณภาพ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
8
ภาพที่ 1. 1 พัฒนาการของเครือข่าย AUN-QA
รูปแบบของ AUN-QA สาหรับการศึกษาระดับอุด มศึก ษาประกอบไปด้ว ยมิติ ทางกลยุ ทธ์ ระบบยุทธวิธี
(ดูภาพ 1.2) ซึ่งมีความจาเป็นทั้งการประเมิ นคุณภาพภายในและภายนอก
ภาพที่ 1.2 รูปแบบของ AUN-QA ระดับอุดมศึกษา
การประกัน คุ ณ ภาพภายในนั้ นเป็น การให้ ความมั่น ใจว่ าสถาบั น ระบบหรื อ หลั กสู ต รมี นโยบาย
และกลไกที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์แ ละมาตรฐานของตนเอง
การประกั นคุ ณภาพภายนอกดาเนิน การโดยองค์ กรหรื อบุ คคลจากภายนอกสถาบัน ผู้ประเมิ น
จะประเมิ นการด าเนิ นงานของสถาบั น ระบบหรื อหลักสู ตรเพื่ อตั ดสินว่ าตรงกั บมาตรฐานที่ ได้ แจ้ งไว้หรือไม่
รูปแบบของ AUN-QA สามารถปรั บใช้ไ ด้กั บมหาวิ ทยาลัยในอาเซี ยน ซึ่ง เป็ นแนวทางเดี ยวกั บ
กรอบประกันคุณภาพทั้ง ในระดับภูมิภ าคและระดั บนานาชาติ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
10
1.2.1 รูปแบบของ AUN-QA ระดับสถาบัน
กลยุทธ์การประกันคุณภาพระดั บสถาบันประกอบด้วยเกณฑ์ 11 ข้อ ตามที่ปรากฏในภาพ 1.3
ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
พันธกิจ
นโยบายและแผน
การจัดการ
เป้าหมาย
งานวิจัย
บุคลากร
เป้าประสงค์
กิจกรรมการ
เรียนการสอน
ผลสั
มฤท
ธิ์
งานบริการ
วิชาการ
ทุนทรัพย์
การประกันคุณภาพและเกณฑ์มาตรฐานระดับ (นานา) ชาติ
ภาพ 1.3 รูปแบบ AUN-QA ระดับสถาบัน
การประกันคุ ณภาพเชิงกลยุทธ์ระดับสถาบั นเริ่ม ต้นด้ว ยความต้องการของผู้มี ส่วนได้สว่ นเสียซึ่ ง
ถ่ ายทอ ดมาสู่ วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ เป้ า หมาย เป้ า ประสงค์ แ ละวั ต ถุ ประสง ค์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง
หมายความว่ า การประกัน คุณ ภาพและการประเมิ นคุ ณ ภาพจะเริ่ มต้ นด้ วยพั นธกิจและเป้ าหมาย (แถว
ที่ 1) และจะสิน้ สุดด้วยผลสัมฤทธิ์เพื่อ ความพึง พอใจของผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสียเสมอ (แถวที่ 4)
ข้อความในภาพที่ 1.3 แสดงให้เห็นวิธีการที่มหาวิทยายาลัยวางแผนเพื่อ ให้ บรรลุ เป้ าหมาย
การถ่ายทอดเป้าหมายเป็น เอกสารเชิงนโยบายและกลยุ ทธ์เชิงนโยบาย
 โครงสร้างและรูปแบบการจัดการของมหาวิทยาลั ย
 การจัดการทรัพยากรบุคคล การสนับสนุนบุคลากรให้ บรรลุ เป้ าหมาย และ
 การจัดหาเงินทุนเพื่อให้บรรลุ เป้ าหมายที่ตั้ง ไว้
แถวที่ 3 แสดงถึงกิจกรรมหลักของมหาวิทยาลั ย
 กิจกรรมการเรียนการสอน
 การวิจัย
 การให้บริการแก่สังคมและการสนั บสนุน และพั ฒนาแก่ชุมชน
เพื่ อให้เกิด การพั ฒ นาอย่างต่ อ เนื่ อง สถาบั น ควรน าระบบประกั นคุ ณ ภาพที่ มีประสิ ทธิ ภ าพไปใช้
และวัดเปรียบเทียบสมรรถนะของการปฏิบัตงิ านเพื่อให้บรรลุ ความเป็น เลิศ ทางการศึก ษา
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
11
1.2.2 รูปแบบ AUN-QA สาหรับระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA)
รูปแบบ AUN-QA สาหรับระบบประกัน คุณภาพภายใน (รูปที่ 1.4) ประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
 กรอบการประกันคุณภาพภายใน
 เครื่องมือติดตามตรวจสอบ
 เครื่องมือวัดและประเมินผล
 กระบวนการประกันคุณภาพพิ เศษ เพื่อใช้ในกิจกรรมเฉพาะทาง
 เครื่องมือการประกันคุณภาพเฉพาะทาง
 กิจกรรมติดตามผลเพื่อการปรั บปรุง
การประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือตรวจสอบ
ความก้าวหน้า
ของผู้เรียน
อัต ราการส าเร็จการศึกษา
และอัต ราการตกออก
ข้อมูล ป้อนกลับจาก
ตลาดแรงงานและศิษย์เก่า
ผลงานวิจัย
เครื่องมือวัดประเมินผล
การประเมินผู้เรียน
การประเมินรายวิชา
และหลักสูตร
การประเมินงานวิจัย
การประเมินผลการ
บริการวิชาการ
กระบวนการประกัน
คุณภาพพิเศษ
การประเมินประกัน
ผู้เรียน
บุค ลากรประกัน
คุณภาพ
สิ่งอานวยความสะดวก
การประกันคุณภาพ
การสนับสนุนการ
ประกันคุณภาพของ
ผู้เรียน
กระบวนการประกัน
คุณภาพเฉพาะทาง
การวิเคราะห์
จุดแข็งจุดอ่อน
ผู้ตรวจสอบ
จากสถาบันอื่น
ระบบสารสนเทศ
คู่มือคุณภาพ
การติดตามผล
ภาพ 1.4 รูปแบบ AUN-QA ระบบประกันคุณภาพภายใน
ระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายในเป็ น ภาพรวมของระบบ แหล่ง ทรั พ ยากรและข้ อ มูล ซึ่ ง เอื้ อ
ให้ กับการจัด เตรี ยม ดู แ ล และปรั บปรุ งคุ ณ ภาพและมาตรฐานการสอน ประสบการณ์ การเรียนรู้ข อง
ผู้เรี ยน งานวิ จัย และการบริ การชุ ม ชน ระบบนี้เป็น ระบบที่ กลไกการประกั น คุณ ภาพมี ไว้ เพื่ อดู แ ลและ
เพิ่มประสิทธิภาพระดับของการประกันคุ ณภาพในการศึกษาระดับอุ ดมศึก ษา
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
12
1.2.3 รูปแบบ AUN-QA ระดับหลักสูตร
รูป แบบ AUN-QA ระดั บหลั ก สู ต รมุ่ ง เน้ น ไปที่ คุ ณ ภาพขอ งกิ จกรรมทางการศึ ก ษาตามมิ ติ
ดังต่อไปนี้
 คุณภาพของปัจจัยนาเข้า
 คุณภาพของกระบวนการ
 คุณภาพของผลผลิต
การพัฒ นารูปแบบ AUN-QA ระดับหลั กสู ตรเริ่มตั้ งแต่ฉบั บที่ 1 จนถึ งฉบั บที่ 3 ตามภาพที่ 1.5,
1.6, และ 1.7
ความพึงพอใจของผู้มีส ่วนได้ส ่วนเสีย
ผลการ
เรียนรู้ที่
คาดหวั
ข้อกาหนดของ
หลักสูตร
เนือ้ หาของหลักสูตร
การจัดการหลักสูตร
แนวคิดเกี่ยวกับ
การสอน
การประเมิน
ผู้เ รียน
คุณภาพของบุคลากร
คุณภาพของบุคลากรสาย
สนับสนุน
คุณภาพของผู้เ รียน
การให้คาปรึกษาแก่
ผู้เ รียน
สิ่งอานวยความ
สะดวก
การประกันคุณภาพการ
เรียนการสอน
การประเมินผลผู้เรียน
การออกแบบ
หลักสูตร
กิจกรรมการพัฒนา
บุคลากร
ข้อ มูลป้อ นกลับจากผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย
ลักษณะของบัณฑิตทีพ่ ึง
ประสงค์
อัตราการจบการศึกษา
อัตราการตกออก
เวลาในการจบ
การศึกษา
การใช้บัณฑิต
ง
ผลสัมฤ
ทธิ์
การประกัน คุณภาพและเกณฑ์มาตรฐานระดับ (นานา) ชาติ
ภาพ 1.5 รูปแบบของ AUN-QA ระดับหลักสูตร (ฉบับที่1)
ความพึงพอใจของผู้มีส ่วนได้ส ่วนเสีย
ผลการ
เรียนรู้ที่
คาดหวั
ข้อกาหนดของหลักสูตร
คุณภาพของบุคลากรสาย
วิชาการ
โครงสร้างและเนือ้ หาของ
หลักสูตร
คุณภาพของบุคลากรสาย
สนับสนุน
ง
การประกันคุณภาพ
การเรียนการสอน
อัตราการจบ
การศึกษา
กลยุทธ์ในการเรียนการ
สอน
คุณภาพของ
ผู้เ รียน
การสนับสนุนและให้
คาปรึกษาแก่ผู้เรียน
กิจกรรมการพัฒนาบุคลากร
อัตราการตกออก
เวลาในการจบ
การศึกษา
การประเมิน ผู้เรียน
สิ่ง อ านวยความสะดวกและ
โครงสร้างพืน้ ฐาน
ผลสัมฤ
ทธิ์
ข้อมูลป้อนกลับจาก
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การใช้บัณฑิต
การวิจัย
การประกัน คุณภาพและเกณฑ์มาตรฐานระดับ (นานา) ชาติ
ภาพ 1.6 รูปแบบ AUN-QA ระดับหลักสูตร ฉบับที่ 2
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
13
ความต้องการของผู้มีส ่วนได้ส ่วนเสีย
ผลการ
เรียนรู้ที่
คาดหวั
ง
ข้อกาหนดของหลักสูตร
โครงสร้างและเนือ้ หาของ
หลักสูตร
กลยุทธ์ในการเรียนการสอน
การประเมิน ผู้เรียน
คุณภาพของบุคลากร
สายวิชาการ
คุณภาพของบุคลากร
สายสนับสนุน
คุณภาพและการ
สนับสนุนแก่ผู้เรียน
สิ่ง อ านวยความสะดวกและ
โครงสร้างพืน้ ฐาน
ผลสัมฤ
ทธิ์
การเพิ่มประสิทธิภาพของคุณภาพ
ผลผลิต
การประกัน คุณภาพและเกณฑ์มาตรฐานระดับ (นานา) ชาติ
ภาพ 1.7 รูปแบบ AUN-QA ระดับหลักสูตร ฉบับที่ 3
ภาพที่ 1.8 แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตรฉบับที1่ , 2 และ 3
ฉบับที่ 1
ฉบับที่ 2
ฉบับที่ 3
1. เป้าหมายและ
วัตถุประสงค์ของผลการ
เรียนรู้ที่คาดหวัง
1. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2. ข้อกาหนดของหลักสูตร
2. ข้อกาหนดของหลักสูตร
2. ข้อกาหนดของหลักสูตร
3. เนื้อหาของหลักสูตร
4. การจัดการหลักสูตร
3. โครงสร้างและเนื้อหาของ
หลักสูตร
3. โครงสร้างและเนื้อหาของ
หลักสูตร
5. แนวคิดเกี่ยวกับการสอน
และกลยุทธ์ในการเรี ยน
4. กลยุทธ์ในการเรียนการสอน
4. กลยุทธ์ในการเรียนการสอน
6. การประเมินผู้เรียน
5. การประเมินผู้เรียน
5. การประเมินผู้เรียน
7. คุณภาพของบุคลากร
6. คุณภาพของบุคลากรสาย
วิชาการ
6. คุณภาพของบุคลากรสาย
วิชาการ
8. คุณภาพของบุคลากร
สายสนับสนุน
7. คุณภาพของบุคลากรสาย
สนับสนุน
7. คุณภาพของบุคลากรสาย
สนับสนุน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
14
ฉบับที่ 1
ฉบับที่ 2
ฉบับที่ 3
9. คุณภาพของผู้เรียน
8. คุณภาพของผู้เรียน
10. การให้คาปรึกษาและ
การสนับสนุนผู้เรียน
9. การให้คาปรึกษาและการ
สนับสนุนผู้เรียน
8. คุณภาพของผู้เรียนและการ
สนับสนุน
9. สิ่งอานวยความสะดวก
และโครงสร้างพืน้ ฐาน
11. สิ่งอานวยความสะดวก
และโครงสร้างพืน้ ฐาน
12. การประกันคุณภาพการ
สอนและกระบวนการการ
เรียนรู้
13. การประเมินผลผู้เรี ยน
10. สิ่งอานวยความสะดวก
และโครงสร้างพืน้ ฐาน
10. การเพิ่มประสิทธิภ าพ
ของคุณภาพ
11. การประกันคุณภาพการสอน
และกระบวนการการเรียนรู้
11. ผลผลิต
14. การออกแบบหลักสูตร
15. กิจกรรมพัฒนาบุคลากร 12. กิจกรรมพัฒนาบุคลากร
16. ข้อมูลป้อนกลับจากผู้มี 13. ข้อมูลป้อนกลับจากผู้มีสว่ นได้
ส่วนได้สว่ นเสีย
ส่วนเสีย
17. ผลผลิต
14. ผลผลิต
18. ความพึงพอใจของผู้มี
ส่วนได้สว่ นเสีย
15. ความพึงพอใจของผู้มีสว่ นได้
ส่วนเสีย
ภาพที่ 1.8 ความเปลี่ยนแปลงของเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
15
2. รูปแบบ AUN-QA ระดับหลักสูตร
รูปแบบการประกัน คุณ ภาพตามเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลั กสู ตร (ภาพ 2.1) เริ่ม ต้น ด้ว ยความ
ต้อ งการของผู้ มีส่ ว นได้ส่ วนเสี ย ความต้อ งการเหล่านี้น าไปสู่ ก ารสร้ างเป็น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ซึ่ ง
เป็นสิ่ งที่ ขับเคลื่อ นหลักสู ตร ข้อ มูล 4 แถวในช่วงกลางของรูปแบบและข้อ มูล ในแถวที่ 1 น าไปสู่คาถาม
เกี่ ยวกั บวิ ธี ก ารน าผลการเรียนรู้ที่ ค าดหวั ง ไปใส่ ใ นหลั ก สู ต ร และวิ ธี ก ารที่ จะท าให้ ผ ลการเรี ยนรู้ ที่
คาดหวังนัน้ จะบรรลุผลได้โดยการใช้กลยุ ทธ์ก ารเรี ยนการสอนและการประเมินผู้เรี ยน
ข้อ มูล ในแถวที่ 2 แสดงถึ ง “ปั จจั ยน าเข้า ” ในกระบวนการ ไม่ ว่ าจะเป็ น บุค ลากรสายวิช าการ
และบุ คลากรสายสนั บสนุ น คุ ณภาพและการให้ก ารสนั บสนุ นผู้เรียน รวมถึ งสิ่ง อานวยความสะดวกและ
โครงสร้างพืน้ ฐาน
ในแถวที่ 3 เป็น ข้อ มู ลเกี่ยวกั บการเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพของคุ ณ ภาพหลั กสู ตร ครอบคลุ มถึ งการ
ออกแบบและการพั ฒ นาหลั ก สูต ร การเรี ยนการสอน การวัด และประเมิน ผลผู้ เรี ย นคุ ณ ภาพของการ
ให้บริการสนับสนุนและสิ่งอ านวยความสะดวกตลอดจนข้อมูล ป้อนกลับของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
ข้อมู ลแถวที่ 4 เน้นที่ เรื่อ งของผลผลิต ของหลั กสูต ร รวมถึงอั ตราการส าเร็จการศึก ษาและการ
ตกออก ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช้ ในการส าเร็ จการศึ กษา การใช้ งานบัณ ฑิต การวิจัยและความพึ งพอใจของ
ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
ข้อมูล ในแถวสุด ท้ายกล่าวถึงการบรรลุผลการเรี ยนรู้ ที่คาดหวัง และหลักสู ตรรูปแบบของ AUNQA นี้ส้นิ สุ ดที่การบรรลุความต้องการของผู้มีส่ วนได้ส่ วนเสี ยและการพัฒ นาอย่ างต่อ เนื่องของระบบการ
ประกันคุณภาพและเกณฑ์ม าตรฐานเพื่อแสวงหาระเบียบปฏิบั ตทิ ี่ดี ที่สุด
ความต้องการของผู้มีส ่วนได้ส ่วนเสีย
ผลการ
เรียนรู้ที่
คาดหวั
ง
ข้อกาหนดของหลักสูตร
โครงสร้างและเนือ้ หาของ
หลักสูตร
กลยุทธ์ในการเรียนการสอน
การประเมิน ผู้เรียน
คุณภาพของบุคลากร
สายวิชาการ
คุณภาพของบุคลากร
สายสนับสนุน
คุณภาพและการ
สนับสนุนแก่ผู้เรียน
สิ่ง อ านวยความสะดวกและ
โครงสร้างพืน้ ฐาน
ผลสัมฤ
ทธิ์
การเพิ่มประสิทธิภาพของคุณภาพ
ผลผลิต
การประกัน คุณภาพและเกณฑ์มาตรฐานระดับ (นานา) ชาติ
ภาพ 2.1 รูปแบบของ AUN-QA ฉบับที่ 3
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
16
รูปแบบของ AUN-QA ในฉบับที่ 3 ในระดับหลักสูตรประกอบไปด้วยเกณฑ์ 11 ข้อ ดังต่อไปนี้
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2. ข้อกาหนดของหลักสูตร
3. โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสู ตร
4. กลยุทธ์ในการเรียนการสอน
5. การประเมินผู้เรียน
6. คุณภาพของบุคลากรสายวิชาการ
7. คุณภาพของบุคลากรสายสนับสนุน
8. คุณภาพและการให้การสนั บสนุนผู้ เรี ยน
9. โครงสร้างพืน้ ฐานและสิ่งอานวยความสะดวก
10. การเพิ่มประสิทธิภ าพของคุณ ภาพ
11. ผลผลิต
ข้อ กาหนดของเกณฑ์ AUN-QA ในแต่ ล ะข้ อนั้ นจะแสดงอยู่ ในตาราง เพื่ อ ความสะดวกในการ
นาไปปฏิบัติ และการประเมิ น มีก ารแตกรายละเอียดของเกณฑ์ ตา่ ง ๆ เป็น เกณฑ์ย่อ ยตัว เลขในวงเล็ บ [ ]
ในเกณฑ์ ย่อยบอกถึง ข้อ ความที่ ต รงกับในตาราง มีค าอธิ บายคาสาคัญ ที่ ส ามารถน าไปใช้ไ ด้ รวมถึ ง มี
คาถามวิ นจิ ฉัยและแหล่ง ข้อ มูล ให้ ผู้ปฏิ บัติ งานด้ วย ส าหรับเกณฑ์ ย่อยในการประเมิ น AUN-QA ระดั บ
หลักสูตรจะแสดงอยู่ในภาคผนวก ก
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
17
ความสัมพันธ์ของเกณฑ์คุณภาพ AUN QA
AUN-QA
Criterion
1
2
3
4
5
2.1
3.1
4.2
5.1
6
7
8
9
10
11
1.1
1
1.2
10.1
6.4
2.2
3.2
2.1
3.1
2.2
3.2
2.3
3.3
2.1
3.1
4.3
11.5
5.3
10.3
1.3
5.1
1.1
2
1.2
1.1
3
1.2
4.2
5.2
6.4
8.4
5.3
5.1
4.2
2.2
3.2
2.3
3.3
4.3
10.2
5.2
6.4
10.3
1.1
2.1
9.1
3.1
9.2
4.2
1.2
2.2
11.5
5.3
4.1
4
11.5
5.1
6.4
8.5
3.2
10.3
11.5
10.3
11.5
9.3
4.3
9.4
5.1
2.1
1.1
5
5.2
3.1
4.1
3.2
4.2
2.2
1.2
5.3
2.3
8.3
6.4
8.4
5.4
8.5
5.5
6.1
6.2
5.1
1.1
6
1.2
2.3
3.1
4.1
3.2
4.2
3.3
4.3
5.2
6.4
5.3
1.3
9.1
10.1
8.3
9.2
10.3
11.4
8.4
9.3
10.4
11.5
9.4
10.6
6.3
6.5
5.4
6.6
6.7
7.1
9.1
7.2
9.2
10.1
9.3
10.5
7.4
9.4
10.6
7.5
9.5
7.3
7
4.1
5.2
8.5
8.1
9.1
10.1
8.2
9.2
10.3
8.3
9.3
10.4
7.3
8
2.3
4.2
5.3
4.3
5.4
6.4
11.5
11.4
7.5
11.6
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
18
AUN-QA
Criterion
1
2
3
4
5
6
7
5.5
8
9
10
8.4
9.4
10.5
8.5
9.5
10.6
7.1
9.1
7.2
9.2
4.2
6.7
9
7.3
8.5
11
10.5
11.4
10.6
11.5
9.3
4.3
7.4
9.4
7.5
9.5
10.1
5.1
9.1
10.2
3.1
4.1
5.2
3.2
4.2
5.3
3.3
4.3
5.4
8.3
9.2
8.4
9.3
8.5
9.4
10.3
10
1.3
6.7
7.3
10.4
11.5
10.5
5.5
9.5
10.6
6.1
9.1
6.2
7.2
6.3
7.3
6.4
7.4
6.5
7.5
5.2
4.2
11
1.3
2.3
3.3
8.3
5.4
4.3
9.2
11.2
10.5
8.4
5.5
11.1
9.3
11.3
10.6
8.5
9.4
11.4
9.5
11.5
6.6
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
19
2.1 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Expected Learning Outcomes)
เกณฑ์คุณภาพที่ 1
1. การก าหนดผลการเรี ย นรู้ ที่ ค าดหวั ง ต้ อ งสะท้ อ นถึ ง วิ สั ยทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ขอ ง
มหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาและบุคลากรจะต้องทราบถึงวิสัยทัศน์และพัน ธกิจของมหาวิ ทยาลัยด้วย
2. หลั กสู ตรแสดงผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวัง จากบัณ ฑิต ที่ส าเร็ จการศึ กษา โดยทุ กรายวิ ชาใน
หลั กสู ตรควรออกแบบมาให้ต อบสนองต่ อผลการเรียนรู้ ที่ค าดหวั ง และต้ องสอดคล้อ งกั บผลการ
เรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร
3. หลั ก สู ต รมี ผ ลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวั ง ครอบคลุ ม ทั้ ง ความรู้ แ ละทั ก ษะเฉพาะทาง (ที่
เกี่ยวข้อ งกับความรู้ ในสาขาวิช า) รวมถึงความรู้แ ละทั กษะทั่ วไป (บางครั้งเรี ยกว่าทั กษะที่จาเป็ นต่ อ
การทางาน) ที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บสาขาวิ ช าอื่ น ๆ เช่ น การเขี ยน การพู ด การแก้ ปัญ หา เทคโนโลยี
สารสนเทศ ทักษะการทางานเป็นที ม เป็นต้น
4. หลั ก สูต รกาหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวั งไว้อ ย่างชั ดเจน และสะท้ อนถึ งความต้อ งการ
ของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
เกณฑ์คุณภาพที่ 1 – เกณฑ์ย่อย
1
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1
2
3
4
5
6
7
การก าหนดผลการเรียนรู้ที่ค าดหวังมี ความ
ชัดเจนและสอดคล้ องกับวิสัยทั ศน์และพัน ธ
กิจของมหาวิทยาลัย [1,2]
1.2 ผลการเรี ยนรู้ ที่ ค าดหวั ง ครอ บคลุ ม ทั้ ง
ความรู้ และทั กษะทั่ วไป รวมถึ งความรู้ และ
ทักษะเฉพาะทาง [3]
1.3 ผลการเรียนรู้ ที่ค าดหวั ง สะท้ อ นถึ ง ความ
ต้ อ ง การขอ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ยอ ย่ า ง
ชัดเจน [4]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
1.1
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
20
คาอธิบาย
การศึ ก ษาที่มุ่ ง ผลลั พธ์ (Outcomes-based education – OBE) หมายถึง การออกแบบหลัก สู ต ร
บนพื้ น ฐานของผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวั ง และจะบรรลุ ผ ลเมื่ อ ผู้ เรี ยนส าเร็ จหลั ก สู ต รการศึ ก ษาที่ มุ่ ง
ผลลัพ ธ์นจี้ ะมุ่งเน้ นที่ผ ลลัพ ธ์ของการเรียนเป็ นสาคัญ โดยมีค วามรู้ ทัก ษะ เจตคติ และอุปนิสั ยในการคิ ด
สิ่ง ที่ผู้ เรี ยนถู กคาดหวัง ให้ เรี ยนจะมี การระบุ ไว้ อ ย่างชั ดเจนและแสดงออกมาในรู ปของผลการเรี ยนรู้ ที่
คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่ค าดหวั ง นัน้ เกิ ดจากความต้อ งการของผู้ มีส่ ว นได้ส่ ว นเสียซึ่ งน าไปสู่ ก ารสร้ า ง
หลั ก สูต ร ทั้ งนี้ ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวั งจะยึ ด ผลส าเร็จของผู้เรียนเป็น หลัก มากกว่ าจุ ดมุ่ ง หมายของ
ผู้สอนที่ มัก จะเขียนในรูปของเป้าหมาย เป้าประสงค์หรือวั ตถุ ประสงค์ข องหลัก สูต ร นอกจากนี้ ผลการ
เรี ยนรู้ ค วรจะเขี ยนในสิ่ ง ที่ ก ระบวนการเรี ยนการสอนจะสามารถทาให้ เกิ ด ผลลั พ ท์ ที่สั งเกตและวั ด
ประเมินได้
คาถามวินจิ ฉัย
- วัตถุประสงค์ของหลักสูตรคืออะไร
- ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูต รคืออะไร
- หลักสูตรมีวิธีกาหนดผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังอย่างไร
- ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังสะท้อนวิสั ยทั ศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลั ย คณะ หรือภาควิชาหรือไม่
- ตลาดแรงงานมีสว่ นช่วยในการกาหนดคุณลั กษณะบั ณฑิตที่ พึงประสงค์ หรือ ไม่
- เนื้อหาของหลักสูตรมีความสอดคล้องกับตลาดแรงงานมากน้อ ยเพียงใด
- หลักสูตรได้ระบุถึงความสามารถที่จาเป็น ในงาน (Job profile) ไว้อย่างละเอียดหรือไม่
- บุคลากรและนักศึกษารับรู้ผลการเรี ยนที่คาดหวังได้อ ย่างไร
- ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังสามารถวัด ประเมิน ผลและบรรลุ ได้หรือไม่ อย่างไร
- ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวังได้ มากน้อ ยเพียงใด
- มีการทบทวนผลการเรี ยนรู้ที่ค าดหวัง เป็น ระยะหรือ ไม่
- ผลการเรี ยนรู้ ที่คาดหวัง น าไปสู่ก ารก าหนดคุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค์ อ ย่างไร (เช่ น
ความรู้ ทักษะ เจตคติ และอุปนิสัยในการคิด)
แหล่งข้อมูล
 ข้อกาหนดของหลักสูตรและรายละเอี ยดของวิชา
 เอกสารประชาสัมพันธ์หลักสูตรและเล่ม หลักสูต ร
 เมทริกซ์แสดงทักษะ (Skills Matrix)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
21
 เอกสารแสดงความเห็นจากผู้มี ส่วนได้สว่ นเสี ย
 เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยและคณะ
 รายงานการประชุมและเอกสารที่ เกี่ยวข้องกั บการทบทวนหลักสูต ร
 รายงานการรับรองมาตรฐานและการเปรียบเทียบ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
22
2.2 ข้อกาหนดของหลักสูตร
เกณฑ์คุณภาพที่ 2
1. มหาวิทยาลัยควรมีก ารสื่ อสาร เผยแพร่ข้อ กาหนดของหลัก สูตรและรายละเอี ยดของวิช า
รวมถึงข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักสูต รทุก หลักสูต ร เพื่อให้ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียได้รับรู้
2. ข้อกาหนดของหลักสูต รและรายละเอียดของวิชาต้ องแสดงถึ งผลการเรี ยนรู้ที่ค าดหวัง ซึ่ ง
ประกอบไปด้วย ความรู้ ทั กษะ และเจตคติ ซึ่งช่ วยให้ผู้ เรียนเข้ าใจถึงกระบวนการการเรี ยนการสอน
ที่ทาให้บรรลุผ ลการเรียนรู้ วิธีก ารวัด ประเมิน ผลที่ แสดงถึง การบรรลุ ผล รวมไปถึง ความสัม พัน ธ์ของ
หลักสูตรและองค์ประกอบในการเรี ยน
เกณฑ์คุณภาพที่ 2 - เกณฑ์ย่อย
2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1
2
3
4
5
6
7
2.1
ข้อ ก าหนดของหลั ก สู ต รมี ค วาครอบคลุ ม
และทันสมัย [1, 2]
2.2 รายละเอี ยดของวิช ามี ความครอบคลุ มและ
ทันสมัย [1,2]
2.3 ผู้มี ส่ ว นได้ ส่ วนเสียสามารถเข้ าถึ ง และรั บรู้
ข้ อ ก าหนดของหลั ก สู ต รและรายละเอี ย ด
ของวิชา [1, 2]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
ข้อกาหนดของหลักสูตร หมายถึง ชุดเอกสารที่แสดงถึงหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปด้วย
 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรโดยสรุ ปและผลลัพธ์ ที่ค าดหวัง
 โครงสร้างรายวิชา
 เมทริกซ์ที่แสดงวิธีการที่ทาให้ผลการเรี ยนรู้ของหลักสูต รบรรลุเป้าหมายโดยผ่ าน
รายวิชา และ
 รายละเอียดของรายวิชาต่ าง ๆ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
23
ข้อกาหนดของหลักสูตร มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
 เป็น แหล่ งข้ อมู ลให้ผู้ เรี ยนในปัจจุบัน รวมถึ งผู้ ที่ค าดว่ าจะรั บเข้ าศึ ก ษาได้ ทาความเข้ าใจ
เกี่ยวกับหลักสูตร
 เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล ให้ ผู้ ใ ช้ บัณ ฑิ ต เกี่ ยวกั บความรู้ และทั ก ษะที่ จาเป็ น ต่ อ การทางานที่
หลักสูตรพัฒนาขึน้
 ช่วยหน่ว ยงานรั ฐบาลและองค์ก รวิช าชี พในการรับรองคุณ ภาพของหลั กสู ตรที่ สามารถ
น าไปสู่ เนื้ อ หาที่ เกี่ ยว ข้ อ งวิ ช าชี พ ดั ง นั้ น ข้ อ ก าหนดของหลั ก สู ต รจึ ง ควรระบุ ถึ ง
องค์ประกอบต่างๆ ทีห่ ลั กสูตรก าหนดขึน้ เพื่ อให้บรรลุข้อ กาหนดของหน่วยงานต่ าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง
 ให้ ส ถาบั น และคณาจารย์ผู้ ส อนใช้ เป็ น แนวทางในการแลกเปลี่ ยนความเห็ น และผล
สะท้อ น เกี่ ยวกั บหลั กสู ตรใหม่ และหลั กสู ตรปั จจุ บัน นอกจากนี้ ยัง เป็ น การรั บรองว่ า
ทุกคนมี ความเข้าใจตรงกั นเกี่ ยวกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลัก สูต รมหาวิ ทยาลั ย
สามารถใช้ ข้ อก าหนดของหลั ก สูต รเป็ น สิ่ง ยื น ยัน ว่ าผู้ อ อกแบบหลัก สู ต รทุ ก คนเข้าใจ
เกี่ ยวกั บ ผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวั ง อย่ างชั ด เจนและรู้ว่ าจะท าให้ บ รรลุ ผ ลได้ อ ย่ า งไร
รวมทั้ง ยังสามารถใช้เป็น แหล่ งอ้ างอิ ง ส าหรั บการตรวจสอบภายใน รวมถึง การติด ตาม
ผลการดาเนินงานของหลักสูตรอีกด้วย
 เป็ นแหล่ งข้ อ มู ลเพื่ อให้ ผู้ที่มี ค วามรู้ค วามเชี่ยวชาญในสาขาวิ ชานั้ น ๆ และกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกได้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ ที่คาดหวังของหลัก สูตรและ
 เป็ น พื้ น ฐานในการรับข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บจากผู้ เรี ยนหรือ บั ณ ฑิ ต ที่ เพิ่ ง ส าเร็ จการศึ ก ษา
เกี่ยวกับเนื้ อ หาของหลั ก สูต รว่าผู้เรียนและบั ณ ฑิ ต รับรู้ถึ งโอกาสในบรรลุ ผ ลลั พ ธ์ก าร
เรียนรู้ที่ต้องการ ได้มากน้อยเพียงใด
ข้อกาหนดของหลักสูตรประกอบไปด้วยรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้
 สถาบันที่อนุมัติ
 สถาบันที่ทาการสอน (หากแตกต่างจากสถาบันที่อ นุมัต)ิ
 รายละเอียดการรั บรองคุ ณภาพโดยหน่วยงานภายนอก หรือ องค์กรวิชาชีพ
 ชื่อคุณวุฒิ
 ชื่อหลักสูตร
 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูต ร
 เกณฑ์การรับเข้าหรือความต้องการของหลัก สูตร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
24
 การก าหนดกรอบมาตรฐานคุณ วุฒิ ของสาขาวิ ชาที่ เกี่ยวข้องและแหล่ง อ้างอิ งทั้งภายใน
และภายนอกเพื่อใช้ในการให้ข้อ มูลด้านผลการเรียนรู้ของหลักสูต ร
 โครงสร้างหลัก สู ตรและข้ อก าหนดต่ างๆ เช่น ระดับการศึ ก ษา รายวิ ชา และหน่ วยกิ ต
เป็นต้น
 วันที่เขียนหรือปรับปรุงข้อกาหนดของหลัก สูตร
รายละเอียดของวิชา ประกอบไปด้วย
 ชื่อรายวิชา
 ข้อบังคับรายวิชา เช่น รายวิชาบังคับก่อน และ จานวนหน่วยกิต เป็นต้น
 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิชา ในแง่ของความรู้ ทักษะ และเจตคติ
 กลยุทธ์การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลที่ทาให้บรรลุผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวัง
 คาอธิบายรายวิชาและประมวลรายวิชา
 การวัดประเมินผลนักศึกษา
 วันที่เขียนหรือปรับปรุงรายละเอี ยดของวิชา
คาถามวินจิ ฉัย
- หลักสูตรและรายวิชาสะท้อนผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังหรือไม่
- ข้อกาหนดของหลักสูตรและรายละเอี ยดของวิชามีเอกสารประกอบอะไรบ้ าง
- หลักสูตรและรายละเอี ยดของวิชาเป็นมาตรฐานเดี ยวกันหรือไม่
- ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียสามารถรับรู้และเข้าถึงข้อกาหนดของหลัก สูตรได้หรือไม่
- การทบทวนข้อกาหนดของหลักสูตรและรายละเอียดของวิชามีก ระบวนการอย่ างไร
แหล่งข้อมูล
 ข้อกาหนดของหลักสูตรและรายละเอี ยดของวิชา
 เอกสารประชาสัมพันธ์หลักสูตรหรือเล่ม หลักสูต ร
 เมทริกซ์แสดงทักษะ (Skills Matrix)
 เอกสารแสดงความเห็นจากผู้มี ส่วนได้สว่ นเสี ย
 เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยและคณะ
 รายงานการประชุมและเอกสารที่ เกี่ยวข้องกั บการทบทวนหลักสูต ร
 รายงานการรับรองมาตรฐานและการเปรียบเทียบ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
25
2.3. โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร
เกณฑ์คุณภาพที่ 3
1.หลั ก สู ต รกระบวนการจั ด เรี ยนการสอนและวิ ธี ก ารวั ด ประเมิ น ผลนั ก ศึ ก ษามี ค ว าม
เชื่อมโยงและเอือ้ ประโยชน์ใ ห้แก่กัน เพื่อนาไปสู่ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
2.หลั กสูต รถูก ออกแบบมาให้ ตรงกับผลการเรียนรู้ที่ค าดหวัง โดยแต่ละรายวิ ชาในหลัก สูต ร
มีสว่ นช่วยให้หลักสูตรบรรลุผลการเรี ยนรู้ที่ค าดหวัง
3. หลัก สูตรมีก ารจัด เรียงรายวิชาอย่างเป็น ระบบ เป็นลาดับและมีการบู รณาการ (ซึ่ง กันและ
กัน)
4.หลัก สูตรแสดงให้เห็นถึ งความสั มพั นธ์แ ละความก้ าวหน้ าของรายวิ ชาอย่ างชั ดเจนตั้ งแต่
รายวิชาพืน้ ฐาน รายวิชาระดับกลาง ไปจนถึงรายวิชาเฉพาะทาง
5.โครงสร้ างของหลั กสู ต รมี ค วามยื ด หยุ่ น เพื่ อให้ผู้ เรี ยนสามารถเลื อกเรี ยนในสาขาเฉพาะ
ทาง รวมถึงมี การนาเอาสถานการณ์ก ารพั ฒนาและการเปลี่ ยนแปลงในปั จจุบันที่ เกี่ยวข้องกับสาขา
มาปรับเข้ากับหลักสูต ร
6.มี การทบทวนหลัก สูต รเป็น ระยะเพื่ อให้ แน่ ใจว่าหลั ก สูต รมี ความสัม พั นธ์ กัน และทั นสมั ย
อยู่ตลอดเวลา
เกณฑ์คุณภาพที่ 3 – เกณฑ์ย่อย
3
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3.1
3.2
3.3
1
2
3
4
5
6
7
การออกแบบหลั ก สู ต รมีค วามสอดคล้ อ ง
กับผลการเรียนรู้ที่ค าดหวัง [1]
มีก ารก าหนดสั ด ส่ วนที่ เหมาะสม ระหว่ า ง
รายวิ ชาต่ า งๆในหลั ก สู ต รฺเพื่ อ ให้ บรรลุ ผ ล
การเรียนรู้ที่คาดหวัง [2]
หลั ก สู ต รมี ก ารจั ด เรี ยงรายวิ ช าอย่ า งเป็ น
ระบบ มี ก ารบู รณาการและทั น ต่อ ยุ ค สมั ย
[3, 4, 5, 6]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
26
คาอธิบาย
การออกแบบหลั ก สู ต รควรค านึ ง ถึ งกระบวนการจั ด การเรี ยนการสอนและการประเมิ น ผล
นัก ศึก ษาที่ จะช่ว ยให้ผู้ เรี ยนบรรลุ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง Biggs (2003) เรี ยกกระบวนการดัง กล่ าวว่ า
“ความสอ ดคล้ อ งเชิ ง โครงสร้ า ง” (constructive alignment) ค าว่ า “เชิ ง โครง สร้ า ง” (constructive)
หมายถึ ง แนวคิ ด ที่ ว่ า ผู้ เรี ยนจะเกิ ด การเรี ยนรู้ แ ละสร้ า งความหมายได้ โ ดยผ่ า นกิ จกรรมการเรี ยนรู้ ที่
เกี่ยวข้ องกั น ส่ว น “ความสอดคล้อ ง” หมายถึ งสถานการณ์ ที่มีก ารจั ดกระบวนการเรี ยนการสอนและ
การประเมินผลที่สอดคล้องกัน เพื่อให้บรรลุผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวัง
ความสอดคล้องเชิงโครงสร้างในรายวิชาต่างๆ หมายรวมถึง
 การระบุถึงผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวังที่ สามารถวัดผลได้
 การเลือกใช้กระบวนการจั ดการเรียนการสอนที่ นาไปสู่ก ารบรรลุผลการเรี ยนรู้ที่ค าดหวัง
 การประเมินว่านักศึกษาสามารถบรรลุผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังได้ดเี พียงใด
คาถามวินจิ ฉัย
- เนื้อหาของหลักสูตรสะท้อนผลการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือไม่
- มีการออกแบบหลักสูตรอย่างไรเพื่อให้มีความสอดคล้องระหว่างรายวิชาพืน้ ฐานและรายวิชาเฉพาะทาง
- เนื้อ หาของหลักสู ตรมี สัดส่ วนที่ เหมาะสมระหว่างความรู้แ ละทั กษะทั่ว ไปกับความรู้แ ละทั กษะ
เฉพาะทางหรือไม่
- มีการปรับปรุงเนื้อหาของหลักสู ตรให้ ทันสมั ยอย่ างไร
- หลักสูตรเลือกใช้โครงสร้างในปั จจุ บันเพราะอะไร
- ที่ผ่านมา มีการปรับเปลี่ยนแผนการศึก ษาในเชิงโครงสร้ างหรือไม่ หากมี เป็นเพราะอะไร
- หลั กสู ตรส่ งเสริม ให้เกิด ความหลากหลาย การเคลื่อ นย้ายนั กศึ กษา และ/หรือ การศึก ษาข้าม
พรมแดนหรือไม่
- ความสัมพั นธ์ระหว่างรายวิชาพื้ นฐาน รายวิชาระดับกลาง และรายวิชาเฉพาะทางในส่ว นของ
วิชาบังคับและวิชาเลือกมีความสมเหตุสมผลหรือไม่
- การศึกษาตลอดหลักสูตรใช้ระยะเวลาเท่าใด
- แต่ละรายวิชา ใช้ระยะเวลาเรียนและมีความต่อเนื่องกันอย่างไร มีความสมเหตุสมผลหรือไม่
- เกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการออกแบบหลักสูต รและรายวิชาคืออะไร
- หลั ก สู ต รมี วิ ธี ใ นการเลื อ กกลยุ ท ธ์ ก ารเรี ยนการสอนและการประเมิ น ผลอย่ า งไรเพื่ อ ให้
สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
27
แหล่งข้อมูล
 ข้อกาหนดของหลักสูตรและรายละเอี ยดของวิชา
 เอกสารประชาสัมพันธ์หลักสูตรและเล่ม หลักสูต ร
 แผนที่การกระจายความรั บผิดชอบ
 เมทริกซ์แสดงทักษะ
 เอกสารแสดงความเห็นและข้อมูล ป้อนกลั บจากผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
 เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยหรือคณะ
 รายงานการประชุมและเอกสารที่ เกี่ยวข้องกั บการทบทวนหลักสูต ร
 รายงานการรับรองมาตรฐานและการเปรียบเทียบ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
28
2.4. การเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
เกณฑ์คุณภาพที่ 4
1. กลยุทธ์ การเรียนและการสอนเป็น ไปตามปรัช ญาการศึกษาของมหาวิ ทยาลัย ซึ่ง ปรั ชญา
การศึ กษานี้หมายถึง แนวความคิด ในการกาหนดแนวทางการจัด การเรียนการสอนว่ า ผู้เรียนควร
ต้อ งเรี ยนรู้ อะไรบ้ างและเรี ยนรู้ อย่ า งไร นอกจากนี้ ปรั ช ญาการศึ ก ษายั งบอกถึง วั ตถุ ประสงค์ ข อง
การศึกษา บทบาทหน้าที่ของผู้สอน ผู้เรียนรวมทั้งเนื้อหาและกลยุทธ์ ในการสอนด้ว ย
2. ทั้ ง ผู้ เรี ยนและผู้ ส อนเข้ า ใจว่ าการเรี ยนรู้อ ย่ า งมี คุณ ภาพ (Quality learning) ถื อ เป็ น กล
ยุทธ์ในการเรียนซึ่งจะช่วยให้ผู้ เรี ยนเข้าใจและบรรลุผลการเรียนรู้
3. คุณ ภาพของการเรียนรู้ ขึน้ อยู่กับวิธี การเรียน แนวคิ ดที่ผู้ เรียนมี ตอ่ การเรียน กลยุทธ์ การ
เรียนที่ผู้เรียนเลือกใช้ รวมถึงความเข้าใจเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ของตนเอง
4. การเรี ยนรู้ ที่มี คุณ ภาพให้ ค วามส าคั ญ ต่ อ หลัก การเรียนรู้ กล่ า วคือ ผู้เรียนจะสามารถ
เรียนรู้ได้ดี เมื่อ รู้สกึ ผ่อนคลาย อยู่ในสภาพแวดล้อ มที่เอือ้ ต่ อการเรียนรู้ และมีการจัดการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือร่วมคิด
5. ผู้สอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนส านึกถึงความรั บผิดชอบต่อการเรี ยน โดย
ก. สร้ า งสภาพแวดล้ อ มในการเรี ย นการสอนที่ เอื้ อ ให้ ผู้ เรี ยนแต่ ล ะคนมี ส่ ว นร่ ว มต่ อ
กระบวนการเรียนรู้ และ
ข. มี ห ลั ก สู ต รที่ ยืด หยุ่ น และเอื้ อ ให้ ผู้ เรี ยนสามารถเลื อ กเนื้ อ หารายวิ ช า แผนการศึ ก ษา
กลวิธีในการประเมินผล รูปแบบและระยะเวลาในการเรี ยนได้
6. กลยุ ทธ์ ก ารเรี ยนการสอนควรมี ส่ ว นช่ ว ยสนั บสนุ น ให้ ผู้ เรี ยนเกิ ด การเรี ยนรู้ รู้จัก วิ ธี
แสวงหาความรู้ และปลูกฝั งให้ผู้ เรียนเกิดการเรี ยนรู้ต ลอดชีวิต (เช่น การตั้ งค าถามอย่างสร้างสรรค์
มีทักษะในการรับและใช้ข้อมู ล การนาเสนอแนวความคิดใหม่ ๆและลงมือปฏิบัติ เป็นต้น)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
29
4
เกณฑ์คุณภาพที่ 4 – เกณฑ์ย่อย
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1
2
3
4
5
6
7
4.1 ปรั ช ญาการศึ ก ษามี ค วามชั ด เจนและมี ก าร
เผยแพร่ให้ผู้มีสว่ นได้เสียสามารถได้รับรู้ [1]
4.2 กิจกรรมการเรี ยนการสอนมี ค วามสอดคล้ อ ง
กั บการบรรลุ ผ ลส าเร็ จตามผลการเรี ยนรู้ ที่
คาดหวัง [2, 3, 4,5]
4.3 กิจกรรมการเรี ยนการสอนกระตุ้ น ให้ เกิด การ
เรียนรู้ตลอดชีวิต [6]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
เพื่อ ให้เป็ นไปตามวัต ถุประสงค์ข องการศึกษาในระดั บอุ ดมศึกษา ทั กษะที่จาเป็ น ต่อ การเรียนรู้ ที่
มีคุณภาพ ได้แก่
- ความสามารถในการค้ นคว้ าหาความรู้ดว้ ยตัว เอง โดยผู้ เรียนต้อ งมีทักษะด้านการทางานวิจัย
ความสามารถในการวิ เคราะห์ และสั งเคราะห์ข้อ มูล ที่ค้ นคว้ามาได้ นอกจากนี้ ผู้เรียนต้อ งรู้แ ละสามารถ
เลือกใช้กลยุทธ์ในการเรียนได้อย่ างเหมาะสม
- ความสามารถในการคงความรู้ ไ ว้ ใช้ ในระยะยาว มี ก ลยุ ทธ์ ในการเรี ยนที่ เน้ น การสร้ า ง
ความหมายมากกว่าการท่องจา
- ความสามารถในการเชื่ อมโยงความสัม พั น ธ์ระหว่ างความรู้เก่า และความรู้ใหม่ เข้ า ด้ว ยกั น
การเรียนรู้ที่หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมข้อ มูลจากแหล่งต่างๆเข้ าด้วยกัน ได้
- ความสามารถในการสร้ า งองค์ ค วามรู้ ใ หม่ ผู้ เรียนที่ มี คุ ณ ภาพจะต้ อ งรู้ เท่ า ทั น ผู้ อื่ น และ
สามารถเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ของตนอัน จะน าไปสู่การสร้ างองค์ความรู้ ใหม่
- ความสามารถในการประยุกต์ใช้ ความรู้เพื่อแก้ปัญ หาต่ างๆ
- ความสามารถในการถ่ ายทอดความรู้ให้แก่ ผู้อื่ น ผู้เรี ยนที่มี คุณ ภาพสามารถสร้างและพิ สูจน์
แนวความคิดและการกระทาของตนด้วยวิธีการที่ชัดเจน
- ความกระตือ รือ ร้นในการหาความรู้เพิ่ มเติม ผู้เรียนที่มี คุณ ภาพเป็นผู้ ใฝ่ รู้ต ลอดชีวิ ต (lifelong
learners)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
30
ปัจจัยสาคัญในการสร้างผู้เรี ยนที่ มีคุณ ภาพ
- การเรี ยนรู้ ที่มี คุ ณ ภาพจะเกิ ด ได้ เมื่ อ ผู้ เรี ยนมี ค วามพร้ อ ม ทั้ ง ด้ า นสติ ปัญ ญาและอารมณ์
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการเรี ยน
- การเรียนรู้ที่มีคุณภาพจะเกิ ดได้ เมื่อผู้เรี ยนมี จุดมุ่ง หมายในการเรียน
- การเรียนรู้ที่มีคุณภาพจะเกิ ดได้ เมื่อผู้เรี ยนสามารถประสานความรู้ เก่า และใหม่ เข้าด้ว ยกัน
- การเรียนรู้ที่มีคุณภาพจะเกิ ดได้ เมื่อผู้เรี ยนเรียนรู้อ ย่างกระตือ รือร้ น
- การเรียนรู้ที่มีคุณภาพจะเกิ ดได้ เมื่อผู้เรี ยนอยู่ ในสภาพแวดล้อ มที่ เอือ้ ต่อการเรียนรู้
การเลือกใช้กลยุทธ์ในการเรียนและการสอนขึน้ อยู่กั บสถานการณ์ หลักสูตรควรพิจารณา
เลือกใช้กลยุทธ์การเรี ยนและการสอนที่ เหมาะสม
คาถามวินจิ ฉัย
- ปรัชญาการศึกษามีความชัด เจนและบุคลากรทุกคนสามารถรั บรู้ ได้หรือไม่
- มีการสร้างบรรยากาศการเรี ยนรู้ ที่หลากหลาย เช่น มีโครงการนักศึกษาแลกเปลี่ยน หรือไม่
- การสอนโดยภาควิชาอื่นเป็น ที่น่าพึงพอใจหรือไม่
- กลยุทธ์การเรียนและการสอนที่ ใช้มีความสอดคล้องกับผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังหรือ ไม่
- มีการนาเทคโนโลยีม าใช้ ในการเรี ยนการสอนอย่างไร
- มี วิ ธี การประเมิน การเรี ยนการสอนอย่ า งไร วิ ธี ก ารประเมิ น ที่ เลื อ กใช้ เหมาะสมกั บผลการ
เรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิช าหรือไม่ และวิธีการประเมินผลมีความหลากหลายและเพี ยงพอหรือไม่
- กลยุทธ์ ก ารเรียนการสอนที่ ใช้ มี อุ ปสรรคหรื อ ไม่ เช่ น จานวนนั ก ศึ ก ษา โครงสร้ า งพื้ น ฐาน
ทักษะการสอน เป็นต้น
คาถามวินิจฉัยสาหรับมหาวิทยาลัยที่เน้ นการวิจัย:
- ผู้เรียนมาติดต่อเพื่อทาการวิจัยครั้ง แรกเมื่อใด
- การศึกษาและการวิจัยในหลักสู ตรมีความสั มพันธ์ เชื่อมโยงกันอย่ างไร
- ผลการวิจัยสามารถนาไปประยุกต์ใ ช้กับหลักสูต รได้อ ย่างไร
คาถามวินิจฉัยสาหรับกลยุทธ์การเรียนและการสอนที่ มุ่งเน้นการฝึกงานและ/หรือการบริการชุมชน:
- การฝึกงานถือเป็นข้อบังคับหรือ เป็ นทางเลือก
- การฝึกงานหรือการบริก ารชุม ชนมี หน่วยกิต จานวนเท่ าใด
- ระดับของการฝึกงานและ/หรือการบริก ารชุ มชนเป็น ที่น่าพอใจหรือ ไม่
- ชุมชนได้รับประโยชน์ จากการบริก ารชุมชนของหลักสูต รอย่ างไร
- ผู้ใช้บัณฑิตและผู้เรียนได้รับประโยชน์ จากการฝึกงานอย่างไร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
31
- มีปัญหาอุปสรรคในการฝึกงานหรือ ไม่ ถ้ามี สาเหตุของปัญหาคืออะไร
- ผู้เรียนได้รับการดูแลและฝึกอย่างไร
- มีการวัดประเมินผลอย่างไร
แหล่งอ้างอิง
 ปรัชญาการศึกษา
 เอกสารแสดงการจั ดการเรียนที่ หลากหลาย เช่น โครงงาน การเรียนรู้น อกสถานที่แ ละการฝึ ก
ปฏิบัติ เป็นต้น
 ข้อมูลป้อนกลับของผู้เรียน
 การเรียนออนไลน์
 ข้อกาหนดของหลักสูตรและรายละเอี ยดของวิชา
 รายงานผลการดาเนินงานการปฏิ บัตงิ านสหกิ จศึก ษา
 การมีสว่ นร่วมต่อสังคมและชุมชน
 บันทึกความเข้าใจ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
32
2.5 การประเมินผู้เรียน
เกณฑ์คุณภาพที่ 5
1. การประเมินครอบคลุมถึง
 การรับเข้านักศึกษาใหม่
 การประเมินผู้เรียนอย่ างต่อเนื่องระหว่างการศึก ษา
 การสอบก่อนสาเร็จการศึ กษา
2. ในการสนั บสนุนให้ เกิด ความสอดคล้ องเชิ งโครงสร้ าง ควรใช้วิธี การประเมิ น ผลที่หลากหลาย
ที่สอดคล้อ งกั บผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การประเมิ นควรวัด ผลสั มฤทธิ์ ของผลการเรียนรู้ทั้งหมดที่
ปรากฎอยู่ ในผลการเรี ยนที่ค าดหวั งของหลัก สูต รและรายวิช าวิ ธีก ารและเก ณฑ์ ที่ใช้ใ นการประเมิ น
ควรมีการกาหนดล่วงหน้า เพื่ อวัต ถุประสงค์ในการประเมินผลวิ นจิ ฉั ย การประเมิ นผลระหว่างเรียน
และ การประเมินผลสรุ ป
3. การประเมิ นผู้ เรียน รวมถึง ช่ว งเวลาการประเมิ น วิ ธีก ารประเมิน การก าหนดเกณฑ์ ประเมิ น
การกระจายน้าหนัก การประเมิน ไปจนถึง เกณฑ์ การให้ คะแนนและการตั ด เกรด ควรทาให้ชั ด เจน
และสื่อความที่เกี่ยวข้องได้
4. กาหนดมาตรฐานที่ใช้ในแผนการประเมินอย่ างชัดเจนและสอดคล้องกั บหลักสูตร
5. น ากระบวนการและวิ ธี ก ารประเมิ น มาใช้ เพื่ อ เป็ น การยื น ยั น การประเมิ น ผู้ เรี ยนมี ค วาม
สมเหตุสมผล น่าเชื่อถือ และดาเนินการโดยเที่ ยงธรรม
6. ควรระบุค วามเชื่อ มั่น และความเที่ยงตรงของวิธีก ารประเมิน ระบุเป็ นลายลั กษณ์ อักษรและมี
การตรวจสอบอย่ างสม่ าเสมอ และน าไปใช้ ทดสอบและพัฒ นาแนวทางประเมิน ใหม่ๆได้ รวมทั้ง มี
การพัฒ นาวิ ธีก ารประเมินผลแบบใหม่ ๆ และนาไปใช้ ในการทดสอบเปิด เผยให้ผู้ เรียนรับรู้ถึ งสิทธิ์ใน
เกี่ยวกับกระบวนการอุธรณ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
33
เกณฑ์คุณภาพที่ 5 – เกณฑ์ย่อย
5
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1
2
3
4
5
6
7
5.1
การประเมิ น ผู้ เรี ย นมี ค ว ามส อ ดคล้ อ ง
โครงสร้างกับผลสั มฤทธิ์ข องผลการเรียนรู้ ที่
คาดหวัง [1, 2]
5.2 การประเมิ น ผู้ เรี ยน รว มถึ ง ช่ ว งเว ลาการ
ประเมิ น วิธี การประเมิ น การก าหนดเกณฑ์
ประเมิ น การกระจายน้ าหนั ก การประเมิ น
ไปจนถึ ง เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนนและการตั ด
เกรด มี ค วามชั ด เจนและสื่ อ สารให้ ผู้ เรี ยน
รับทราบ [4, 5]
5.3 เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนและแผนการให้ คะแนน
ถู ก ใช้ ใ นก ารป ระเมิ น เพื่ อ ยื นยั น คว าม
เที่ยงตรง ความเชื่อ มั่ นและความโปร่ งใสใน
การประเมินผู้เรียน [6, 7]
5.4 มี ก ารให้ ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บเกี่ ย ว กั บ ก าร
ประเมิน ผู้ เรี ยนที่ เหมาะสมแก่ เวลาและช่ ว ย
พัฒนาการเรียนรู้ [3]
5.5 ผู้ เรี ยนรั บรู้ ถึ ง สิ ทธิ์ เกี่ ยวกั บกระบวนการอุ
ธรณ์ [8]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
การประเมิ นผู้ เรียนถื อเป็น องค์ประกอบที่ส าคั ญที่ สุด อัน หนึ่ งของการศึ กษาในระดั บอุ ดมศึก ษา
ผลของการประเมิน ส่งผลโดยตรงต่ออาชีพในอนาคตของผู้ เรียน ดังนัน้ จึงต้อ งดาเนิ นการอย่างเชี่ ยวชาญ
และค านึง ถึงองค์ค วามรู้ทั้งหลายที่มีอ ยู่ในขั้นตอนการทดสอบการประเมินยั งให้ ข้อมู ลที่เป็ นประโยชน์แ ก่
สถาบันทั้งในด้านประสิทธิภ าพการสอนและการสนั บสนุนผู้ เรี ยน การประเมินผู้เรียนควรจะต้อง :
 ได้รับการออกแบบให้วัดความสาเร็ จตามผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวัง
 สอดคล้ อ งกั บวั ต ถุ ประสงค์ ใ นการประเมิ น ผลวิ นจิ ฉั ย การประเมิ น ผลระหว่ างเรี ยนและการ
ประเมินผลสรุป รวมทั้งมีเกณฑ์ในการตัดเกรดและให้คะแนนที่ชั ดเจนเป็นลายลัก ษณ์อัก ษร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
34
 ด าเนิ น การโดยบุ ค คลที่ เข้ า ใจบทบาทของ การประเมิ น ความก้ า วหน้ า ของผู้ เรี ย นที่ มี ต่ อ
สัม ฤทธิผ ลทางด้ านความรู้ และทั กษะที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บคุ ณ สมบั ติ ที่ก าหนดไว้ ถ้ า เป็ น ไปได้ ก าร
ประเมินไม่ควรประเมิน โดยผู้ ประเมินเพียงคนเดี ยว
 พิจารณาถึงผลลัพธ์ต่างๆ ที่เป็นไปได้จากเกณฑ์การสอบ
 กาหนดกฎเกณฑ์ ที่ชัด เจน ครอบคลุม ถึ งการขาดเรี ยน การป่ ว ย และเหตุ ที่ส มควรลดหย่ อ น
ผ่อนโทษของผู้เรียน
 ยืนยันว่าการประเมินมีก ารจัดการอย่างรอบคอบและรั ดกุมตามขั้นตอนที่สถาบันก าหนด
 อยู่ภายใต้การบริหารตรวจสอบเพื่อ ยืน ยันประสิทธิ ภาพของขั้ นตอน
 แจ้งข้ อมูล แก่ผู้เรียนถึ งการประเมินที่ ใช้ในหลักสู ตรของตน ว่ามี การทดสอบอะไรหรื ออยู่ ภายใต้
เงื่ อ นไขการประเมิ น แบบใด การประเมิ น คาดหวั งอ ะไร รวมถึ ง เกณฑ์ ที่ใ ช้ ใ นการประเมิ น
สมรรถนะของผู้เรียน
คาถามวินจิ ฉัย
- มีการประเมินนักศึกษาใหม่เมื่อ แรกรับเข้าหรือ ไม่
- มีการประเมินนักศึกษาก่อ นสาเร็ จการศึก ษาหรือ ไม่
- การประเมิ น ครอบคลุ ม เนื้ อหาของหลั ก สู ต ร และวั ต ถุประสงค์ ข องรายวิ ช าและหลั ก สู ต ร
โดยรวมมากน้อยแค่ไหน
- เป็นการประเมินแบบอิงเกณฑ์หรือไม่
- มีการใช้วิธีการประเมิน ที่หลากหลายหรือไม่ อะไรบ้าง
- เกณฑ์การผ่านหรือตกชัดเจนหรือไม่
- เกณฑ์การประเมินชัดเจนหรือไม่
- มีมาตรการป้องกันเพื่อยืน ยันความเป็นปรนั ยในการวัดผลหรือ ไม่
- ผู้เรียนพึงพอใจกับกระบวนการหรือ ไม่ มีการร้องเรียนอะไรจากผู้ เรี ยนบ้ าง
- มีกฎสาหรับการประเมิน ซ้าที่ชัดเจนหรือไม่และผู้เรียนพึงพอใจหรือเปล่า
การประเมิ น ผู้เรียนส าหรั บผลงานจบ เช่ น วิ ทยานิ พ นธ์ หรื อโครงงาน เพื่ อให้ผู้ เรี ยนใช้ ค วามรู้
ทักษะและความสามารถของตนเพื่อ ปรั บองค์ความรู้ ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ที่เหมาะสม
- มีเกณฑ์ที่ชัดเจนสาหรับประเมิ นผลงานจบหรือ ไม่
- ใช้เกณฑ์อะไรบ้างในการพิ จารณาผลงานจบ
- การเตรียมการทาผลงานจบเกี่ยวข้องกั บอะไรบ้ าง ทั้งเนื้อหา ขั้นตอนและทักษะ
- ระดับของผลงานจบเป็นที่พึง พอใจหรือไม่
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
35
- มีอุปสรรคเกิดขึน้ ในการทาผลงานจบหรือไม่ ถ้ามีเพราะสาเหตุใด
- ผู้เรียนได้รับการชี้แนะ อย่างไร
แหล่งข้อมูล
 ตัวอย่างการประเมินในหลักสูต ร โครงงาน วิทยานิพนธ์ ข้อสอบปลายภาค ฯลฯ
 เกณฑ์การให้คะแนน
 แผนการให้คะแนน
 กระบวนการกลั่นกรอง
 ขั้นตอนการอุธรณ์
 ข้อมูลจาเพาะของรายวิชาและหลัก สูตร
 เกณฑ์การทดสอบ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
36
2.6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ
เกณฑ์คุณภาพที่ 6
1. มี การวางแผนทั้ ง ในระยะสั้ นและระยะยาวในการบริ หารจัด การบุค คลากรสายวิ ช าการ
รวมถึ ง การสื บทอดต าแหน่ ง การเลื่ อนต าแหน่ ง การจั ด สรรบุ ค ลากร การสิ้ น สุ ด ต าแหน่ ง และ
แผนการเกษียณเพื่อให้แน่ ใจว่ าคุณ ภาพและปริ มาณของบุค คลากรสายวิ ชาการตอบสนองต่อความ
ต้องการด้านการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ
2. มี ก ารตรวจสอบและติด ตามอั ต ราส่ ว นบุ คลากรสายวิช าการต่ อจานวนนั ก ศึ กษาและ
ภาระงานที่ได้รับเพื่อพั ฒนาคุณภาพด้านการศึก ษา วิจัย และบริการวิชาการ
3. มี ก ารระบุ แ ละประเมิ น คว ามสามารถขอ ง บุ ค ลากรสายวิ ช าการ บุ ค ลากรที่ มี
ความสามารถจะต้องมีคุณสมบัตดิ ังนี้
 ออกแบบและจัดกระบวนการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูต ร
 นากระบวนการเรียนการสอนที่ หลากหลายมาใช้ และเลื อ กวิ ธี การประเมิน ที่ เหมาะสมให้
บรรลุผลการเรียนรู้ ที่ค าดหวัง
 พัฒนาและใช้ส่อื ประกอบการเรียนการสอนได้ หลากหลาย
 ตรวจสอบและประเมินความก้าวหน้าด้ านการสอนและรายวิชาที่ต นเองสอนได้
 มีการให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกั บการสอนของตนเอง
 มีการทาวิจัยและจัดหาบริการที่ เป็ นประโยชน์ แก่ผู้มีสว่ นได้เสี ย
4. การสรรหาและการเลื่อ นตาแหน่ งบุ คลากรสายวิชาการยึดตามระบบคุณ ธรรม โดยพิ จารณา
จากการสอน การทาวิจัย และการบริการวิชาการ
5. การก าหนดบทบาทและความสั ม พั น ธ์ ข องบุ ค ลากรสายวิ ช าการชั ด เจนและเป็ น ที่ เข้ า ใจ
ตรงกัน
6. มีการมอบหมายงานที่เหมาะสมกั บความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และความเชี่ ยวชาญ
7. บุ คลากรสายวิ ช าการทุก คนต้ อ งรั บผิ ด ชอบต่อ มหาวิ ทยาลั ยและผู้ มี ส่ว นได้ เสี ยของ องค์ ก ร
โดยคานึงถึงเสรีภาพทางวิชาการและจรรยาบรรณด้ านวิชาชีพ
8. มีก ารวินิ จฉัยความต้อ งการในการฝึก อบรมและพัฒ นาของบุค ลากรสายวิช าการอย่ างเป็ น
ระบบ และนาไปจั ดการฝึก อบรมที่ เหมาะสมรวมถึง กิจกรรมที่พัฒ นาตนเองเพื่ อตอบสนองต่อความ
ต้องการของบุคลากร
9. มีก ารนาการบริหารผลการปฏิ บัติ งานรวมถึง การให้ รางวั ลและการยอมรับมาใช้เพื่ อ กระตุ้ น
และสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัยและการบริก ารวิชาการ
10. มีก ารตรวจสอบ ประเมิ นและเปรียบเที ยบประเภทและจานวนงานวิ จัยกั บเกณฑ์ มาตรฐานที่
ได้รับการยอมรับเพื่อการพัฒนา
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
37
เกณฑ์คุณภาพที่ 6 – เกณฑ์ย่อย
6
คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ
6.1
6.2
6.3
6.4
6.5
6.6
6.7
1
2
3
4
5
6
7
การบริ หารจั ด การบุ ค ลากรสายวิ ช าการ (การสื บ
ทอดต าแหน่ง เลื่ อนต าแหน่ง การปรั บวิธี การจั ดสรร
บุ ค ลากรเข้ าสู่ ต าแหน่ ง การสิ้ น สุ ด ต าแหน่ ง และ
แผนการเกษียณ)ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการด้ า น
การศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการ [1]
มีก ารเปรี ยบเทียบอั ต ราส่ ว นบุค ลากรสายวิ ชาการ
ต่ อ จ านว น นั ก ศึ กษาแล ะภ าระง านกั บ เก ณ ฑ์
มาตรฐาน และติ ด ตามตรวจสอบข้ อมู ล เพื่ อพั ฒ นา
คุ ณ ภาพด้ า นการศึ ก ษา การวิ จัยและการบริ ก าร
วิชาการ [2]
เกณฑ์ ใ นการสรรหาและการคั ดเลือ กบุค ลากรสาย
วิ ช าการซึ่ ง ประกอ บด้ ว ยจรรยาบรรณ คว าม
รั บผิ ด ชอ บต่ อ เสรี ภ าพทางวิ ช าการ การจั ด สรร
บุค ลากรเข้ าสู่ ตาแหน่ง การเลื่อ นตาแหน่ ง บุค ลากร
ถูกกาหนดและประกาศให้ ทราบทั่วกัน [4,5,6,7]
มี ก ารวิ นิ จ ฉั ยและประเมิ น คว ามสามารถขอ ง
บุคลากรสายวิชาการ [3]
ความต้ องการในการฝึกอบรมและพัฒ นาตนเองของ
บุ ค ลากรสายวิ ช าการถู ก วิ นิ จ ฉั ย และน าไปจั ด
กิ จ กรรมเพื่ อ ตอบสนอง ต่ อ ความต้ อ งการขอ ง
บุคลากร [8]
การบริหารผลการปฏิ บัติ ง านรวมถึง การให้ รางวั ล
และการยอ มรั บ ถู ก น ามาใช้ เพื่ อ กระตุ้ น แล ะ
สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน การวิ จั ย และการ
บริการวิชาการ [9]
มี ก ารตรวจสอบประเมิ น และเปรี ยบเที ยบประเภท
และจานวนงานวิ จัยกับเกณฑ์ม าตรฐานที่ ได้รับการ
ยอมรับเพื่อการพัฒนา [10]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
38
คาอธิบาย
บุค ลากรสายวิ ชาการถื อ ว่าเป็ นทรัพ ยากรการศึ ก ษาที่ส าคั ญ ที่สุ ด สาหรั บผู้ เรี ยน บุ คคลเหล่ า นี้
ต้อ งมีค วามรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ ที่ต นเองสอน มี ทักษะและประสบการณ์ ที่จะถ่ ายทอดความรู้ แ ก่
ผู้เรียนในขอบเขตบริบทการสอนของตนได้ อ ย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และสามารถน าผลการประเมิน การ
สอนมาปรับปรุงพัฒนาการสอนได้อย่ างต่อเนื่อง
คุณ ภาพของสถาบัน ไม่ เพียงแต่ขึน้ อยู่ กับคุณ ภาพของหลั กสู ตรเท่านัน้ แต่ ยัง ขึน้ อยู่กั บคุ ณ ภาพ
บุค ลากรสายวิ ช าการอี ก ด้ วย คุณ ภาพบุ ค ลากรสายวิช าการขึน้ อยู่ กั บ คุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาความเข้าใจ
ความชานาญ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ที่สอน ประสบการณ์ ทักษะการสอนรวมถึ งจรรยาบรรณที่มีต่ อ
วิช าชี พ บุ ค ลากรสายวิ ชาครอบคลุม ถึ ง อาจารย์ ที่ส อนเต็ ม เวลาและนอกเวลา และผู้บรรยายพิ เศษ
นอกจากคุณ ภาพของบุ ค ลากรสายวิ ชาแล้ วสถาบั นต้ องกาหนดปริ มาณบุ ค ลากรสายวิ ชาให้ เหมาะสม
กับความต้ องการของผู้ เรี ยนและสถาบั น โดยก าหนดขนาดของบุ ค ลากรสายวิ ช าการใช้ค่ า หน่ว ยนั บ
ภาระงาน (Full-Time Equivalent - FTE) และอัตราส่วนบุคลากรสายวิช าการต่อจานวนนักศึก ษา
หน่วยนับภาระงาน Full-Time Equivalent (FTE)
ในการค านวณหน่ ว ยนั บภาระงานบุ คลากรสายวิช าการ (FTE) สถาบั น ควรก าหนดภาระการ
เรียนนั กศึ ก ษาเต็ม เวลา และภาระการสอนของบุค ลากรคณะที่ รวมถึ ง ภาระการเรียนนัก ศึ ก ษานอก
เวลา และภาระการสอนบุคลากรของคณะที่ ตอ่ นั กศึก ษานอกเวลาเป็ นจานวนร้อยละของภาระการสอน
เต็มเวลาของบุคลากรสายวิชาการ
มีหลายวิ ธี ในการค านวณค่ า FTE (หน่ว ยนับภาระงาน) และสถาบั น ควรก าหนดวิ ธี การตั วแปร
และข้ อ สมมติฐ านที่ จะใช้ วิธี หนึ่ง ในการคานวณค่ า FTE (หน่ วยนั บภาระงาน) คื อ ยึด ต้ น ทุน ด้ านเวลา
เช่น ถ้ า 1 FTE เท่ากับ 40 ชั่ วโมงต่ อสัปดาห์ (จ้ างงานเต็ม เวลา) ดังนัน้ FTE ของบุคลากรสายวิชาการที่ มี
ภาระงานสอน 8 ชั่ วโมงต่ อ สัปดาห์ จะเป็ น 0.2 (8 หารด้ว ย 40) วิธี การที่ ยึด หลั กการต้น ทุน ด้านเวลา
สามารถน ามาใช้ คานวณค่ า FTE (หน่ วยนับภาระการเรียน) ของนั กศึ ก ษาได้ อี กด้ ว ย เช่ น ถ้า 1 FTE ที่
นัก ศึ ก ษาต้ อ งเข้ า ชั้ น เรี ยนเท่ า กั บ 20 ชั่ วโมงต่ อ สั ปดาห์ ดั ง นั้ นค่ า หน่ ว ยนั บภาระการเรี ยน FTE ของ
นักศึกษาภาคสมทบ 10 ชั่วโมงในชั้นเรียนต่อสัปดาห์ จะเป็น 0.5 (10 หารด้วย 20)
วิธีการอื่น ในการคานวณค่ า FTE คื อ ยึด ภาระงานสอน เช่น ถ้าภาระการสอนภาคปกติเต็ม เวลา
ของบุค ลากรสายวิช าการคื อ 4 วิ ชาต่ อภาคการศึก ษา ดัง นัน้ แต่ ละวิ ชามีค่ า 0.25 FTE (หน่ว ยนั บภาระ
งาน) ถ้ าบุ คลากรสายวิชาการได้ รับมอบหมาย 2 วิ ชาต่อ ภาคการศึ ก ษา ดัง นัน้ ค่า FTE (หน่ว ยนั บภาระ
งาน) จะเป็ น 0.5 (2 คู ณ 0.25 FTE) ในทานองเดี ยวกั น ภาระการเรี ยนของนั ก ศึ ก ษาสามารถใช้ ก าร
คานวนค่า FTE (หน่ ว ยนั บภาระการเรียน) ของนั กศึ ก ษาได้ เช่น ถ้ า 1 FTE (หน่ ว ยนั บภาระการเรี ยน) ที่
นัก ศึ ก ษาต้อ งเรี ยนคือ 24 หน่ วยกิ ต ต่ อ ภาคการศึ ก ษา ดั งนั้ น ค่ า FTE (หน่ว ยนั บภาระการเรี ยน)ของ
นักศึกษาที่เรียน 18 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา จะเป็น 0.75 (18 หารด้วย 24)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
39
ตาราง 2.3 ระบุตัวเลขบุคลากรสายวิชาการและค่ า FTE (หน่วยนับภาระงาน)ใน 5 ปีการศึกษาที่ผ่านมา
ประเภท
ชาย หญิง
รวม
จานวนร้อยละ
ของปริญญา
จาวนพนักงาน
ค่า FTE
เอก
ศาสตราจารย์
รอง/ผู้ช่วยศาสตราจารย์
อาจารย์ประจารย์
อาจารย์พิเศษ
ผู้บรรยายพิเศษ/อาจารย์
พิเศษ
รวม
อัตราส่วนบุคลากรต่อจานวนนักศึกษา
ตัวบ่ง ชี้นีค้ ื อ อัต ราส่ วน 1 FTE (หน่ วยนับภาระงาน) ของการจ้างบุ คลากรสายวิช าการต่อตั วเลข
ค่า FTE (หน่ว ยนั บภาระการเรียน) นัก ศึก ษาที่ ลงทะเบียน จุด มุ่ง หมายเพื่ อใช้ คิ ดจานวนเวลาที่ ใช้ ในการ
ติด ต่ อ และสนั บสนุ น ด้ านวิ ช าการแก่ นั ก ศึ ก ษาที่ ส ถาบั น คาดว่ าควรได้ รับระบุ อั ต ราส่ ว นบุ คลากรต่ อ
จานวนนักศึกษาใน 5 ปีการศึกษาที่ผ่านมาตามตาราง 2.4
ตาราง 2.4 อั ตราส่ วนบุ คลากรต่ อ จานวนนั ก ศึก ษา (ระบุ วิ ธีก ารที่ใช้ค านวณค่ า FTE – หน่ วยนับภาระ
การเรียน) ของนักศึกษา
ปีการศึกษา
รวมค่า FTE (หน่วยนับ
ภาระงาน) ของบุคลากร
สายวิชาการ
รวมค่า FTE (หน่วยนับภาระ
การเรียน) ของนักศึกษา
อัตราส่วนบุคลากรต่อ
จานวนนักศึกษา
ผลงานวิจัย
การวิ จัยคื อ ผลผลิต ส าคั ญ จากบุค ลากรสายวิ ช าการ ประเภทต่ างๆของงานวิจัย (เช่น ผลงาน
ตีพิม พ์ งานที่ปรึกษา โครงงาน เงิ นสนับสนุน เป็ นต้ น) ที่ลุล่ วงโดยบุค ลากรสายวิ ชาการควรตอบสนอง
ความต้ อ งการของผู้ มี ส่ ว นได้ เสี ย บอกข้ อ มู ล ประเภทและจานวนของการเผยแพร่ งานวิ จัยใน 5 ปี
การศึกษาที่ผ่านมาตามตาราง 2.5
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
40
ตาราง 2.5 ประเภทและจานวนของการเผยแพร่ง านวิจัย
ปี
การศึกษา ในสภาบัน
ประเภทผลงานตีพิมพ์
ระดับชาติ ระดับภูมิภาค
ระดับ
นานาชาติ
รวม
ตัวเลขผลงานตีพิมพ์ต่อ
บุคลากรสายวิชาการ
คาถามวินจิ ฉัย
บุคลากรสายวิชาการ:
- บุคลากรสายวิชาการมีความสามารถและคุณสมบัติ ในงานของตนหรือไม่
- ความรู้ ความสามารถและความเชี่ยวชาญของบุ ค ลากรสายวิช าการเหมาะสมในการสร้ า ง
หลักสูตรหรือไม่
- อะไรคือ ความท้ าทายที่ สถาบั น ต้อ งเผชิ ญ ในส่ว นของทรัพ ยากรบุ ค คล เช่ น การจาแนกอายุ
ความยุ่งยากในการเติม เต็มต าแหน่งว่ าง หรือการดึง ดูดบุ คลากรสายวิ ชาการที่มี คุณ สมบั ตติ ามต้อ งการ
สถาบันจัดการกับความท้ าทายนี้อ ย่างไร
- บุคลากรสายวิชาการมีผู้จบการศึก ษาในระดั บปริญญาโทและเอกจานวนเท่าไหร่
- การจ้างงานบุคลากรสายวิชาการทั้งด้านสอนและวิ จัยด าเนิ นตามนโยบายอะไร
- มีความพยายามสร้างพี่ เลีย้ งด้ านวิชาการแก่บุค ลากรสายวิชาการรุ่นใหม่ หรือไม่
- มีนโยบายด้านการสัม มนา การกากับดูแลรายงาน หรือการฝึกงานหรือไม
- บุคลากรสายวิชาการพึงพอใจกั บภาระงานสอนหรือ ไม่
- อัตราส่วนบุคลากรต่อจานวนนักศึกษาเป็น ที่น่าพอใจหรือ ไม่
- ค าอธิ บายในด้ า นบทบาท ความรั บผิ ด ชอบ เสรี ภ าพทางวิ ช าการ และจรรยาบรรณทาง
วิชาชีพ กล่าวว่าอย่างไร
- บุคลากรสายวิชาการทาผลงานทางวิชาการประเภทใด ผลงานเหล่านี้ สอดคล้อ งกับวิสัยทัศ น์
และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและคณะหรือ ไม่
- เงินสนับสนุนงานวิจัยอยู่ในระดั บไหน และถูกใช้ให้เป็นประโยชน์ ได้อย่ างไร
- ผลงานตีพิมพ์มีจานวนเท่าไหร่ เป็นผลงานระดับชาติ ภูมิภาค หรือนานาชาติ
การบริหารจัดการบุคลากร:
- มีการวางแผนกาลังคนในบุคลากรสายวิชาการอย่างไร
- ภาควิชามีระบบโครงสร้างการบริ หารจัดการบุคลากรที่ชัด เจนหรือไม่
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
41
- มีการตัง้ เกณฑ์ในการสรรหาและเลื่อนตาแหน่งบุ คลากรสายวิชาการหรือไม่
- มีระบบการบริหารผลการปฏิ บัตงิ านหรือไม่
- มีแ ผนการสืบทอดส าหรับผู้ ที่อ ยู่ในตาแหน่ง ที่เกี่ ยวกับการควบคุ มและการบริหารจัด การงาน
ในองค์กรอย่างไร
- มีแผนพัฒนาความก้าวหน้าทางอาชีพ สาหรั บบุ คลากรสายวิชาการอย่างไร
- บุคลากรสายวิชาการพึงพอใจกั บนโยบายการบริหารงานบุค คลหรือไม่
- มีนโยบายพัฒนาการบริ หารงานบุคคลสาหรั บบุ คลากรสายวิชาการในอนาคตอย่างไร
- บุคลากรสายวิชาการได้ รับการเตรี ยมพร้อ มด้านภารกิจงานสอนอย่างไร
- การจัดการเรียนการสอนโดยบุคลากรสายวิช าการได้ รับการควบคุ มและประเมินหรื อไม่
การฝึกอบรมและพัฒนา:
- ใครเป็นผู้รับผิดชอบการฝึ กอบรมและกิจกรรมพัฒ นาบุคลากรสายวิชาการ
- มีแ ผนและกระบวนการการฝึก อบรมและพั ฒ นาอย่ างไร มีก ารวินิ จฉั ยความต้อ งการในการ
ฝึกอบรมอย่างไร
- แผนและกระบวนการการฝึ ก อบรมและพั ฒ นาสะท้ อ นถึ ง พั น ธกิ จและวั ต ถุ ประสงค์ ขอ ง
มหาวิทยาลัยและคณะหรือ ไม่
- มีระบบในการพัฒนากลยุทธ์และความสามารถเฉพาะด้ านของบุ คลากรสายวิชาการหรือ ไม่
- มีก ารกาหนดชั่ว โมงการฝึ กอบรม และจานวนสถานที่ฝึ กอบรมส าหรั บบุ คลากรสายวิ ชาการ
ต่อปีอย่างไรบ้าง
- มีก ารก าหนดอัต ราส่ว นร้อ ยละของเงิน เดื อนหรือ งบประมาณส าหรับฝึก อบรมบุ คลากรส าย
วิชาการเท่าใด
แหล่งข้อมูล
 แผนกาลังคน
 การกระจายกาลังของคณะ ในแง่ของอายุ เพศ และความเชี่ยวชาญ เป็นต้น
 แผนอาชีพและการรับช่วงต่อ
 เกณฑ์การรับสมัคร
 คุณสมบัตบิ ุคคลากร
 การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรม
 แผนและงบประมาณการฝึกอบรมและพัฒนาบุ คลากร
 การทบทวนโดยผู้ รู้เสมอกั น (peer review) และ ระบบการประเมิน ผลการปฏิ บัติ งาน (appraisal
system)
 ความคิดเห็นจากนักศึกษา
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
42
 รางวัลและโครงการที่ได้รับการยอมรับ
 ภาระงานบุคลากร
 แผนภูมิองค์กร
 นโยบายการบริ หารงานบุคคล
 คู่มือบุคลากร
 คาบรรยายลักษณะงาน
 สัญญาจ้างงาน
 ข้อมูลวิจัยและตีพิมพ์
 ใบอนุญาตหรือหนังสือรับรอง ระดับชาติและ/หรือระดั บวิชาชีพ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
43
2.7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน
เกณฑ์คุณภาพที่ 7
1. มีก ารด าเนิน การวางแผนระยะสั้ นและระยะยาวในการแต่งตั้ งบุค ลากรสายสนับสนุน หรื อ
การวางแผนความต้ อ งการห้ อ งสมุ ด ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร สิ่ ง อ านวยความสะดว กด้ า นเทคโนโลยี
สารสนเทศ และงานบริ ก ารนั กศึ ก ษาเพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจว่ า คุ ณ ภาพและจานวนบุ คลากรสาย
สนับสนุนบรรลุตามความต้องการทางวิชาการ งานวิจัย และการบริการวิชาการ
2. มี ก ารก าหนดและการแจ้ ง ข้อ มู ล การสรรหาบุ ค ลากร และเกณฑ์ ก ารคัด เลื อ กในการ
แต่ งตั้ ง การมอบหมายงาน และการเลื่ อนขั้ นบุ ค ลากรสายสนับสนุน โดยก าหนดบทบาทหน้ าที่ ไ ว้
ชัดเจน และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามความเหมาะสมคุณสมบัติ และประสบการณ์
3. มีก ารวินิ จฉั ยและการประเมิน ความสามารถของบุ คลากรสายสนั บสนุน เพื่ อสร้างความ
มั่นใจว่าความสามารถของบุค ลากรเหล่านั้ นเป็นไปตามข้ อกาหนด และการให้บริการนั้ นตอบสนอง
ความต้องการของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
4. มีก ารวินิ จฉั ยความต้ อ งการในการฝึก อบรมและพัฒ นาอย่างมีระบบให้แ ก่บุค ลากรสาย
สนั บสนุ น และมี การด าเนิ นกิ จกรรมการฝึ กอบรมและกิ จกรรมเพื่ อการพั ฒ นาที่ ต อบสนองความ
จาเป็นพบ
5. มีการบริหารผลการปฏิ บัตงิ านรวมถึงการตอบแทนและการยอมรั บ เพื่อผลักดันและ
สนับสนุน การเรียนการสอน การวิจัย และ การบริการวิชาการ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
44
เกณฑ์คุณภาพที่ 7 –เกณฑ์ย่อย
7
คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน
7.1
7.2
7.3
7.4
7.5
1
2
3
4
5
6
7
มีการดาเนินการวางแผนแต่งตั้ งบุค ลากรสาย
สนั บ สนุ น (ห้ อ ง สมุ ด ห้ อ ง ปฏิ บั ติ ก าร สิ่ ง
อ าน ว ย ค ว าม ส ะ ด ว ก ด้ าน เท ค โน โล ยี
สารสนเทศและงานบริ ก ารนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ
ตอ บสนอง ความต้ อ งการทาง การศึ ก ษา
งานวิจัย และการบริการวิชาการ [1]
มีก ารก าหนดและการแจ้ ง ข้อ มู ล การสรรหา
บุ ค ลากร และเกณ ฑ์ ก ารคั ด เลื อ กในการ
แต่ง ตัง้ การมอบหมายงาน และการเลื่ อ นขั้ น
บุคลากรสายสนับสนุน [2]
มีก ารวินิ จฉัยและประเมิ น ความสามารถของ
บุคลากรสายสนับสนุน [3]
มีการวินิ จฉัยความต้ องการการฝึ กอบรมและ
พั ฒ นาตนเอ งขอ งบุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น
และด าเนิ น กิ จ กรรมเพื่ อ ตอบสนองความ
ต้องการนัน้ [4]
มี ก ารบริ หารผลการปฏิ บัติ ง านรวมถึ ง การ
ตอบแทนและการเห็ น คุ ณ ค่ า การยอมรั บ
เพื่ อ กระตุ้ น และสนับสนุ น การเรี ยนการสอน
การวิจัย และการบริการวิชาการ [5]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
คุณ ภาพหลั กสู ตรส่ วนใหญ่ขึ้ นอยู่ กับปฏิ สัม พั นธ์ ระหว่ างบุค ลากรและนั ก ศึก ษา อย่างไรก็ต าม
บุ ค ลากรสายวิ ช าการไม่ ส ามารถปฏิ บัติ ง านได้ ดี หากปราศจากคุ ณ ภาพการให้ บริก ารที่ จัด สรรโดย
บุ ค ลากรสายสนั บสนุ น ซึ่ ง บุ ค ลากรสายสนั บสนุ น เหล่ า นี้ คื อ บุ ค ลากรที่ บ ริ หารจั ด การห้ อ งสมุ ด
ห้องปฏิบัตกิ าร ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ และงานบริการนักศึกษา
ใช้ตารางที่ 6.2 เพื่อกาหนดจานวนบุคลากรสายสนั บสนุน ที่มีในระยะ 5 ปีการศึกษาล่าสุด
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
45
ตารางที่ 6.2 จานวนบุคลาการสายสนับสนุน (ระบุวันที่อ้างอิง)
ระดับการศึกษาสูงสุดที่สาเร็จ
บุคลากรสายสนับสนุน มัธยมศึกษา
ตอนปลาย
บุคลากรห้องสมุด
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
จานวนทั้งหมด
บุคลากห้องปฏิบัติการ
บุคลากรด้าเทคโนโลยี
สารสนเทศ
บุคลากรด้านงาน
บริหารงานบุคคล
บุคลากรด้านงาน
บริการนักศึกษา (ระบุ
ประเภทงานบริการ)
จานวนทั้งหมด
คาถามวินจิ ฉัย
บุคลากรสายสนับสนุน:
- บุ ค ลากรสายสนั บสนุ น เป็ น บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถและมี คุ ณ สมบั ติ เหมาะสมกั บงาน
หรือไม่
- สมรรถนะและความช านาญงานของบุค ลากรสายสนั บสนุน นัน้ เหมาะควรแก่ ความต้อ งการ
แล้วหรือไม่
- อุปสรรคในการดึงดูดบุคลากรที่มีคุ ณสมบัตเิ หมาะสมมีอะไรบ้าง
- นโยบายอะไรที่ใช้ด าเนิ นการจ้ างงานบุคลากรสายสนับสนุน
- บุคลากรสายสนับสนุนพอใจกับบทบาทหน้า ที่ของตนหรือไม่
การบริหารจัดการบุคลากร:
- มีการดาเนินการวางแผนอัตรากาลัง บุคลากรสายสนับสนุ นอย่ างไร
- มีการสร้างเกณฑ์การสรรหาและเลื่อนขั้น บุคลากรสายสนับสนุนหรือไม่
- มีระบบการบริหารผลการปฏิ บัตงิ านหรือไม่
- แผนการพัฒนาความก้าวหน้าทางอาชีพส าหรับบุคลากรสายสนั บสนุนคืออะไร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
46
การฝึกอบรมและการพัฒนาบุค ลากร:
- ใครรับผิดชอบกิจกรรมการฝึ กอบรมและพัฒนาบุ คลากรฝ่ายสนั บสนุน
- กระบวนการ แผนการพั ฒ นาและการฝึก อบรมมี อะไรบ้าง แล้ว ใช้ วิธี ใดหาความต้ องการใน
การฝึกอบรม
- มีระบบพัฒนาสมรรถนะเฉพาะทางของบุคลากรสายสนับสนุนหรือไม่
- จานวนชั่วโมงที่ใช้ในการฝึกอบรมและสถานที่ฝึกอบรมบุคลากรฝ่ายสนับสนุนต่อ ปีคือเท่าไร
- เงิ น เดื อ นหรื อ ง บประมาณที่ ได้ รับการจั ด สรรส าหรั บการฝึ ก อบรมให้ แ ก่ บุค ลากรสาย
สนับสนุนมีอัตราร้อยละเท่าไร
แหล่งข้อมูล
 แผนอัตรากาลังบุคลากร
 แผนความก้าวหน้าในสายอาชีพ
 หลักเกณฑ์การสรรหาบุ คลากร
 คุณสมบัตบิ ุคลากร
 การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรม
 แผนการพัฒนาการฝึกอบรมและงบประมาณ
 ระบบการประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
 ข้อมูลป้อนกลับจากนักศึกษา
 แผนการให้ค่าตอบแทนและการยกย่องชมเชย
 แผนภูมิองค์กร
 นโยบายทรัพยาการบุคคล
 คู่มือบุคลากร
 คาบรรยายลักษณะงาน
 สัญญาการจ้างงาน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
47
2.8 คุณภาพผู้เรียน (Student Quality)
เกณฑ์คุณภาพที่ 8
1. มีก ารกาหนด การสื่อ สาร และการประกาศนโยบายการรั บนั กศึ กษาเข้ าเรี ยนและเกณฑ์
การรับนักศึกษาเข้าศึก ษาในหลักสู ตรอย่างชัด เจนและเป็น ปั จจุ บัน
2. มีการกาหนดและการประเมินกระบวนการและเกณฑ์การคัด เลือกนักศึ กษา
3. มีระบบติด ตามความก้า วหน้ า ผลการศึก ษา และภาระการเรียนของนั กศึ กษาที่เพียงพอ
โดยมีการบั นทึก การติ ดตามความก้า วหน้ า ผลการศึ กษา และภาระการเรียนของนั กศึ กษาไว้อ ย่าง
เป็นระบบ โดยมีการให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักศึก ษาและด าเนิน การแก้ไขข้อ บกพร่องหากจาเป็น
4. มีก ารจั ดการให้คาแนะนาทางวิช าการ กิ จกรรมเสริ มหลัก สูตร การแข่งขั นของนั กศึ กษา
และการบริ ก ารสนั บ สนุ น นั ก ศึ ก ษาด้ านต่ า ง ๆ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง การเรี ยนและคว ามรู้ ทั ก ษะและ
ความสามารถในการทางาน
5. การสร้างสภาพแวดล้ อมการเรียนรู้ เพื่ อสนับสนุ นผลส าเร็ จของคุณ ภาพการเรียนรู้ ของ
นัก ศึ ก ษานั้ น ทางสถาบั น ควรจัด เตรี ยมสภาพแวดล้ อ มทางกายภาพ สั ง คม และจิ ตใจที่ ส ามารถ
สร้างเสริม การเรียนการสอน การวิจัย รวมถึงสุขสภาวะส่วนบุคคลด้วย
เกณฑ์คุณภาพที่ 8 –เกณฑ์ย่อย
8
คุณภาพนักศึกษา และ การสนับสนุน
1
2
3
4
5
6
7
มีการก าหนด การสื่อ สาร และการประกาศ
นโยบายการรับนั กศึ กษาเข้ าเรียนและเกณฑ์
การรับนั กศึ กษาเข้าศึก ษาในหลั กสู ต รอย่าง
ชัดเจนและเป็นปัจจุ บัน [1]
8.2 มีการกาหนดและการประเมิก ระบวนการ
และเกณฑ์ในการคัดเลือกนักศึกษา [2]
8.3 มีระบบในการติดตามความก้ าวหน้า ผล
การศึกษาและภาระการเรี ยนขอนักศึก ษาที่
เพียงพอ [3]
8.4 มีก ารจั ด ให้ ค าแนะน าทางวิ ช าการกิ จกรรม
เสริ ม หลั ก สู ต ร การแข่ ง ขั น ของนั ก ศึ ก ษา
และบริ ก ารสนั บสนุ น นั ก ศึ ก ษาด้ า นต่ า ง ๆ
8.1
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
48
8
คุณภาพนักศึกษา และ การสนับสนุน
1
2
3
4
5
6
7
เพื่ อ ปรั บปรุ ง การเรี ย นและความรู้ ทั ก ษะ
และความสามารถในการทางาน [4]
8.5 มีส ภาพแวดล้ อ มทางกายภาพ สั ง คมและ
จิ ต ใจที่ ส ร้างเสริ ม การเรี ยนการสอ น และ
การวิจัย รวมถึงสุขภาวะส่วนบุคคล [5]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
คุณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ขึน้ อยู่กั บคุณ ภาพของนั ก ศึ กษาที่รับเข้าเรี ยน นั่น หมายความว่ าคุ ณ ภาพ
นักศึกษาที่รับเข้ามานัน้ เป็น สิ่งสาคัญ
การรับนักศึกษา:
- สรุปรายละเอียดนักศึก ษาชั้น ปีที่ 1 ที่รับเข้าในตารางที่ 2.7
- สรุปจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบี ยนเรี ยนในหลักสู ตรทั้งหมดตามตารางที่ 2.8
ตารางที่ 2.7 การรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ( 5 ปีการศึกษาล่าสุด)
ปีการศึกษา
จานวนที่สมัครเรียน
ผู้สมัคร
จานวนที่ประกาศรับ
จานวนที่รับเข้า/จานวนที่ลงทะเบียน
ตารางที่ 2.8 จานวนนักศึกษาทั้งหมด (5 ปีการศึกษาล่าสุด)
ปีการศึกษา
ชั้นปีที่ 1
ชั้นปีที่ 2
นักศึกษา
ชั้นปีที่ 3
ชั้นปีที่ 4
>ชั้นปีที่ 4
รวม
คาถามวินจิ ฉัย
- คุณภาพนักศึกษา
- มีการกากับดูแลและวิเคราะห์นัก ศึกษาที่ รับเข้ามาอย่างไร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
49
- นักศึกษาได้รับการคัดเลือกอย่างไร
- ใช้ นโยบายอะไรในการรั บนั กศึ ก ษาเข้ าเรี ยน มี จุด ประสงค์ที่จะเพิ่ มหรือ รั กษาจานวนที่ รับเข้ า
ให้คงที่ใช่หรือไม่ เพราะอะไร
- ใช้วิธีการใดเพิ่มคุณภาพและปริ มาณนักศึกษาที่ รับเข้า แล้วผลกระทบจากวิธีการดังกล่าวมีอะไรบ้ าง
- หลักสูตรพิจารณาระดั บผลสัมฤทธิ์ของนั กศึกษาที่ รับเข้าอย่างไร
ความสามารถในการเรี ยนหรือผลการศึกษา
- ภาควิชามีระบบหน่วยกิต หรือ ไม่ แล้วคิดคานวณหน่วยกิตอย่างไร
- มีการแบ่งภาระการเรี ยนอย่ างเท่าเที ยมตลอดปีก ารศึ กษาหรือภายในปีก ารศึก ษาใช่หรือไม่
- นักศึกษาที่มีผลการเรี ยนปานกลางสามารถเรี ยนจบหลักสู ตรตามระยะเวลาที่วางแผนไว้ได้ หรือไม่
- มีตัวบ่งชี้อะไรบ้างที่ใช้ตดิ ตามความก้ าวหน้า และการเรี ยนของนักศึ กษา
การสนับสนุนนักศึกษา
- ภาควิชามีระบบติ ดตามสาหรับบันทึ กความก้าวหน้า ทางการศึ กษาและติด ตามบัณฑิ ตที่ จบไป
หรือไม่ (เช่น แบบสารวจติดตามผล)
- ใช้ข้อมูลที่ได้จากระบบติด ตามอย่างไร
- บุค ลากรสายวิช าการมี บทบาทอะไรบ้ างในการให้ข้ อมู ล การแนะนาและบูรณาการสิ่ งเหล่านี้
เข้าไปในหลักสูตร
- นักศึกษารับทราบแผนการเรี ยนอย่างไร
- ให้ค วามใส่ ใ จในการสอนแก่ นั ก ศึ กษาชั้ น ปี ที่ 1 หรือ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ผ ลการเรี ยนระดั บต่าเป็ น
พิเศษหรือไม่ และดาเนินการอย่างไร
- มีการสนับสนุนเฉพาะเพื่อสร้างเสริ มทัก ษะทางการศึ กษาให้ แก่นักศึก ษาที่มี ปัญหาหรือไม่
- ให้ความใส่ใจในการสอนแก่นั กศึกษาที่ มีผลการเรี ยนดีแ ยกโดยเฉพาะหรือไม่
- ให้ ค ว ามช่ ว ยเหลื อ ในการจั ด ทาปริ ญ ญานิ พ นธ์ (final project) ให้ ส มบู รณ์ ห รื อ ไม่ แล้ ว
นักศึกษาที่ติดขัดเรื่องการฝึกงานหรือ ปริ ญญานิ พนธ์ส ามารถได้ รับความช่ว ยเหลืออย่ างไร
- นัก ศึก ษาได้ รับคาแนะน าเรื่ องปัญ หาที่เกิด ขึน้ ในการเลื อกรายวิช า เปลี่ ยนรายวิ ชาการติด ขั ด
หรือการเพิกถอนการเรี ยนอย่างไร
- มีการให้หรือเตรียมข้อ มูลด้านความก้ าวหน้ าทางอาชีพ ให้ แก่นักศึก ษาอย่างไร
- มีการตรวจสอบหามูลเหตุ กรณี นักศึก ษาอาจเรี ยนจบหลั กสูตรล่าช้ าหรือไม่
- นักศึกษาพึงพอใจกับงานบริก ารสนับสนุ นต่าง ๆ ที่มีหรือไม่
แหล่งข้อมูล
 กระบวนการและเกณฑ์การคัด เลือกนักศึก ษา
 แนวโน้มการรับนักศึกษาเข้าเรี ยน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
50
 ระบบหน่วยกิต
 ภาระการเรียน
 รายงานผลการศึกษาของนักศึกษา
 การมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จกรรมทางวิ ช าการ กิ จกรรมที่ ไ ม่ เกี่ ยวข้ อ งทางวิ ช าการกิ จกรรมนอ ก
หลักสูตร การจบการศึกษา ฯลฯ
 กระบวนการรายงานและให้ข้อมู ลป้อนกลับเกี่ยวกั บความก้ าวหน้ าของนักศึก ษา
 ข้อกาหนดงานบริการสนับสนุนนัก ศึกษาระดับมหาวิทยาลั ยและระดับคณะ
 แผนการสอน การอบรมและการให้คาปรึก ษา
 ข้อมูลป้อนกลับจากนักศึกษาและการประเมินผลรายวิช า
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
51
2.9 สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ และโครงสร้า งพื้นฐาน
เกณฑ์คุณภาพที่ 9
1. มี ทรั พ ยากรกายภาพที่ ใ ช้ ด าเนิ น การหลั ก สู ต รรวมทั้ ง เครื่อ งมื อ วั ส ดุ แ ละเทคโนโลยี
สารสนเทศต่าง ๆ เพียงพอ
2. มีเครือ่ งมือทันสมัย พร้อมใช้และมีประสิทธิ ภาพในการใช้ ประโยชน์
3. มีการคัดสรร กลั่นกรอง และใช้ทรัพ ยากรการเรียนกับวัต ถุประสงค์ ของหลักสู ตรที่ ศกึ ษา
ได้เหมาะสม
4. มีการติดตัง้ ห้องสมุดดิจิตอลเพื่อปรับข้อ มูลและเทคโนโลยีสารสนเทศให้ ทันสมั ยก้ าวหน้า
5. มีก ารติ ดตั้ งระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่ อตอบสนองความต้ องการของบุ คลากรและ
นักศึกษา
6. สถาบั นจัด เตรียมเครื่ องคอมพิ วเตอร์แ ละโครงสร้างเครื อข่ ายที่ สามารถเข้ าถึ งได้ ในพืน้ ที่
ในมหาวิ ทยาลั ย โดยสามารถใช้ ประโยชน์ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศส าหรับการเรียนการสอน การ
ทาวิจัย การบริการวิชาการ และการบริหารงานได้
7. มีก ารกาหนดและด าเนิ น การมาตราฐานด้ านสิ่ง แวดล้ อ ม สุข ภาพ และ ความปลอดภั ย
รวมถึงการได้รับสิทธิ์หรือ โอกาสในการเข้าถึงให้แก่ผู้ ที่มีความจาเป็นพิ เศษ
เกณฑ์คุณภาพที่ 9 – เกณฑ์ย่อย
9 สิ่งอานวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐาน
1
2
3
4
5
6
7
9.1 มีส่งิ อานวยความสะดวกที่ ใช้ในการเรียนการสอน
และอุ ปกรณ์ (ห้ อ งบรรยาย ห้ อ งเรี ยน ห้ อ งท า
โครงการ ฯลฯ) เพียงพอ และทันสมัยเพื่ อส่ งเสริ ม
การศึกษาและการทาวิ จัย [1]
9.2 มีทรั พยากรต่ าง ๆ ที่ใช้ใ นห้อ งสมุ ด เพี ยงพอและ
ทัน สมั ยเพื่ อ ส่ งเสริ ม การเรี ยนการสอน และการ
วิจัย [3,4]
9.3 มี ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารและอุ ป กรณ์ เพี ยงพอ แล ะ
ทัน สมั ยเพื่ อ ส่ งเสริ ม การเรี ยนการสอน และการ
วิจัย [1,2]
9.4 สิ่งอานวยความสะดวกทางเทคโนโลยีส ารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
52
9
สิ่งอานวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐาน
รวมถึงโครงสร้างพืน้ ฐานการเรี ยนรู้ ผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์เพียงพอและทันสมัยเพื่อส่งเสริ ม
การเรียนการสอน และการวิจัย [1,5,6]
9.5 มีการกาหนดและดาเนินการตามมาตราฐานด้าน
สิ่งแวดล้อมสุขภาพและความปลอดภัยและการ
ได้รับสิทธิ์หรือโอกาสในการเข้าถึง ให้แ ก่ผู้ที่มี
ความจาเป็นพิเศษ [7]
1
2
3
4
5
6
7
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
ข้อกาหนดเรื่ องสิ่งอ านวยความสะดวกและโครงสร้ างพืน้ ฐานนัน้ ควรสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์
ของหลักสู ตร นอกจากนีส้ ิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ควรเชื่ อมโยงกับกระบวนการเรี ยนการสอน เช่ น
การเรียนการสอนควรจัด ให้ อ ยู่ ในกรอบของความยื ดหยุ่ น หากจั ดการเรียนการสอนส าหรับกลุ่ ม เล็ ก
ควรจั ด สรรทรั พ ยากรการเรียน เช่ น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ช่ อ งทางการเข้ า ถึ ง ระบบการเรี ยนผ่ า นสื่ อ
อิเล็ ก ทรอนิ กส์ ทรั พ ยากรห้ อ งสมุ ด ฯลฯ ให้ เพี ยงพอเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของผู้ เรี ยนและ
บุคลากร
คาถามวินจิ ฉัย
- มี ห้ องเรี ยน ห้ องสั ม มนา ห้ อ งปฏิ บัตกิ าร ห้ องอ่ านหนั งสื อ และห้ อ งคอมพิ ว เตอร์ เพี ยงพอ
หรือไม่ ตอบสนองความต้องการของนักศึกษาและบุค ลากรหรือไม่
- ห้องสมุดมีอุปกรณ์สาหรับการศึก ษาและการทาวิจัยติด ตัง้ ไว้เพี ยงพอหรือ ไม่
- สามารถเข้าใช้ห้องสมุด (สถานที่และชั่วโมงทาการ) ได้ง่ายใช่หรือไม่
- มีส่งิ อานวยความสะดวกสาหรับห้องปฏิ บัตกิ ารรวมทั้งบุ คลากรเพียงพอหรือ ไม่
- ห้องปฏิบัตกิ ารมีลักษณะตามความต้องการหรือไม่
- อุปกรณ์การสอนและสื่ อการเรี ยนการสอนที่มีอยู่ เพี ยงพอกั บจานวนนั กศึกษาและบุคลากรหรือไม่
- อุ ปกรณ์ ข อ งเครื่ อ งคอ มพิ ว เตอ ร์ แ ละโปรแกรมต่ า ง ๆ ที่ มี ต อ บสนองความจาเป็ น ทาง
การศึกษาและการทาวิ จัยหรือ ไม่
- สิ่ ง อ านวยความสะดวกและโครงสร้ า งพื้ น ฐานส่ งเสริม หรือ ขั ดขวางการด าเนิ น การของ
หลักสูตรมากน้อยเพียงใด
- งบประมาณทั้งหมดสาหรั บอุปกรณ์ก ารสอนและเครื่องมือต่ าง ๆ เพียงพอหรือไม่
- สิ่งอานวยความสะดวกและโครงสร้างพื้ นฐานได้รับการบารุงรัก ษาอย่างไร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
53
แหล่งข้อมูล
 รายการสิ่งอานวยความสะดวก อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรม ฯลฯ
 บั น ทึ ก การจองสิ่ ง อ านวยความสะดวก อั ต ราการใช้ ส อ ย บั น ทึ ก ช่ ว งเวลาเครื่ อ งไม่ ทางาน
ช่วงเวลาให้บริการและชั่วโมงปฏิบัติ
 แผนซ่อมบารุง
 แผนปรับปรุงและแผนการสาหรั บสิ่งอานวยความสะดวกใหม่ ๆ
 นโยบายด้านความปลอดภั ย สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
 แผนสาหรับเหตุการณ์ฉุก เฉิน
 ข้อมูลป้อนกลับจากนักศึกษาและบุคลากร
 งบประมาณสาหรับสิ่งอ านวยความสะดวกและโครงสร้ างพืน้ ฐาน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
54
2.10 การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา
เกณฑ์คุณภาพที่ 10
1. หลั ก สูต รได้ รับการพั ฒ นาจากคาแนะนาและข้ อ มูล ป้ อนกลั บจากบุ ค ลากรสายวิช าการ
นักศึกษา ศิษย์เก่า และผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียจากภาคอุต สาหกรรม รัฐบาลและองค์กรวิชาชีพต่าง ๆ
2. มี กระบวนการออกแบบและกระบวนการพั ฒ นาหลั กสู ต รรวมถึง ทบทวนและประเมิ น
หลักสูตรเป็นระยะ ๆ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิ ทธิผลให้ดขี นึ้
3. มีการทบทวนและประเมิ นกระบวนการเรียนการสอนและการวั ดผลประเมิน ผลนักศึ กษา
อย่างต่อ เนื่ องเพื่อ สร้างความมั่น ใจว่ ากระบวนการเหล่ านัน้ สอดคล้อ งและเป็ นไปตามผลการเรี ยนรู้
ที่คาดหวัง
4. ใช้ผลผลิตที่ได้จากงานวิจัยมาส่งเสริมการเรี ยนการสอน
5. มีการประเมิ นและการปรั บปรุงคุ ณภาพงานบริการสนั บสนุ นและสิ่ งอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ (ห้องสมุด ห้องปฏิบตั กิ าร สิ่งอานวยความสะดวกด้านสารสนเทศและงานบริก ารนั กศึกษา)
6. มี ระบบและกลไกในการรวบรวมข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ รับรว มถึ ง ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บจาก
บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า และ ผู้ใช้บัณฑิต เพื่อนามาประเมินและปรั บปรุงคุณ ภาพงาน
เกณฑ์คุณภาพที่ 10 –เกณฑ์ย่อย
10
10.1
10.2
10.3
10.4
การยกระดับคุณภาพ
ใช้ความต้องการและข้อมูลป้อนกลับจากผู้ มี
ส่วนได้สว่ นเสียเป็นข้อมูลในการออกแบบและ
การพัฒนาหลักสูตร [1]
สร้างกระบวนการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร
และดาเนินการประเมินและปรับปรุง ให้ดขี ึ้ น [2]
มีการทบทวน ประเมินกระบวนการเรียนการ
สอนและการวัดผลประเมินผลนักศึก ษาอย่าง
ต่อเนื่องเพื่อยืนยันความสอดคล้องและความ
เหมาะสมตามที่กาหนดไว้ [3]
ใช้ผลผลิตที่ได้จากงานวิจัยมาปรั บปรุงการเรี ยน
และการสอนให้ดขี ึน้ [4]
1
2
3
4
5
6
7
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
55
10
การยกระดับคุณภาพ
10.5 มี ก ารประเมิ น และการปรั บปรุ ง คุ ณ ภาพงาน
บริ ก ารและสิ่ ง อ านว ยคว ามสะดว กต่ า ง ๆ
(ห้ อ งสมุ ด ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารสิ่ ง อ านวยความ
สะดว ก ด้ า น สารสน เทศ แล ะงาน บริ ก าร
นักศึกษา) [5]
10.6 มีก ารประเมิ นและปรับปรุง ระบบและกลไกการ
รับข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บเพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รับ
และข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บจากบุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา
ศิษย์เก่า และผู้ใช้บัณฑิตอย่างเป็นระบบ [6]
1
2
3
4
5
6
7
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คาอธิบาย
การส่งเสริมคุณภาพการศึกษาระดับอุด มศึก ษา หมายถึง การปรับปรุง
 ความรู้ ทักษะ และทัศนคติหรือสมรรถนะของนักศึก ษา
 สภาพแวดล้อมทางการเรียนและโอกาสของนั กศึกษา รวมทั้ง
 คุณภาพของสถาบันหรือหลักสูต ร
การส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพถื อ เป็ น การเริ่ม ต้ น วางแผนการด าเนิ น งานโดยมี วั ต ถุ ประสงค์ เพื่ อ การ
ประกันคุณภาพและการปรั บปรุง ซึ่งมีการแสวงหาวิธีการปรับปรุงและหาวิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ
มีก ารสร้างและการรั ก ษาความมั่น ใจและความเชื่ อ ถือ แก่นั ก ศึ กษาและผู้มี ส่ วน ได้ส่ ว นเสียใน
ระดับอุ ด มศึก ษาผ่านการประกัน คุ ณ ภาพที่ มี ประสิ ทธิ ภ าพและประสิ ทธิ ผลและกิ จกรรมเสริม ที่ ทาให้
มั่ น ใจว่ าหลั ก สู ต รนั้ น ได้ รับการอ อกแบบที่ ดี มี ก ารก ากั บดู แ ลและการตรวจสอบเป็ น ประจาเพื่ อ
รับประกันความสอดคล้องและคุ ณภาพที่ ใช้
การประกันคุณภาพและการปรับปรุง หลักสูต รตามความคาดหวัง รวมถึง:
- การออกแบบและกระบวนการพัฒนาหลั กสูตร
- กระบวนการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลนั กศึกษา
- ทรัพยากรสนับสนุน สิ่งอานวยความสะดวก และบริการต่าง ๆ
- การประยุกต์ใช้งานวิจัย และ
- กลไกการรับข้อมูลป้อนกลับจากผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
56
คาถามวินจิ ฉัย
การออกแบบและประเมินหลั กสูตร:
- ผู้รับผิดชอบการออกแบบหลักสูต รคือ ใคร
- บุคลากรสายวิชาการและนั กศึกษามีสว่ นเกี่ยวข้องกั บการออกแบบหลักสูต รอย่ างไร
- บทบาทของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียในการออกแบบและตรวจสอบหลักสูต รมีอะไรบ้าง
- นวัตกรรมหลักสูตรเกิดขึน้ อย่างไร ใครเป็นผู้เริ่มดาเนินการ โดยมีพนื้ ฐานมาจากตัวบ่งชี้ใด
- หลัก สูตรที่ออกแบบนัน้ มีการดาเนิน การเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์ มาตรฐานกับสถาบั นอื่ น
ๆ ให้แล้วเสร็จเมื่อใด
- ภาควิชาเข้าร่วมเครือข่ายระดั บนานาชาติใดบ้าง
- การแลกเปลี่ยนนักศึกษาเกิ ดขึน้ กับสถาบันต่างประเทศใด
- หลักสูตรได้รับความสนใจในต่างประเทศหรือไม่
- มีโครงสร้างของการประกัน คุณภาพหลักสูต รหรือไม่
- ใครมีสว่ นเกี่ยวข้องกับการประกันคุณ ภาพภายในและภายนอก
- มีคณะกรรมการหลักสูต รหรือไม่ มีบทบาทอะไรบ้าง
- มีคณะกรรมการทีเกี่ ยวข้องกับการจัดการสอบหรือไม่ มีบทบาทอะไรบ้าง
- หลักสูตรและรายวิชาต่าง ๆ ได้รับการประเมินอย่ างไร
- มีการดาเนินการประเมินอย่างเป็น ระบบหรือไม่
- มีการประยุกต์ใช้ผลผลิตที่ ได้จากงานวิจัยกั บการเรี ยนการสอนอย่างไร
- นักศึกษามีสว่ นในการประเมินหลักสูตรและรายวิชาต่ าง ๆ อย่างไร
- มีการแจ้งผลการประเมินอย่ างไร และแจ้งให้ใครทราบบ้าง
- การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการออกแบบหลักสูต รนัน้ มีก ารดาเนินการอะไรบ้าง
กลไกในการรับข้อมูลป้อนกลับ
กลไก เช่น การส ารวจ การตอบแบบสอบถาม การติ ดตามผล การสนทนากลุ่ ม การสนทนา
ฯลฯ มักจะนามาใช้เพื่อรวบรวมปั จจั ยนาเข้า (input) และข้อมูลป้อนกลับจากผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
- กลไกการรั บข้อ มูล ป้อ นกลั บที่ ใช้รวบรวมปั จจั ยนาเข้าและข้อ มูลป้ อนกลั บจากบุ คลากร นิสิ ต
ศิษย์เก่า และผู้ใช้บัญฑิตนัน้ มีกลไกอะไรบ้ าง
- แนวทางที่ ใช้ รวบรวมข้ อมู ลป้ อ นกลั บจากผู้ มี ส่ วนได้ ส่ วนเสี ยได้ รั บการจั ดการและเป็ นทางการ
หรือไม่
- คุณภาพของงานบริการสนั บสนุนและสิ่งอ านวยความสะดวกต่ าง ๆ ได้รับการประเมิ นอย่ างไร
- วิเคราะห์และใช้ข้อมูลป้อนกลั บในการปรั บปรุงอย่างไร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
57
แหล่งข้อมูล
การออกแบบ การทบทวน กระบวนการอนุมัติ และรายงานการประชุมหลักสูตร
 ปัจจัยนาเข้าของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
 การประกันคุณภาพการวัดผลและการสอบ
 ผู้ตรวจประกันคุณภาพจากภายนอก
 การเทียบเคียงสมรรถนะในประเทศและต่ างประเทศ
 ข้อมูลป้อนกลับรายวิชาและหลักสู ตร
 การใช้ข้อมูลป้อนกลับในการปรั บปรุง
 ตัวอย่างแบบสอบถามข้อมูลป้อนกลั บ
 รายงานจากการสารวจ การสนทนากลุ่ม การสนทนา การติดตามผล ฯลฯ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
58
2.11 ผลผลิต
เกณฑ์คุณภาพที่ 11
1. มี ก ารก าหนด ติ ด ตามและเทียบเคี ยงคุ ณ ภาพของผู้ ส าเร็จการศึ ก ษา (เช่ น อัต ราการ
สาเร็จการศึ ก ษา อั ตราของการออกกลางคั น ระยะเวลาโดยเฉลี่ ยในการเรียนจบการศึ ก ษา การมี
งานทา ฯลฯ) นอกจากนั้ น หลั ก สู ต รควรบรรลุ ต ามผลการเรี ยนรู้ ที่ค าดหวั ง ( expected learning
outcomes) ที่ตั้งไว้ และสนองต่อความพึงพอใจของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย (stakeholders)
2. มี ก ารก าหนด ติ ด ตามและเที ยบเคี ยงสมรรถนะในการทางานวิ จัยของนั ก ศึ ก ษาและ
งานวิจัยเหล่านัน้ ต้องตรงตามความต้องการของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
3. มีการกาหนด ติดตามและเที ยบเคี ยงระดับความพึงพอใจของบุ คลากร นั กศึกษาศิษย์เก่ า
นายจ้ าง ฯลฯ ที่ มี ต่ อ คุ ณ ภาพของหลั ก สู ตรและบัณ ฑิ ต และกลุ่ ม คนเหล่ า นี้ มี ความพึ งพอใจต่ อ
คุณภาพของหลักสูตรและบัณฑิต
เกณฑ์คุณภาพที่ 11 –เกณฑ์ย่อย
11
ผลผลิต
1
2
3
4
5
6
7
11.1 มีก ารก าหนด ติ ด ตามและเที ยบเคียงอัต ราการ
สาเร็จการศึ กษาและอั ตราของการออกกลางคั น
เพื่อใช้ในการปรับปรุง [6]
11.2 มีก ารก าหนด ติ ด ตามและเทียบเคี ยงระยะเวลา
โดยเฉลี่ ยในเรี ยนจบการศึ ก ษาเพื่ อ ใช้ ใ นการ
ปรับปรุง [1]
11.3 การก าหนด ติ ด ตามและเที ยบเคี ยงการได้ ง าน
ทาของบัณฑิตเพื่อใช้ในการปรับปรุง [1]
11.4 การกาหนด ติด ตามและเที ยบเคี ยงประเภทและ
ปริ ม าณของการทาวิ จัยของนั ก ศึก ษาเพื่ อ ใช้ ใ น
การปรับปรุง [2]
11.5 การก าหนด ติ ด ตามและเทียบเคี ยงระดั บความ
พึ ง พอใจของผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ยเพื่ อ ใช้ ในการ
ปรับปรุง [3]
ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion)
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
59
คาอธิบาย
ในการประเมิน ระบบการประกั นคุ ณภาพนัน้ สถาบั นการศึ กษาไม่เพี ยงแต่ ประเมิ นคุณ ภาพของ
กระบวนการเท่ า นั้ น ต้ อ งประเมิ น คุ ณ ภาพของผลผลิ ต และคุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ด้ ว ยในการประเมิ น
คุณภาพของบัณฑิ ตนัน้ สถาบันการศึกษาควรติดตามผลสัมฤทธิ์ของผลการเรียนรู้ที่ค าดหวั ง อัต ราการ
สาเร็ จการศึก ษาและอัตราของการออกกลางคัน ระยะเวลาโดยเฉลี่ยในการเรี ยนจบการศึก ษา และการ
ได้งานทาของบัณ ฑิ ต ทั้ งนี้ง านวิ จัยก็ ถือ ได้ว่ าเป็ นผลผลิ ตที่ สาคั ญของกระบวนการดังกล่าว นอกจากนี้
ประเภทงานวิจัยของนักศึกษาควรเป็ นงานวิจัยที่ ตอบโจทย์ ความต้องการของผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสีย
หลั งจากวิเคราะห์ปัจจัยนาเข้ า กระบวนการและผลผลิต แล้ว สถาบัน การศึก ษาควรวิเคราะห์
ความพึ ง พอใจของผู้ มี ส่ วนได้ ส่ ว นเสี ย ซึ่ง ควรจะมี ระบบเพื่ อ เก็ บรวบรวมและประเมิน ระดั บความพึ ง
พอใจของผู้มี ส่ว นได้ ส่ว นเสี ย ข้ อ มูล ที่ รวบรวมได้ ค วรนามาวิ เคราะห์ และเทียบเคี ยงเพื่ อน าไปปรั บปรุ ง
พัฒนาหลักสูตร คุณภาพของการปฏิบัตงิ านรวมถึงคุณ ภาพของระบบประกัน คุณภาพ
อัตราการสาเร็จการศึกษาและอัตราของการออกกลางคัน
ปี
การศึกษา
(ชั้นปี)
เปอร์เซ็นต์ของนักศึกษา
ที่จบปริญญาภายใน
มากกว่า
3ปี
4ปี
4 ปี
เปอร์เซ็นต์ของนักศึกษาที่ออกกลางคัน
ระหว่างการศึกษา
ชั้นปีที่ 4
ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3
ขึน้ ไป
คาถามวินจิ ฉัย
อัตราการสาเร็จการศึกษาและอัตราของการออกกลางคัน
- สถาบั น การศึก ษามี ระบบที่ มีประสิ ทธิ ภาพเพื่ อ ใช้ ในการตรวจสอบติ ดตามอัต ราการส าเร็ จ
การศึกษาและอัตราของการออกกลางคัน หรือไม่
- สาขาวิ ชาคิ ดอย่างไรกับอั ตราการส าเร็ จการศึ กษา หากอยู่ในระดับที่ไม่ นา่ พึงพอใจสาขาวิช า
มีมาตรการอะไรในการปรั บปรุงอัตราการส าเร็จการศึก ษาให้ดี ขนึ้
- อั ต ราการออกกลางคั น เป็ น เท่ าใด ทางสาขาวิ ชามี ค าชี้ แ จงเกี่ ยวกับการออกกลางคั น ของ
นักศึกษาหรือไม่
- สาขาวิ ชาทราบหรือ ไม่ ว่านั กศึ กษาที่อ อกกลางคั น นัน้ ไปทาอะไร ระยะเวลาโดยเฉลี่ ยในการ
เรียนจบการศึกษา
- สาขาวิชาได้มีการคาดการณ์ เวลาโดยเฉลี่ ยในการเรี ยนจบการศึ กษาว่าใช้ ระยะเวลาเท่าใด
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
60
- มาตรการอะไรที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาเรี ย นจบการศึ ก ษาและมาตรการอะไรที่ ย่ น
ระยะเวลาในการจบการศึกษาให้สนั้ ลง
- ผลกระทบจากมาตรการเหล่ านัน้ มีอ ะไรบ้ าง
คุณภาพของบัณฑิต
- คุณภาพของบัณฑิตอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจหรือไม่
- มาตรฐานที่บรรลุผลสอดคล้องกั บมาตรฐานที่ค าดหวังหรือไม่
- เมื่ อ เรียนจบ บั ณ ฑิ ต ได้ งานทาในทั น ทีหรื อ ไม่ อะไรคื อ โอกาสในการได้ ง านทาของบั ณ ฑิ ต
ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
การมีงานทาของบัณฑิต
- อัตราของบั ณฑิต ที่หางานได้ ภายใน 6 เดื อนหลังจากจบการศึก ษาในช่วง 5 ปีทีผ่ ่ านมาคิดเป็ น
กี่เปอร์เซ็นต์ และอัตราของบัณฑิตที่หางานได้ ภายใน 1 ปีคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์
- อัตราของบัณฑิตที่ยังไม่มีงานทาช่วง 1 ปีหลังจากจบการศึกษาคิดเป็นกี่ เปอร์เซ็น ต์งานวิจัย
- นัก ศึก ษาทางานวิ จัยประเภทใด และงานวิจัยเหล่านัน้ สอดคล้ องกับผลการเรี ยนรู้ที่คา ดหวั ง
และวิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิ ทยาลั ยและของคณะหรือ ไม่
ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
บุคลากร
- มี วิ ธี ก ารหรือ กลไกอะไรที่ ให้ บุ ค ลากรแสดงความพึ ง พอใจหรื อ ไม่ พึ ง พอ ใจต่ อ หลั ก สู ต ร
ทรัพยากรทางการศึก ษา สิ่งอานวยความสะดวก กระบวนการ นโยบายฯลฯ
- ตัวชี้วัดอะไรที่ใช้เพื่อวัดผลและติดตามระดั บความพึงพอใจของบุค ลากร
- มีการวางแนวทางปฏิ บัตอิ ะไรบ้ างที่ จะเพิ่มระดับความพึง พอใจของของบุค ลากรและแนวทาง
เหล่านัน้ มีประสิทธิผลหรือไม่
นักศึกษา
- สาขาวิช าได้มี ก ารสารวจว่ านั กศึ ก ษามีค วามคิด เห็ นอย่างไรต่ อวิ ชา หลัก สู ตร การเรียนการ
สอน การสอบ
- สาขาวิชามีวิธีการจัดการกับข้อมูล ป้อนกลั บและข้อร้องเรี ยนจากนัก ศึกษาอย่ างไร
ศิษย์เก่า (บัณฑิต)
- ความคิ ด เห็ น และข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ ของบั ณ ฑิ ต เกี่ ยวกั บสมรรถนะที่ บัณ ฑิ ต พึ งประสงค์ มี
อะไรบ้าง
- ข้อมูลป้อนกลับจากศิษย์เก่า จะน ามาใช้ ในการปรั บปรุงหลักสู ตรอย่างไรบ้าง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
61
ตลาดแรงงาน
- นายจ้างพอใจกับคุณภาพของบัณฑิต หรือ ไม่
- มีข้อร้องเรียนที่เฉพาะเจาะจงเรื่องใดบ้ างเกี่ ยวกับบัณฑิต
- จุดแข็งที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของบั ณฑิตเป็นที่ พึงพอใจของนายจ้ างหรือไม่
แหล่งข้อมูล
 กระบวนการและตัวชี้วัดในการวัดความพึงพอใจของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสี ย
 แนวโน้มความพึงพอใจของผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
 แบบสอบถามที่ได้จากบัณฑิต ศิษย์เก่า นายจ้าง
 รายงานด้านประชาสัม พันธ์
 แบบสอบถามการภาวการณ์มีง านทา
 สถิตกิ ารจ้างงาน
 ข้อมูลป้อนกลับของนายจ้าง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
62
3. การประเมินคุณภาพ
3.1 คานา
การประเมิ นคุณ ภาพ หมายถึ ง ข้อ ตกลงทั่ว ไปที่ นาแนวทางต่า ง ๆ มาใช้ ในการประเมิ นศัก ยภาพ
ของบุ คคล ของกลุ่ ม หรือขององค์กร อนึ่ ง การประเมิน ตนเอง คื อ กระบวนการตรวจสอบหรือทบทวน
คุณภาพศักยภาพของตนเองในระบบของสถาบันการศึกษาหรือในระดั บหลักสูตร
สาหรับการประเมิ น คุณ ภาพในระดั บอุ ด มศึก ษานั้ น หมายถึ ง การตรวจส อบวินิ จฉั ยและการ
ประเมิน ผลการสอน การเรี ยนรู้ และผลลั พธ์ ที่ ขนึ้ อยู่กั บการตรวจสอบของหลั กสู ตรโดยละเอียดทั้ งใน
เรื่อ งโครงสร้ าง ทรัพ ยากรทางการศึก ษา และประสิ ทธิ ผ ลของสถาบั นการศึ กษา ระบบหรื อหลั กสู ต ร
เป็ น ต้ น ทั้ งนี้ มี จุด ประสงค์ เพื่ อ ระบุ ว่ า สถาบั น การศึ ก ษาระบบหรื อ หลั ก สู ตรสอดคล้ องกั บมาตรฐาน
คุณภาพที่เป็นที่ยอมรั บหรือไม่
3.2 หน้าที่และหลักการของการประเมินคุณภาพ
การประเมิ น ตนเองส าหรั บสถานศึ กษาในระดั บอุ ด มศึ ก ษาได้ น ามาใช้ ค วบคู่ กั บการประเมิ น
การรั บรอง หรือ การตรวจสอบคุ ณ ภาพจากภายนอก ในหลาย ๆ กรณี การประเมิ นตนเองเป็น การ
เตรี ยมการส าหรับการมาประเมิ น ของผู้ เชี่ยวชาญจากภายนอก และรายงานการประเมิ นตนเอง ( SAR)
ยัง เป็ นการให้ข้ อ มู ลแก่ ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเกี่ ยวกั บสถาบัน หลั ก สูต รและระบบประกั นคุ ณ ภาพ
รวมถึง เป็ นการเปิด โอกาสให้ สถาบั นและบุค ลากรในสัง กัด ทาความเข้าใจกั บคุ ณ ภาพของระบบประกั น
คุณภาพของหน่วยงานของตน
การประเมิ นตนเองที่ มีประสิทธิภ าพ คือ การใช้เวลากับความทุ่ม เทในการทางานและเวลาจาก
บุค ลากร อย่ า งไรก็ ต าม ประโยชน์ จากการประเมิ น ตนเองที่ ดี นั้ นย่ อ มมี คุณ ค่า ข้ อ มู ล และข้อ เท็จจริ ง
ต่างๆ เกี่ ยวกั บระบบประกั นคุณ ภาพจะมีประโยชน์แ ละใช้เป็น หลั กการให้ กับผู้ มีส่ ว นได้ ส่วนเสียที่จะใช้ใ น
การอภิปรายประเด็นต่ าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของการศึก ษา
หลั ก การเบื้ อ งต้ น ที่ได้ ระบุไ ว้ ในมาตรฐาน ISO 19011 มีค วามเกี่ยวข้อ งกับการประเมิ น ตนเอง
และการประเมิ น โดยใช้เกณฑ์ AUN-QA: หลัก การ 3 ประการที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บการปฏิ บัติ ข องผู้ ประเมิ น
ได้แก่
 หลักปฏิบัตดิ ้านจรรยาบรรณ – เป็นรากฐานของความเป็นมืออาชีพ
 การน าเสนอที่ ยุติ ธ รรม – คื อ หน้ าที่ ที่ต้ อ งรายงานการประเมิ น ตามจริ ง และถู ก ต้ อ งแม่ น ยา
และ
 ปฏิบัตงิ านอย่างมืออาชีพ – ใช้ความอุตสาหะและการพิจารณาตัดสิ นใจในการประเมิ น
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
63
นอกจากนีย้ ังมีหลักการอื่น ๆ อีก 2 ประการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการประเมิ น คือ
 ความเป็ น อิ ส ระ – เป็น พื้ น ฐานส าหรั บความเสมอภาคและความเป็ น กลางของการสรุ ปการ
ประเมิน และ
 หลั กฐาน – เป็ น พืน้ ฐานที่เป็น เหตุ เป็ นผลในการสรุ ปการประเมิ นที่ น่ าเชื่ อ ถือ และนามาใช้ได้ ใ น
ครั้ งต่ อไปในกระบวนการประเมิ นที่ เป็ นระบบ นอกจากนี้ หลั กฐานต่า ง ๆ นั้ น ขึน้ อยู่ กัน บัน ทึ ก
และรายงานข้อเท็จจริงที่ เกี่ยวข้องกั บเกณฑ์ก ารประเมินและควรจะต้องเป็น จริงตรวจสอบได้
การยึด หลั กการเบือ้ งต้ นเหล่านี้เป็น สิ่งที่ ตอ้ งทาก่ อนเพื่ อที่ จะก าหนดกระบวนการ การประเมิ น
และผลลัพธ์ที่น่าเชื่อถือซึ่งมีความสอดคล้องสั มพันธ์กัน
ประเด็นที่ควรพิจารณาก่อนที่จะทาการประเมิน ตนเอง
 จะต้ อ งวางแผนการจั ด การ ซึ่ง หากมี ก ารจัด การที่ ดี แ ล้ ว จะช่ วยให้ การประเมิ น ตนเองเข้ า ถึ ง
ข้อ มู ล ที่ เกี่ ยวข้ อ งและที่ จาเป็ น ต่ อ ระบบการประกั น คุ ณ ภาพที่ มี ประสิ ทธิ ภ าพ การประเมิ น
ตนเอ งจะน าไปสู่ ค ว ามเข้ า ใจแบ บแผ นขั้ น ต อ นก ารด าเนิ น ง านแล ะศั ก ยภ าพ ขอ ง
สถาบันการศึกษา
 การได้ รับความช่ว ยเหลื อเพียงแค่ในเรื่ องการจั ดการของการประเมิ นตนเองนัน้ ไม่ เพี ยงพอ ทั้ ง
องค์ กรต้อ งเตรียมตั วเองในเรื่อ งของการประเมิ นตนเอง การประเมิ นคุ ณ ภาพนั้ นเป็ นมากกว่ า
การประเมิ น ศั ก ยภาพของหลั ก สู ต ร แต่ ยังหมายถึ ง การพั ฒ นาและการวางโครงสร้ า งของ
สถาบั นการศึก ษาซึ่ง บุค ลากรควรมี ส่ว นในการรั บผิ ด ชอบคุ ณภาพ และบุค ลากรทุก คนควรมี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการประเมินตนเอง
 การเขียนรายงานการประเมิ นตนเองควรอยู่ภ ายใต้ก รอบของความเป็ นเหตุเป็ นผลที่ สอดคล้อ ง
กับระบบประกัน คุณ ภาพซึ่งต้ องมี องค์ประกอบและความร่วมมือ ที่ดสี ิ่ งสาคัญ ก็คื อ ต้ องมี ผู้น า
เพื่ อ ท าหน้ า ที่ ประสานงานกระบวนการประเมิ น ตนเอง ผู้ น าที่ ไ ด้ รับ เลื อ กมานั้ น ควรมี
ความสามารถในด้ า นการติ ดต่ อ ประสานงานภายในสถาบัน การศึ ก ษาซึ่ง รวมถึ ง การติ ด ต่ อ
ประสานกั บเจ้ าหน้า ที่ เกี่ ยวข้ องกั บการบริหารจั ดการ คณะและเจ้ าหน้ าที่ ฝ่ายสนั บสนุ น และ
ผู้นานัน้ ต้อ งเป็ นผู้ ที่ส ามารถเข้ าถึ งข้อ มูล ที่ต้ องการได้ ในทุ กระดั บ และมีหน้า ที่ในการนั ดหมาย
กับผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
 ควรมี ก ารจั ด ตั้ งคณะทางานที่ มี หน้ า ที่ รับผิ ด ชอบในการประเมิ น ตนเอง โดยคณะทางานจะ
เกี่ยวข้ องกับทุก ภาคส่ วน หน้า ที่รับผิ ดชอบของคณะทางาน คื อ การประเมิ น ตนเอง รวบรวม
และวิเคราะห์ข้อมูลและรวบรวมข้อสรุปต่ าง ๆ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
64
 การประเมิน ตนเองนัน้ ควรได้รับการสนับสนุน จากสถาบั นการศึ กษา สิ่ง สาคัญ คือ บุค ลากรทุ ก
คนควรคุ้ น เคยกั บเนื้ อ หาของรายงานการประเมิ น ตนเอง คณะทางานอาจจะมี ก ารจั ด การ
ประชุ ม เชิง ปฏิบัติ การหรื อสั ม มนา เพื่ อ อภิ ปรายหารื อ เกี่ ยวกั บการจั ดทารายงานการประเมิ น
ตนเอง
3.3 การเตรียมรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
จากตาราง 3.1 ระบุ ถึงวิ ธีก ารในการเตรี ยมรายงานการประเมิน ตนเอง ซึ่ง สรุ ปได้ เป็ นสี่ ขั้น ตอน
เรียกว่า วงจรคุณภาพ Plan-Do-Check-Act (PDCA)
ตาราง 3.1 – แสดงวิธีการ PDCA เพื่อใช้ในการพัฒนา SAR
การจัดการการเปลี่ยนแปลง
“Plan” (วางแผน) คื อ การก าหนดจุ ด ประสงค์ ข องการประเมิ น คุ ณ ภาพ ควรมี ก ารแต่ งตั้ ง
คณะทางานเพื่ อจั ด ทาร่างรายงานการประเมิ น ตนเองขึ้ น มา ซึ่ งคณะทางานนี้ประกอบไปด้ วยบุค คลที่
เป็ น ตั ว แทนจากหลายสาขาวิ ช า มี ผู้ น าที่ ไ ด้ รับการแต่ ง ตั้ ง มาจากคณะหรื อ จากทางมหาวิ ทยาลั ย
เนื่ อ ง จากการจั ด ท าร่ า ง รายงานการประเมิ น ตนเอง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ขอ งกระบวนการบริ หารการ
เปลี่ยนแปลง การติ ด ต่อ ขอทราบข้ อ มู ลกั บผู้ มี ส่ว นได้ ส่ วนเสียเป็ น สิ่ งส าคัญ ที่จะทาให้ ไ ด้ข้ อ มู ลความ
ต้องการหรื อข้อ ผูกพั นต่าง ๆ ก่ อนที่ จะเริ่ มเขียนรายงานการประเมิน ตนเอง นอกจากนีค้ วรมีต ารางเวลา
เพื่อกาหนดระยะเวลาในการเขี ยนรายงานการประเมิ นตนเอง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
65
สมาชิกในคณะทางานมี หน้ าที่ในการเก็บและวิเคราะห์ ข้อมู ลต่า ง ๆ รวมทั้งช่ วยกั นเขียนรายงาน
การประเมิน ตนเอง ซึ่ งในขั้ นแรกนัน้ สมาชิก แต่ ละคนควรมี ความรู้ค วามเข้ าใจเกี่ ยวกับเกณฑ์คุ ณ ภาพ
AUN-QA ก่อนที่จะเริ่มลงมือทางานในขั้นตอนต่อ ไป
ตารางที่ 3.2 ตารางเวลากาหนดระยะเวลาในการเขียนรายงานการประเมินตนเอง
กิจกรรมการปฏิบัติงาน / เดือน
1
2
3 4
5 6 7
วันกาหนด
8 9 10 11 12 ส่งงาน
วันสุดท้าย
ผู้ที่ได้รับ
สถานะ
มอบหมาย
P
L
A
N
พู ด คุ ย เ พื่ อ ก า ห น ด
วัตถุประสงค์
จัดตั้งคณะทางาน
จัดทาแผนการดาเนินงาน
ทาความเข้ าใจเกณฑ์ และ
กระบวนการของ AUNQA
D ประเมินตนเอง
O เก็ บ ข้ อ มู ล และหลั กฐาน
ต่างๆ
ตรวจสอบข้อบกพร่อง
เขียนรายงานการประเมิ น
ตนเอง
ตรวจท านรายงานกา ร
ประเมินตนเอง
C ทบท วน และต รวจสอ บ
H รา ยง า น ก า ร ป ร ะ เมิ น
E ตนเอง
C
K รวบรวมข้อมูลป้อนกลับ
A ปรับปรุงคุณภาพ
C จั ด ท า SAR ใ ห้ เ ส ร็ จ
T สมบูรณ์
พูดคุย แลกเปลี่ยนเกี่ยวกั บ
รา ยง า น ก า ร ป ร ะ เมิ น
ตนเอง
เตรียมพร้อมนาเสนอ
ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร
เปลี่ยนแปลง
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
66
“Do” (ปฏิ บัติ ) ในขั้ น ตอนนี้ ค ณะทางานจะระบุ ข้ อ บกพร่ อ งของระบบการประกั น คุ ณ ภาพที่
เกี่ยวข้ องกับเกณฑ์ AUN-QA สิ่ งส าคั ญ คือ ขั้ นตอนการเก็บข้อ มูล เนื่อ งจากจะช่ว ยในการหาจานวน
ของข้ อ ปฏิ บัติ ข องการประกั น คุ ณ ภาพพร้ อ มทั้ ง ช่ ว ยในการพิ จารณาว่ า สถาบั น การศึ ก ษาต้ อ งการ
อะไรบ้างเพื่ อให้สอดคล้อ งกั บเกณฑ์ AUN-QA ทางออก คื อ การลงมื อแก้ไขข้อ บกพร่อ งก่ อนที่จะไปสู่
ขั้นตอนการเขียนและทบทวนรายงานการประเมินตนเอง
“Check” (ตรวจสอบ) คือ การตรวจทานรายงานการประเมิน ตนเอง และข้อ ปฏิ บัตใิ นเรื่ องการ
ประกั นคุ ณภาพ รวมไปถึง การให้ข้ อมู ลป้ อนกลับและปรับปรุ งแก้ไ ข คณะทางานอีก ชุด หนึ่ งจะมี หน้ า ที่
ช่ ว ยก าหนดการประเมิ น รายงานการประเมิ น ตนเอง และข้ อ ปฏิ บัติ ใ นเรื่ อ งการประกั น คุ ณ ภาพให้
สอดคล้ อ งกั บเกณฑ์ AUN-QA นอกจากนี้ คณะทางานชุด นี้ ควรมีข้ อแนะน าเพื่ อปรับปรุง รายงานการ
ประเมินตนเอง และแก้ไขข้อปฏิบัตทิ ี่บกพร่องในเรื่องการดาเนินการประกันคุณ ภาพที่ใช้อยู่ ปัจจุบัน
“Act” (ปรั บปรุง ) คื อ การน าเอาข้ อแนะนาต่า ง ๆ จากขั้น ตอนตรวจสอบมาแก้ ไข และทบทวน
ตรวจทานรายงานการประเมิ น ตนเอง อี ก ครั้ ง ก่อ นที่จะมอบรายงานการประเมิ นตนเองฉบั บสมบู รณ์
ให้แก่ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียได้ศึกษาเพื่อเตรี ยมพร้อมส าหรับการประเมินคุณ ภาพจากภายนอก
3.4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
โดยปกติ แ ล้ว การประเมิน ตนเองนั้ นใช้ระยะเวลาประมาณ 9 เดื อ นหรื อ 1 ปี ในการเตรียมการ
อย่างไรก็ตาม ระยะเวลาดั งกล่ าวก็ ขึน้ อยู่ กับระยะเวลาของการจั ด ทาความพร้อ มของข้ อมู ล และความ
พร้อ มของมหาวิ ทยาลัยหรื อคณะ ในขั้น ตอนแรก สิ่ง สาคัญ คื อผู้ สนั บสนุน คณะทางาน และบุ คลากร
ความมี ความเข้ า ใจเบื้ อ งต้ น เกี่ ยวกั บแนวทางและเกณฑ์ คุ ณ ภาพ AUN-QA ควรมี ก ารจั ด อบรมและ
พูด คุ ยแลกเปลี่ ยนข้ อ มูล อนึ่ ง รายงานการประเมิ น ตนเองนั้ นเป็น ผลผลิต ของการด าเนิ นการประเมิ น
ตนเอง และควรจะประกอบไปด้ วย การระบุ วัต ถุประสงค์ ข้ อเท็ จจริ งและรู ปแบบที่ สมบู รณ์ รวมทั้ง ควร
เป็นไปตามรายการตรวจสอบ การประเมินตนเองที่สอดคล้องกับเกณฑ์ AUN-QA (ดูภาคผนวก A)
รายงานการประเมิ น ตนเองเป็ น ผลที่ เกิ ด ขึ้ น จากการประเมิ น ตนเอง การเขี ยนรายงานการ
ประเมิ นตนเองให้มี ประสิ ทธิ ภาพนั้ น ต้อ งอาศั ยทั กษะการเขียนและเวลา แนวทางการเขี ยนรายงานการ
ประเมินตนเอง ให้มีประสิทธิภาพมีดังนี้ :
 รายงาน คือ การเขียนสิ่ง ที่เกิ ดขึ้ นจากการประเมิน ตนเอง กล่ าว คือ การเขียนรายงานนัน้ ไม่ได้
แค่ เป็ น การบรรยายแต่ ค วรเป็ น การเขี ยนเชิ งวิ เคราะห์ และรวมถึ งการประเมิ น ปัญ หาต่ าง ๆ
นอกจากนี้ ก ารเขียนรายงานจะต้ อ งระบุ ว่ า หลั ก สู ต รใช้ วิ ธี ก ารอะไรมาแก้ ไขปั ญ หา ควรใช้
คาถามวินิจฉัยที่ระบุไว้ในเกณฑ์คุ ณภาพ AUNQAของแต่ละเกณฑ์มาเป็นแนวทางในการเขี ยน
 เนื่ อ งจากการประเมิ น ตนเองเป็ น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ สู ง สุ ด ส าหรั บกรรมการประเมิ น จากภายนอ ก
ดังนั้ นควรยึด รูปแบบหรือ แบบฟอร์มของการเขียนรายงานการประเมิน ตนเอง ตามเกณฑ์ และ
รายการตรวจสอบของ AUN-QA
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
67
 ควรเขียนระบุ ให้ ชัด เจนถึง ปรากฏการณ์ ที่เกิ ด ขึน้ เช่น เวลา สถานที่ บุ คคลต่ า ง ๆและกลไก
คุณ ภาพหรือเครื่ องมื ออะไรที่น ามาใช้ ในการประกอบเกณฑ์ ประเมิ น ซึ่ งการทาเช่น นี้จะช่ว ยใน
การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
 มุ่งให้ค วามส าคั ญ กับข้อ มูล (ข้ อเท็จจริ ง) ที่อ้ างถึงเกณฑ์ โดยตรง รายงานควรสั้น กระชั บและ
เขียนรายงานตามจริง ซึ่ง ประกอบไปด้ วยแนวโน้ มและข้อ มูล ทางสถิ ตเิ พื่อ ที่จะแสดงให้ เห็น ถึ ง
ผลสัม ฤทธิ์ และศั กยภาพ และต้ องให้ ความสาคั ญเป็ นพิเศษกับข้อมู ลเชิง ปริมาณ และสิ่ง สาคั ญ
ก็คื อ ควรมี ก ารตี ค วามข้ อมู ล ที่ ถู ก ต้อ ง และควรมีก ารเที ยบมาตรฐานของข้อ มู ล ต่ าง ๆ เช่ น
จานวนนั ก ศึ กษา การประชุ ม ของบุ ค ลากรสายวิ ช าการ สั ด ส่ วนของบุ ค ลากรต่ อ นั ก ศึ ก ษา
อัตราการสาเร็จการศึกษา ฯลฯ
 การประเมิน ตนเองถือ ว่าเป็ นจุ ดเริ่ม ต้น ของการปรับปรุ งที่ เกี่ ยวข้อ งคณะกรรมการ และคณะ
รวมทั้ งเอกสารจากการประเมิ น ระหว่ า งสถาบั น การศึ ก ษา เมื่ อ ทาการประเมิ น ตนเอง ควร
ก าหนดมาตรฐานและเกณฑ์ ขอ ง สถาบั น การศึ ก ษาเอ ง แต่ ทั้ ง นี้ เกณ ฑ์ ที่ ตั้ ง ขึ้ น จาก
บุ ค คลภายนอกก็ มี ค วามส าคั ญ เช่ น หน่ ว ยงานที่ รับรองระบบงาน เมื่ อ ท าการวิ เคราะห์
คุณ ภาพของสถาบั นการศึ กษาของตนเองจาเป็น ต้ องมี หลั ก ฐานว่ า เกณฑ์ค รอบคลุม มากแค่
ไหน หากไม่ มีม าตรฐานที่ก าหนดใช้ใ นประเทศอย่างเป็ นทางการ ก็ ส ามารถใช้ มาตรฐานที่ ระบุ
ไว้ในคู่มือฉบับนี้เพื่อใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐาน
 รายงานการประเมิ นตนเอง นัน้ ควรเขียนและแปลอย่างน้อ ยอี ก หนึ่ งภาษา (เช่น ภาษาอัง กฤษ)
เพื่อ ให้ ง่ ายต่อ การเข้าใจของผู้ ประเมิน จากภายนอก นอกจากรายงานแล้ว ควรมีอ ภิ ธานศั พ ท์
ของอักษรย่อและคาศัพท์เฉพาะทางต่ าง ๆ ที่ปรากฏในเล่มรายงาน
รายงานการประเมิ นตนเองเป็ นเอกสารฉบับสมบูรณ์ที่มีส่ วนส าคั ญในการก าหนดแผนคุณ ภาพ
ในปีตอ่ ๆ ไป ซึ่งจะเป็นข้อมูลสาหรับการรั บรองหรือ เป็ นการประเมิน ระหว่างสถาบันการศึก ษา
เนื้อหาของรายงานการประเมินตนเอง ควรประกอบไปด้วย:
ส่วนที่ 1 คานา
 แนวทางการเขียนบทสรุ ปสาหรั บผู้ บริ หาร ของรายงานการประเมินตนเอง
 องค์ ประกอบของการประเมิ น ตนเอง – การด าเนิน การประเมิ น ตนเองเป็ น อย่ างไรและมี ใ คร
เกี่ยวข้องบ้าง
 ข้อ มู ล โดยย่ อ ของมหาวิ ทยาลั ย คณะและสาขาวิ ช า โครงร่างความเป็ น มาของการประกั น
คุณ ภาพ พั นธกิ จ วิ สั ยทั ศ น์ จุ ด ประสงค์ และนโยบายคุณ ภาพของมหาวิ ทยาลั ย พร้ อ มทั้ ง
ข้อมูลโดยย่อของคณะและสาขาวิชา
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
68
ส่วนที่ 2 เกณฑ์ AUN-QA
ส่ ว นนี้ ประกอ บด้ ว ยการเขี ยนอธิ บ ายว่ า มหาวิ ทยาลั ย คณะ หรื อ สาขาวิ ช าระบุ เกี่ ยวกั บ
ข้อ ก าหนดของเกณฑ์ AUN-QA อย่ า งไร ตามด้ ว ยเกณฑ์ ที่ระบุ ในรายการตรวจสอบของการประเมิ น
ตนเอง
ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
 บทสรุปของจุ ดแข็ง – สรุ ปเกี่ยวกับประเด็ นที่ ภาควิ ชามองว่าเป็น จุด แข็ งและเป็น สิ่งที่ เป็ นความ
ภูมิใจของสถาบันการศึกษา
 บทสรุ ปของจุ ด อ่ อ น – ระบุ เกี่ ยวกั บประเด็ น ที่ ภาควิ ช า เห็ น ว่ า เป็ น จุ ด บกพร่อ งและต้ อ งการ
ปรับปรุงแก้ไข
 รายการตรวจสอบการประเมินตนเองฉบั บสมบูรณ์ ตามที่ระบุไว้ใน ภาคผนวก A
 แผนการพั ฒ นาปรั บปรุ ง – ระบุ เกี่ ยวกั บข้ อ แนะน าต่ า ง ๆ ในการแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งในการ
ประเมินตนเอง และแผนการปฏิบัตงิ านในการปรั บปรุงข้อบกพร่องนัน้ ๆ
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
อภิธานศัพท์และเอกสารอ้างอิงเพิ่มเติม
3.5 การเตรียมตัวสาหรับการประเมินคุณ ภาพ
การจะเข้ าสู่ก ระบวนการประเมิ น คุณ ภาพต้ องมีก ารเตรียมการที่ ดี มหาวิ ทยาลั ยควรจะสารวจ
ทรั พ ยากรทางการศึ ก ษา และเตรี ยมบุ ค ลากรก่ อนที่ จะเข้ าสู่ ก ารประเมิ น การเตรี ยมการประกอบไป
ด้วยการเตรียมและศึก ษาเอกสารรายงานการประเมิ นตนเองรวมถึงเอกสารอื่ น ๆ ที่เกี่ ยวข้ อง พร้อ มทั้ ง
เตรี ยมการในด้ า นต่ าง ๆ เช่ น คณะผู้ ปฏิ บั ติ งาน ผู้ รับการสั ม ภาษณ์ คณะผู้ ประเมิ น การจั ด เตรี ยม
อุ ปกรณ์ และการเตรี ยมการด าเนิ น งานต่ า ง ๆ ฯ ลฯ ก่ อ นที่ จะขอรั บการประเมิ น สิ่ ง ส าคั ญ คื อ
ผู้รับผิด ชอบจะต้ องประสานงานแจ้งจุ ดประสงค์ให้แ ก่ผู้ มีส่ วนได้ส่ วนเสี ยที่ เกี่ ยวข้ อง เพื่ อเป็น การสร้าง
ความเข้าใจในเรื่อ งของเหตุ ผ ลและจุด ประสงค์ ของการประเมิ นในขณะเดี ยวกัน เพื่อ ให้ บรรลุ เป้าหมาย
ของการประเมิน ควรจั ดสรรเวลาที่เหมาะสมให้กั บผู้ ประเมิ น เพื่อ ที่จะเตรียมพร้อมสาหรั บการประเมิ น
คุณภาพและทาความเข้าใจเกณฑ์ต่าง ๆ
วัต ถุ ประสงค์ ข องการประเมิ น ไม่ ได้ อ ยู่ ที่ค ะแนนการประเมิ น แต่ อ ยู่ ที่การปรับปรุ ง ระบบการ
ประกัน คุณ ภาพอย่ างต่อ เนื่อ งจนบรรลุผ ล เนื่อ งจากโดยส่ วนใหญ่ ก ารประเมิ นขึ้ นอยู่กั บหลัก ฐานที่ เป็ น
รูปธรรม มหาวิ ทยาลั ยจึ ง ต้ อ งจั ด ทารายงานการประเมิ น ที่ เรี ยบเรียงไว้ เป็ น อย่ างดี พร้ อ มทั้ งเตรี ยม
เอกสารส าคั ญ และบั นทึ ก ข้ อ มู ล สาหรั บการประเมิ น ควรจั ดเตรียมข้ อ มูล เกี่ ยวกั บมหาวิ ทยาลั ยและ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
69
หลั ก สูต รเพื่ อน าเสนอต่ อคณะผู้ประเมิ น เพื่อ ให้ ค ณะผู้ ประเมิ น ได้ เข้ าใจภาพรวมของประวัติ นโยบาย
วิสั ยทั ศ น์ พั น ธกิ จ และหลัก สู ต รต่า ง ๆ ของมหาวิ ทยาลั ยควรแปลรายงานการประเมิ น ตนเอง และ
เอกสารส าคั ญทั้ งหมดเป็ นสานวนที่ค ณะผู้ประเมิ นเข้าใจได้โดยง่าย หากจาเป็น อาจมีก ารแนะน าตัว ล่าม
ในระหว่ างการประเมิน การทางานจริง ควรจั ด ส่ง ส าเนารายงานการประเมิ นที่ แ ปลเรี ยบร้ อยแล้ว ให้ แ ก่
คณะผู้ประเมินล่วงหน้าก่อนการประเมินการทางานจริงอย่างน้อ ยหนึ่ง เดือนครึ่งถึงสองเดือน
ทางมหาวิทยาลั ยควรกาหนดตัว แทนฝ่า ยบริหาร คณะผู้จัด ทารายงานการประเมิน ตนเองและผู้
แนะนาให้เป็ นผู้ รับผิ ดชอบในการจั ดการประเมิ น ตั วแทนฝ่ ายบริหารสามารถเป็น ผู้ก าหนดข้ อตกลงและ
ให้ การสนั บสนุ น การประเมิ น และการน าเสนอของมหาวิ ทยาลั ย คณะ หรื อหลั ก สูต รได้ คณะผู้จัด ทา
รายงานการประเมิ น ตนเอง ควรน าเสนอค าชี้ แ จงเกี่ ยวกั บรายงานการประเมิน ตนเอง และทาหน้ า ที่
ติ ด ต่ อ ประสานงานเพื่ อ ด าเนิ น กิ จการดั ง กล่ า ว ล่ า มควรพร้ อ มที่ จะน าผู้ ประเมิ น ไปยั ง สถานที่ ที่ไ ด้
จัด เตรียมไว้ต ลอดจนเตรี ยมเอกสารและหลั กฐานต่ างๆ ให้ พ ร้อ มและทาหน้ าที่ ประสานงานระหว่างผู้
ประเมิน และคณะทางานของคณะหรือ มหาวิ ทยาลัย ล่ ามอาจเข้าร่ว มทาหน้ าที่ แปลเอกสารและคาถาม
หรื อค าตอบในการสั มภาษณ์ เตรี ยมความพร้ อมและแจ้ งผู้ ให้ สั มภาษณ์ ให้ ทราบล่ ว งหน้า เกี่ ยวกั บการ
ประเมินที่ จะจัด ขึน้ ผู้ให้ สัมภาษณ์ ตอ้ งรับรู้ ถึงเจตนาและวั ตถุประสงค์ข องการประเมิ น ควรเชิญ ผู้บริหาร
ตัวแทนบุค ลากรที่น่ าเชื่ อถื อ และนั กศึ กษาให้ เข้ าร่ว มการจัด การประเมิ น ควรเชิ ญ บุค คลภายนอก เช่ น
ศิษย์เก่า ผู้ประกอบการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียอื่น ๆ ให้เข้าร่วมการสัมภาษณ์
อาจพิจารณาให้ผู้ เชี่ยวชาญจากคณะที่ มีส าขาที่วิ ชาที่สั มพัน ธ์กั นเป็นผู้ ประเมิ นภายในอย่างไรก็
ตาม ผู้ประเมินแต่ละคนต้องปฏิบัตติ ามบางเงื่อนไขดังต่อ ไปนี้
 ผู้ประเมินแต่ละคนควรปฏิ บัติ หน้า ที่โดยอิส ระ
 ไม่ ค วรมี ก ารขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ผู้ ประเมิ น แต่ ล ะคนไม่ ค วรได้ รับผลประโยชน์ จากการ
ตัดสินใจ
 ผู้ประเมินแต่ละคนต้องได้รับการยอมรั บจากคณะที่ได้ รับการประเมิน
สามารถเชิ ญผู้ ทางานที่เกษียณอายุราชการที่ส ามารถปฏิบัตหิ น้า ที่ได้ อย่ างอิ สระมากกว่าและมี
เวลาให้แ ก่ก ารปฏิ บัติ งานได้ มากกว่าให้ เข้าร่ว มได้ อย่ างไรก็ ตาม การมีค ณะผู้ ทางานที่ ยัง ปฏิ บัติ งานใน
ด้านนี้และมีความรู้ที่เท่าทันต่อการพัฒนาถือ เป็ นส่วนสาคั ญอย่ างยิ่ง
คณะผู้ ประเมิ น ในการประเมิ น คุ ณ ภาพควรมี จานว น 2 ถึ ง 5 คน ขึ้ น อยู่ กั บประเภทของการ
ประเมินคุณภาพ สมาชิกในคณะทางานอาจรวมถึง
 ประธานที่ ปฏิ บัตหิ น้า ที่โดยอิสระและไม่มี ส่ว นเกี่ ยวข้อ งกั บสถาบั นที่ ได้ รับการประเมิ น ประธาน
ไม่ จาเป็ น ต้ อ งเป็ น ผู้ ที่มี ค วามเชี่ ยวชาญในด้ า นดั ง กล่ าว แต่ ค วรมี ประสบการณ์ ในด้ า นการ
บริหารจัดการสถาบันอุดมศึ กษาและการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพในระดับอุด มศึก ษา
 ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาต่าง ๆ จานวน 2 คน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
70
 ผู้เชี่ยวชาญจากตลาดแรงงาน และ/หรือ ผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรวิชาชีพ
 ผู้เชี่ ยวชาญจากต่า งประเทศ แต่ส มาชิ กดั งกล่ าวต้ องมีทักษะด้านภาษา เนื่อ งจากใช้ภาษาแม่ใน
การประเมิน
 ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาและการเรียนรู้ก ระบวนการ
ในการคั ด เลื อ กผู้ ประเมิ น ควรพิ จารณาจากความสามารถและคุ ณ ลั กษณะส่ว นบุค คลของผู้
ประเมิ น นอกเหนื อ จากประสบการณ์ก ารศึ กษาและการทางาน ความรู้ และทัก ษะเฉพาะส าหรับระบบ
การจัดการคุณภาพที่ เกี่ยวข้องกั บ
 คุณภาพและการประกัน คุณภาพโดยทั่วไป
 คู่มือและเกณฑ์ AUN-QA
 แบบจาลองการประกัน คุณภาพและกรอบแนวคิดอื่ นๆ
หั ว หน้ า คณ ะผู้ ป ระเมิ น คว รมี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะด้ า นผู้ น าเพื่ อ ให้ จั ด การประเมิ น ได้ อ ย่ า ง มี
ประสิ ทธิภ าพและประสิ ทธิผ ล นอกจากนี้ ผู้ประเมิน ควรมีคุณ ลักษณะส่วนบุคคลที่แ สดงให้เห็ นถึง การมี
ทั ก ษะที่ จะน าไปสู่ ก ารประเมิ น อย่ า งประสบความส าเร็ จ ผู้ ประเมิ น ควรมี จริ ยธรรม ใจกว้ า ง เจรจา
ต่อ รองเป็ น ช่างสัง เกต เฉลี ยวฉลาด ปรั บตั วได้ง่ าย ยึด มั่น เด็ ดขาด และพึ่ง พาตนเอง การผสมผสาน
ระหว่างการศึ กษา ประสบการณ์ก ารทางาน การฝึ กฝนการประเมิน และประสบการณ์ ด้ านการประเมิ น
จะก่ อให้เกิด ความรู้ ทั กษะ และคุณ ลั กษณะส่ วนบุค คลที่จาเป็ นต่ อผู้ ประเมิน โดยคุ ณสมบัติ ดัง ที่ก ล่าว
มานี้ อ าจจะก าหนดขึ้ น จากระดั บ การศึ ก ษาขั้ น ต่ าสุ ด ระยะเวลาของประสบการณ์ ก ารทางาน และ
ระยะเวลาขั้นต่าของการมี ประสบการณ์การตรวจหรือประเมิน คุณภาพ เป็นต้น
ผู้ประเมิ นที่ ได้รับการแต่งตั้ งควรมี ความรู้และทั กษะด้านคุ ณภาพ การประกัน คุณ ภาพคู่ มือ และ
เกณฑ์ AUN-QA และมี กลวิ ธีและทัก ษะด้านการประเมิน หรื อควรจัดให้มีก ารฝึ กอบรมหากผู้ ประเมินไม่
มีความรู้หรือทักษะดังที่กล่ าวมา
การฝึกอบรมควรประกอบด้วย
 คุณภาพและการประกัน คุณภาพในระดับอุด มศึก ษา
 คู่มือและเกณฑ์ AUN-QA
 องค์กรของโครงการการประเมินตนเอง
 การเขียนและการทบทวนรายงานการประเมิ นตนเอง
 การกระบวนการประเมินคุ ณภาพ
 การสัมภาษณ์ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
 การเขียนรายงานข้อเสนอแนะ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
71
ผู้จัดการประเมินควรดูแลการจัดส่งและการบริก ารอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
 ห้องประชุมและห้องสัมภาษณ์
- การเปิ ด /ปิ ด ประชุ ม ซึ่ ง โดยปกติ จะต้ อ งมี ห้ อ งพั ก ขนาดใหญ่ โดยค านึ งถึ งจานวนขอ งผู้ ที่
เกี่ยวข้อง
- ห้องสัมภาษณ์สาหรับจัดการดาเนินการประเมิน ร่วมกั บผู้ให้สัมภาษณ์
- ผู้ประเมินอาจต้องใช้ห้องสาหรั บการอภิ ปรายและการเขียนรายงาน
 ผู้สังเกตการณ์ที่ต้องการเรี ยนรู้ เกี่ ยวกับการด าเนินการประเมิน
 การเยี่ ยมชมสถานที่ – จั ด ส าหรั บ ให้ ผู้ ป ระเมิ น เข้ า เยี่ ยมชมสถานที่ ต่ า ง ๆ เช่ น ห้ อ งสมุ ด
ห้องทดลอง หอประชุม ฯลฯ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการประเมิน
 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์/สิ่งอานวยความสะดวกส าหรับการนาเสนอในการเปิ ดและปิดการประชุม
 บริการถ่ายเอกสาร/งานพิมพ์
 เครื่องดื่ม/อาหาร
 การรับส่งจากสนามบิน
 ที่พัก
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
72
3.6 กระบวนการประเมินคุณภาพ
วงจรคุณภาพ PDCA (Plan-Do-Check-Act) หรือวงจรเดมิง (Deming Cycle) ที่แสดงในรูป 3.3 ได้ถูก
นามาปรับใช้สาหรั บการประเมิน คุณภาพในระดับหลักสูต ร ระดับสถาบัน และในระบบ IQA
รูปที่ 3.3 – แนวทาง PDCA ในการประเมิน AUN-QA
3.6.1 ขั้นตอนการวางแผน
ขั้นตอนการ "วางแผน" ประกอบด้วย:
 ประเภทของการประเมิน
 คณะผู้ประเมิน
 กาหนดการและรายละเอี ยด
ในช่ว งเริ่มต้ นวางแผน สถาบันต้ องตั ดสินใจเลือ กการประเมินคุ ณภาพแบบใดแบบหนึ่ งเนื่อ งจาก
การประเมิ นคุณ ภาพแต่ละแบบตอบสนองต่อจุ ดประสงค์ ที่แตกต่างกันและต้อ งการผู้เชี่ ยวชาญที่มี ระดั บ
ความช านาญแตกต่า งกั น การประเมิ น คุ ณ ภาพ AUN-QA มี ส ามรูปแบบได้ แ ก่ ระดั บสถาบั น ระบบ
ประกันคุณภาพภายใน และระดับหลักสูตร
คณะผู้ ประเมิ นจะได้ รับการแต่ ง ตั้ งล่ วงหน้ าโดยส านั ก งานเลขานุ การ AUN โดยพิ จารณาจาก
ประวั ติ ค วามเป็ น มา ประสบการณ์ และทั ก ษะด้ านภาษาของผู้ ประเมิ น แต่ ล ะคณะผู้ ประเมิ น ควร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
73
ประกอบด้ว ยสมาชิกที่ มาจากมหาวิทยาลัยที่ต่างกันจานวนอย่างน้อย 2 คน ผู้ประเมินในแต่ล ะคณะควร
กาหนดบทบาทและภาระงานของตนในช่วงก่อน ระหว่าง และภายหลังการประเมิน
ประธานหรื อ หั ว หน้ า ผู้ ประเมิ น จะเป็ น ผู้ น าคณะผู้ ประเมิ น จั ด การประชุ ม /อภิ ปรายเบื้ อ งต้ น
กาหนดบทบาทและขอบเขต/เกณฑ์ก ารประเมิ น และกลั่ นกรองผลการประเมิน ในขั้นสุ ดท้ าย โดยทั่ วไป
ผู้ประเมินควรดาเนินบทบาทดังนี้
 การเตรียมแผนการประเมินและตรวจสอบ
 การสื่อสารและการชี้แจงความต้องการในการประเมิน
 การวางแผนและการกาหนดหน้ าที่ ความรับผิ ดชอบอย่างมี ประสิ ทธิภ าพและมี ประสิทธิผล
 การสังเกตการณ์หลักสูตร กระบวนการ สิ่งอานวยความสะดวก และการปรับปรุงคุณภาพ
 การรายงานผลการประเมิน
 ยอมรั บความคิ ดเห็ น ของผู้ อื่ น และเสนอเหตุ ผ ลในการสนั บสนุ น แนวคิ ด ในการประเมิ น ของ
ตนเอง
ผู้ประเมิน ต้ องตรวจสอบวั น เวลา ที่ตั้ ง และสถานที่ในการจั ด การประเมิน ของแต่ ละหลั กสู ต ร
ก่อ นการประเมิ นจริง โดยปกติ จะจัด การประเมิน ภายในมหาวิทยาลั ยซึ่ งสะดวกต่ อ การเข้าถึง เอกสาร
การเยี่ ยมชมสถานที่ คณาจารย์ และบุ คลากรฝ่ า ยสนับสนุ น การสัม ภาษณ์ ค วรจัด ขึ้ นให้ ค ล้ายคลึง กั บ
การประชุมและหลีกเลี่ ยงการใช้ ห้องที่ ใหญ่ เกินไปหรือมี ลักษณะ
คล้ า ยห้ อ งเรี ยน นอกจากนี้ ค วรใช้ ห้ อ งที่ มี เอกสารที่ เกี่ ยวข้ อ งเตรี ยมพร้อ มไว้ แ ล้ ว ในขณะ
ดาเนินการสัมภาษณ์บุค ลากร เพื่อความสะดวกและง่ายต่อกระบวนการตรวจสอบ
หากจาเป็ น ผู้ ประเมิ น ควรได้ รับรายละเอี ยดของผู้ ประสานงานของทางมหา วิ ทยาลั ยและ
สานั ก งานเลขานุ ก าร AUN เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด การสื่ อสารในเบื้ อ งต้ น ได้ ถ้า เป็ น ไปได้ ควรรู้ ว่าคณะผู้
ประเมิ นเป็น ใครบ้ างและตกลงร่ วมกั น ในการแบ่ง หน้า ที่ ค วามรับผิ ด ชอบ ผู้ ประเมิ น ควรตรวจสอบให้
แน่ ใจว่ าได้มี การจั ดส่ งรายงานการประเมิน ก่อ นการประเมิน การทางานจริง อย่ า งน้อ ยหนึ่ง เดือ นครึ่ งถึ ง
สองเดือน
การกาหนดรายละเอี ยดโดยทั่วไปจะจัดไว้เป็น เวลาสามวัน และโดยปกติจะประกอบไปด้ว ย
 การเปิดประชุม
- การนาเสนอโดยภาพรวมของหน่วยงานที่ ได้รับการประเมิน
 การสั ม ภาษณ์ (คณบดี หั ว หน้ าภาค ประธานหลั ก สู ตร คณาจารย์ บุ ค ลากรฝ่ า ยสนั บสนุ น
นักศึกษา ศิษย์เก่า และผู้ประกอบการ)
 การเยี่ยมชมสถานที่ (สิ่งอ านวยความสะดวกในการสอน ห้อ งปฏิ บัติ การ ห้อ งทางาน ห้องสมุ ด
สิ่งอานวยความสะดวกทั่วไป)
 การเตรียมการประเมินและรายงาน
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
74
 อาหารว่าง อาหารกลางวัน อาหารเย็น
 การปิดประชุม
- การนาเสนอผลการประเมิน เบือ้ งต้น
การกาหนดรายละเอี ยดโดยทั่วไป แสดงในรูปที่ 3.4
วัน/เวลา
09.00 – 09.30
09.30 – 09.45
09.45 – 10.00
10.00 – 11.30
11.30 – 13.00
13.00 – 14.00
14.00 – 15.30
15.30 – 15.45
15.45 – 17.00
17.00 เป็นต้นไป
08.30 – 10.00
10.00 – 10.15
10.15 – 11.30
11.30 – 13.00
13.00 – 14.00
14.00 – 17.00
17.00 เป็นต้นไป
รูปที่ 3.4 – กาหนดการประเมินทั่วไปตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA
กิจกรรม
วันก่อนการประเมิน
รับผู้ประเมินและผู้ร่วมงานจากสานั กงานเลขานุก าร AUN
วันที่ 1
พิธีเปิดการประชุม
พักรับประทานอาหารว่าง
บรรยายสรุป โดยคณบดี
สัมภาษณ์หัวหน้าภาควิชา ประธานหลักสูตร และคณะจัดทารายงานการ
ประเมินตนเอง
เยี่ยมชมพืน้ ที่ในมหาวิทยาลัยและคณะ – ห้องปฏิบัตกิ าร สิ่งอานวยความสะดวก
ในการเรียนการสอน ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
รับประทานอาหารกลางวัน
สานักงานเลขานุการ AUN คณาจารย์
รับประทานอาหารว่าง
สานักงานเลขานุการ AUN บุคลากรสายสนับสนุน
รับประทานอาหารเย็น
วันที่ 2
สัมภาษณ์นักศึกษา
พักรับประทานอาหารว่าง
สัมภาษณ์ศิษย์เก่า
สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ
รับประทานอาหารกลางวัน
หารือเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับและเตรียมการประเมินผล
รับประทานอาหารเย็น
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
75
09.00 – 11.00
11.00 – 11.30
11.30 – 13.00
วันที่ 3
นาเสนอผลการประเมิน เบือ้ งต้น
ปิดการประชุม
รับประทานอาหารกลางวัน และผู้ประเมินเดินทางกลั บ
3.6.2 ขั้นตอนการปฏิบัติ
ขั้นตอนการปฏิบัตจิ ะเกี่ยวข้องกั บการประเมินด้ว ยเอกสารและการประเมินคุณ ภาพภายใน
การประเมินด้วยเอกสาร
การประเมิ นด้ วยเอกสารในห้อ งที่ จัดไว้ส าหรับคณะผู้ประเมิน เป็ นขั้ นตอนแรกก่อ นการเยี่ยมชม
สถานที่ การประเมิ น เป็ น การทบทวนเอกสารการด าเนิ นงานที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บระบบการประกั นคุ ณ ภาพ
โดยอ้ างอิ ง จากรายงานการประเมิ นตนเอง และเอกสารอื่ น รายงานการประเมิ น ตนเองช่ วยในการ
พัฒ นาแผนการประเมิน รูปแบบการวางแผนการประเมิน AUN QA ถู กใช้เพื่ อวั ตถุ ประสงค์ดั งกล่าวมา
รายงานการประเมินตนเองช่วยให้การเตรี ยมงานดังต่อไปนี้ลลุ ่วงได้
 การทาความเข้าใจรายงานการประเมิน ตนเองและการด าเนิน การประกัน คุณภาพ
 การวินิจฉัยจุดอ่อนและจุดแข็งของการดาเนินการประกันคุ ณภาพ
 การวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึน้ ในการทางานเพื่อ ให้ บรรลุตามเกณฑ์ AUN QA
 การวินิจฉัยแนวทางที่เป็นไปได้ สาหรั บการปรับปรุง
 การสร้างคาถามสาหรั บการสั มภาษณ์ผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสีย
 การวินิจฉัยแหล่งที่มาของหลักฐานสาหรั บการตรวจสอบ
วัต ถุประสงค์ข องการวางแผนการประเมิ น คือ การรวบรวมหลั กฐานของการปฏิ บัติ ตามคู่ มื อ
และเกณฑ์ AUN-QA แผนควรประกอบด้วย
 แหล่งข้อมูลและหลักฐาน
 กลยุ ทธ์ ที่ใช้ เพื่ อรวบรวมหลั ก ฐานตลอดจนการระบุ เอกสารและบั น ทึก ส าหรั บการทบทวน
กลยุทธ์อาจรวมถึงการลงพืน้ ที่ การทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์ การเข้าใช้งานเว็บไซต์ ฯลฯ
 ระบุบุคคลที่จะให้สัม ภาษณ์ และการวางแผนกาหนดการสัมภาษณ์ และการเยี่ยมชมสถานที่
 เตรียมคาถามที่จาเป็น ในการรวบรวมหลักฐาน
รายงานการประเมิน ตนเอง คือ เอกสารสาคั ญที่ สุด สาหรับการประเมินด้ วยเอกสารและควร
ส่ง มอบรายงานการประเมิ นตนเอง ให้แ ก่ ผู้ประเมิ นล่ ว งหน้า ก่ อนการประเมิ น จริ งรายงานก ารประเมิ น
ตนเองแสดงภาพโดยรวมของมหาวิทยาลั ย คณะ สาขา และหลั กสูต รที่ ได้ รับการประเมิ น รายงานการ
ประเมิ นตนเอง ควรครอบคลุ ม เงื่ อนไขทั้ ง หมดที่ แ สดงรายการในรายการตรวจสอบ ถ้ าประเมิน ตาม
เกณฑ์ ไ ม่มี เอกสาร ผู้ ประเมิน ควรอธิ บายกั บผู้ ประสานงานของมหาวิทยาลั ย ผู้ ประเมิ น ควรวิ นิ จ ฉั ย
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
76
ข้อ มู ล และเอกสารที่ ก ล่ าวถึ ง ในรายงาน และตรวจสอบกั บเอกสารจริง ในระหว่ า งการประเมิ น การ
ทางานจริง
กระบวนการ PDCA เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ดี สาหรั บใช้ ในการวางแผนการประเมิ น ค าถามสามารถ
กาหนดขึน้ ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการ PDCA (ดูรูปที่ 3.5)
รูป 3.5 – กลยุทธ์ PDCA ในการกาหนดคาถาม
เช่น ในขั้ น ตอนการ "วางแผน" คาถามเกี่ ยวกับอะไร เมื่อ ไหร่ และทาไม ใช้ สร้ างวัต ถุ ประสงค์
และกระบวนการที่น าไปสู่ผ ลลัพ ธ์ต ามคู่ มือ และเกณฑ์ AUN-QA และนโยบายองค์ก รได้ ในขั้น ตอนการ
"ปฏิ บัติ " คาถามมุ่ งไปที่ การด าเนิ น งานและผู้ เกี่ ยวข้อ ง ในขั้น ตอนการ"ตรวจสอบ" เป็ น คาถามเกี่ ยวกั บ
การตรวจสอบและการประเมิ นการทาให้บรรลุ ผลและการก าหนด สุ ดท้ าย ในขั้ น ตอนการ "ปรับปรุ ง "
ผู้ประเมิ นสามารถวางแผนคาถามเกี่ ยวกับการดาเนิน การปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการทางานให้บรรลุผ ล
ผู้ประเมิ น ควรใช้ ค าถามที่ ขึ้ น ต้น ด้ วย 5Ws (ทาไม อะไร ที่ไหน ใครทา และเมื่ อ ไหร่ ) และ 1H (วิ ธี การ)
มาปรับใช้ในการตัง้ คาถามระหว่างการสัม ภาษณ์
เพื่อความสะดวกในการประเมิน ด้วยเอกสารและการวางแผน รูปแบบส าหรับการประเมิน ระดั บ
หลัก สูต รอยู่ ในเอกสารภาคผนวก B ตัว อย่ างวิ ธีใช้ รูปแบบสาหรับการวางแผนด้ วยเอกสารมีการระบุไ ว้
ในภาคผนวก C
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
77
การประเมินคุณภาพภายในและการให้คะแนน
การประเมิ น คุ ณ ภาพาภายในและการให้ ค ะแนนประกอบด้ ว ยการเปิ ด การประชุ ม กั บตั ว แทน
ผู้บริ หารของมหาวิทยาลัย โดยทั่ว ไปหลั งจากการเปิ ดการประชุม แล้ว จะมี การนาเสนอของมหาวิทยาลั ย
และหลั ก สู ตรเป็ น ลาดั บต่อ ไป หลั ง จากนั้ นจึ ง มีก ารจั ด การสัม ภาษณ์ กั บผู้ มีส่ วนได้ ส่ว นเสี ยอื่น ๆ การ
เยี่ ยมชมสถานที่ อ าจถู ก จั ดขึ้ น ก่ อ นหรื อ ระหว่ างการสั ม ภาษณ์ การประเมิน จะจบลงด้ วยการปิ ด การ
ประชุม
ควรจั ด การเปิ ด การประชุ ม กั บตั ว แทนผู้ บริ หารของมหาวิ ทยาลั ยที่ ข อรั บการประเมิ น ตั้ ง แต่
ช่วงแรกของการประเมินด้วยเอกสาร วัตถุประสงค์ของการเปิดการประชุมโดยสัง เขปคือ:
 แนะนาสมาชิกของคณะผู้ประเมินต่อตัวแทนผู้ บริ หารของมหาวิทยาลั ยที่ขอรั บการประเมิน
 สร้ างเครือ ข่ ายการติ ด ต่อ สื่ อสารอย่างเป็น ทางการระหว่ างคณะผู้ ประเมิน และมหาวิทยาลั ยที่
ขอรับการประเมิน
 ทบทวนขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมิน
 ชี้แจงรายละเอียดของแผนการประเมินและก าหนดการ
 ให้มหาวิทยาลัยที่ขอรั บการประเมิ นได้แนะน ามหาวิทยาลั ยและหลัก สูตรผ่ านการน าเสนอ
คากล่าวเปิดการประชุมโดยประธานของคณะผู้ประเมินโดยทั่วไปมีดังนี้
“อรุณ สวั สดิ์ สุภ าพบุรุษและสุ ภาพสตรี ผมชื่ อ XXX และผู้ร่วมงานของผม YYY เราคื อคณะ
ประเมินจากเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซี ยน (ASEAN University Network: AUN)
ทางเรามีค วามยิน ดี เป็ นอย่ างยิ่ง ที่ ได้ มาประเมิ นคุ ณ ภาพในระดั บหลั ก สูต รภายใต้แ นวทาง
และเกณฑ์ AUN-QA ตามที่ ม หาวิ ทยาลั ยของท่ า นได้ ส่ ง ค าขอ การประเมิ น ครั้ ง นี้ จะ ดั ง กล่ า ว
กาหนดการต่า งๆจะเป็ นไปตามที่ ได้ต กลงไว้ ก่อนหน้ านี้ หรื อหากมี การเปลี่ยนแปลง กาหนดการใดๆ
โปรดแจ้งให้ทางเราทราบ การประเมินจะใช้เวลาทั้งสิน้ 3 วัน
จะมี พิ ธี ปิด การประชุ ม ขึ้ น ในวั น สุ ด ท้ า ยของการประเมิ น ซึ่ ง เราจะทาการน าเสนอผลการ
ประเมินเบือ้ งต้นในวันดังกล่าว’
ก่อนที่จะเริ่ม มีท่านใดมีคาถามหรือไม่ (รอสักครู่หนึ่ง)
ขอบคุณและขอเชิญแนะนาสมาชิก ในคณะทางานของท่านเป็ นลาดั บต่อไป”
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
78
การสัมภาษณ์
มหาวิทยาลั ยที่ ขอรั บการประเมิน จะจั ดการสั มภาษณ์ร่วมกั บผู้ มีส่ วนได้ส่ ว นเสียต่างๆ ก่ อนการ
ประเมิ นด้ วยเอกสาร การสัม ภาษณ์ อาจเริ่ มจากการอภิ ปรายร่ว มกั บผู้ เขียนรายงานการประเมิน ตนเอง
ตัง้ แต่ ช่ วงแรกและช่ ว งระหว่างการประเมิ น ด้ว ยเอกสาร ในการสั ม ภาษณ์ นั้ น ทางคณะผู้ ด าเนิ น งาน
สามารถซักถามข้อชี้แจงและอธิบายเกี่ ยวกับหัวข้อต่างๆ ที่ไม่ชัดเจน
การสั มภาษณ์ นั ก ศึ ก ษาเป็น วิ ธี ก ารที่ ทาให้ ได้ ข้ อ มู ล เป็ น จานวนมาก แต่ ต้ อ งมีก ารตรวจสอบ
ข้อ มูล ดั งกล่ าว โดยเปรียบเทียบกับข้ อคิ ด เห็ นของบุ คลากร การสั มภาษณ์ นั กศึ ก ษามี ความส าคั ญ ต่ อ
การทาความเข้ าใจถึ ง ภาระงานที่ เกี่ ยวข้ อ งการเรี ยนการสอน คุ ณ ภาพของบุ ค ลากรฝ่ า ยวิ ช าการ
หลักสูตรของสาขาวิชา คุณภาพของสิ่งอานวยความสะดวก ฯลฯ
การสัม ภาษณ์นั ก ศึก ษาควรทาเมื่ อ ไม่มี บุคลากรของคณะอยู่ด้ ว ยซึ่ งจะทาให้ นัก ศึ กษาสามารถ
ให้ข้ อมู ลได้ อย่ างเป็น อิส ระ ตามหลัก การแล้ ว จานวนนัก ศึก ษาในแต่ล ะชั้น ปีค วรมีประมาณ 5 คน โดย
แยกเป็ นนั กศึ กษาชั้น ปีที่ 1 ชั้ นปี ที่ 2 ชั้น ปีที่ 3 และนัก ศึก ษาชั้น ปีสุ ดท้ ายที่ ใกล้จบการศึ กษา นัก ศึก ษาที่
ได้ รับเลื อกต้ อ งเป็ น ตั วแทนที่ เที่ ยงตรงของกลุ่ ม ประชากรทั้ ง หมดการเลื อ กนั ก ศึ ก ษาต้ อ งเป็ น ไปตาม
ความต้อ งการที่ระบุ ไว้ในคู่ มือ ส าหรับการประเมิน และผู้ ประเมิน ของ AUN-QA ผู้ ประเมิ นต้ อ งมี รายชื่ อ
ของนักศึกษาและรายละเอี ยดของแต่ล ะคน เช่นชื่อ ชั้นปีที่กาลังศึกษา ฯลฯ
การสั มภาษณ์ บุค ลากรจะเป็ นเรื่ องเกี่ ยวกั บเนื้ อ หาของหลั ก สู ต ร ผลการเรี ยนรู้ กลยุทธ์ การ
เรี ยนการสอ น การประเมิ น นั ก ศึ ก ษา ในการสั ม ภาษณ์ บุค ลากรนั้ น ไม่ ค วรจะสั ม ภาษณ์ บุค ลากร
มากกว่ า 25 คน อาจจะมีก ารสั มภาษณ์ อ าจารย์ประจาหลัก สูต รและบุ คลากรที่รับผิ ดชอบเกี่ยวกับการ
สอบเพิ่ ม เติม ระหว่ างการสั ม ภาษณ์ อ าจารย์ ประจาหลั ก สู ตร ควรจะมี ค าถามว่ าหลั ก สู ต รได้ รับการ
ปรั บปรุง ให้เป็น ปัจจุ บัน ได้ อย่ างไรและมีก ารวางแผนและตระหนัก ในการน านวัต กรรมไปใช้ ในหลั กสู ต ร
อย่างไร การสั มภาษณ์บุคลากรที่ รับผิ ดชอบเกี่ยวกับการสอบนัน้ ต้ องแสดงให้เห็ นชัด เจนว่ าความเชื่ อมั่ น
ในคุณภาพของข้อสอบและการตัดสินผลคะแนนเกิดขึ้ นได้อ ย่างไร
การสั ม ภาษณ์ น ายจ้ า งและศิ ษย์ เก่ าเป็ น ตั ว ชี้ วั ด ที่ ดี ที่ทาให้ เห็ น ถึ ง คุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต และ
หลั ก สู ตร กลุ่ ม คนเหล่ านี้ เป็น แหล่ ง ข้ อมู ล ที่ ดีข องมหาวิ ทยาลั ยในการปรั บปรุ งกระบวนการระบบ สิ่ ง
อานวยความสะดวก หลักสูตร ฯลฯ
ในการสัม ภาษณ์ แต่ ละครั้ง ผู้ ประเมิ นจะต้ องด าเนิน การหลายขั้น ตอนรวมถึงการให้ ข้อมู ลกั บผู้
สัมภาษณ์ เกี่ ยวกั บจุด ประสงค์ ของการสัม ภาษณ์ รวบรวมข้อมู ลเกี่ ยวกับผู้ เข้าสัมภาษณ์ และจัด การการ
สัมภาษณ์ให้เป็นไปตามความเป็น จริง
วัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์
 รวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
 กลั่นกรองและตรวจสอบรายงานการประเมินตนเองและการดาเนินการ
 เปิดโอกาสให้ผู้เข้าสัมภาษณ์ ให้ข้อมู ลในภาพรวมทั้ง หมด
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
79
สิ่งที่ส าคัญ ในการสั มภาษณ์ คือ ผู้สั มภาษณ์จะต้อ งพูด น้อ ยและฟังผู้ เข้าสัมภาษณ์ ให้ม ากเพราะ
จุด ประสงค์ ในการสัม ภาษณ์ คือ การยืน ยัน ให้ แน่ ใจว่ าการประเมิน เป็น ไปอย่ างยุติ ธรรมและไม่ล าเอี ยง
ในการสัมภาษณ์ ผู้ประเมินควรพิจารณาประเด็น ต่อไปนี้
 รู้ข้อมูลผู้เข้าสัมภาษณ์
- ภาษา
- การศึกษา
- ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านหรือความสนใจ
 วางแผนในการตัง้ คาถาม
- มุ่งไปที่เกณฑ์
- ใช้ถ้อยคาทีเ่ ป็นกลางเพื่อหลีกเลี่ ยงความลาเอียง
- ใช้คาถามปลายเปิด ที่เริ่มต้นด้ว ย 5Ws และ 1H เพื่อตรวจสอบข้อมูล
- ใช้คาถามปลายปิดเพื่อ ยืน ยันข้อมูล
- ควบคุมเวลาให้ครอบคลุมเกณฑ์และผู้ เข้าสั มภาษณ์ ที่หลากหลาย
กระบวนการสัมภาษณ์ประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
 แนะนา
 ซักถาม
 สรุป
ในขั้นตอนการแนะนา ควรจะดาเนินการดังต่อไปนี้
 แนะนาทีมประเมิน
 อธิบายวัตถุประสงค์ของการสัม ภาษณ์
 ทาให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สกึ ผ่อนคลาย
 ทราบถึ ง ภู มิ ห ลั ง ของผู้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ เช่ น ปี ที่ใ ห้ บ ริก าร หรื อ ปี ที่ศึ ก ษา ต าแหน่ ง ในปั จจุ บั น
ขอบเขตของการทางาน ฯลฯ ถ้าจาเป็น
ในระหว่างการตัง้ คาถาม ควรใส่ใจปัจจัยดังต่อปีน้ี
 ใช้โทนเสียงที่มั่นใจ และเข้าถึงข้อมูลอย่างสุภาพ
 ทาให้ผู้ ถูกสั มภาษณ์มั่ นใจว่า ข้อ มูล ทุก อย่ างที่ ได้ รับจะถู กเก็ บเป็ นความลั บอย่างเคร่ งครัด และ
ไม่มีข้อมูลใดที่จะนาไปเผยแพร่ แก่บุค คลอื่น
 นาเข้าสู่การอภิปราย ปรึกษาหารือ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
80
 ทาตามกาหนดการที่ได้ ระบุไว้
 รักษาเวลา
ใช้เทคนิคซักถามที่มีประสิทธิผล คือ
 ถามคาถามครั้ งละหนึ่ งค าถาม และให้ เวลาเพี ยงพอแก่ ผู้ให้ สัม ภาษณ์ ในการตอบคาถามก่ อนที่
จะถามคาถามถัดไป
 ใช้คาถามปลายเปิดเพื่อค้น หาตรวจสอบข้อมูล
 ใช้คาถามปลายปิดเพื่อ ยืน ยันข้อมูล
 หลีกเลีย่ งคาถามแบบชี้น า
 พยายามใช้ภาษาที่แ สดงความเป็ นกลาง หลีก เลี่ ยงค าเหล่ านี้ เช่น ไม่ เคย ไม่ดี ดี เสมอ อ่อ นแอ
ฯลฯ ก่อนสิ้นสุดการสัมภาษณ์ ควรปฏิบัตดิ ังต่อไปนี้
 สอบถามผู้ ให้สั ม ภาษณ์ ว่ าต้ องการเสนอข้ อ มูล ใดเพิ่ มหรือ ไม่ ซึ่ งจะทาให้พ วกเขามี โอกาสที่ จะ
บอกถึงข้อมูลสาคัญที่อาจไม่ได้อ ยู่ในแผนที่วางไว้
 แสดงความขอบคุณต่อผู้ให้สัมภาษณ์ที่ได้สละเวลาของพวกเขามาเข้ ารั บการสัม ภาษณ์
เทคนิคพื้นฐาน 4 ประการในการฟังอย่างมีส่วนร่วม
1. การสะท้ อ นกลั บ คื อ การกล่ าวซ้าค าพู ดของผู้ ให้ สัม ภาษณ์ เพียงแต่ใ ช้ค าที่ แ ตกต่า งออกไป
เพื่อส่งเสริมและกระตุน้ ผู้ให้ สัมภาษณ์ดาเนินการให้ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
2. การนิ่ งเงียบ บางครั้ง ความเงี ยบอาจจะทาให้ค นรู้ สึก อึ ดอั ดในระหว่างการสนทนาอย่ างไรก็
ตาม ไม่จาเป็นที่ จะต้ องสนทนาตลอดการให้ สัมภาษณ์ โดยสามารถแบ่งออกเป็ นการเงียบด้านบวก และ
ด้านลบ มั กจะเกิ ด ขึน้ ในขณะที่ ผู้ให้ สัม ภาษณ์ ก าลั งคิ ดระหว่ างการน าเสนอข้อ มูล ซึ่ งถ้ าในระหว่ างการ
สัมภาษณ์ ผู้ให้สัมภาษณ์นิ่งเงียบเนื่องจากไม่ส ามารถตอบข้อมูล ได้ ผู้สัมภาษณ์ควรให้ความช่วยเหลือ
3. การตอบสนอง ทาให้ ผู้ ให้ สัม ภาษณ์ รับรู้ ได้ เป็ น ระยะๆ ว่าผู้ ประเมิน ก าลั ง ตัง้ ใจฟั งอยู่โดยใช้
คาพู ด เช่ น "ใช่ " "ฉั น เข้ าใจ" "อืม ม... ม" หรือ อาจจะใช้ ภ าษากาย เช่ น พยั ก หน้า และการสบตาโดยไม่
ขัดจังหวะผู้ให้สัมภาษณ์ถ้าไม่จาเป็น
4. การตั้ งคาถามปลายเปิด ใช้ค าถามที่ กระตุน้ ให้ผู้ ให้สั มภาษณ์ เสนอความคิด เพิ่ม เติม มากกว่ า
ที่ จะให้ ต อ บค าถามเพี ยงว่ า "ใช่ " หรื อ "ไม่ ใ ช่ " ส่ ว นค าถามปลายปิ ด มั ก จะปิ ดกั้ น ความคิ ด ของผู้ ใ ห้
สัมภาษณ์ ทาให้พวกเขารู้สกึ ว่าถูกซักถามและถูกกีดกันการให้ข้อ มูล
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
81
หลักฐานการตรวจประเมิน
หลั กฐานต่ างๆควรถู กรวบรวมในทุก ๆเรื่อ งที่ เกี่ ยวข้ องตามวั ต ถุประสงค์ และขอบเขตของการ
ตรวจประเมิ น สามารถใช้ รายการตรวจสอบเพื่ อช่ วยในการเก็ บรวบรวมหลัก ฐาน ซึ่ งสามารถรวบรวม
หลักฐานจาก
 การสัมภาษณ์
 การตรวจสอบเอกสาร/รายงานบัน ทึก (ทางกายภาพ และอิเล็กทรอนิกส์)
 การสังเกตกิจกรรม และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ
 การเยี่ยมชมสถานที่
 ใช้วิ ธี การทางสถิติ เช่น สุ่ ม ตัว อย่างที่ ส ามารถใช้ เพื่ อเพิ่ม ประสิทธิ ภาพในระหว่ า งการประเมิ น
อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างควรจะมีสัดส่วนของขอบเขตที่อยู่ภ ายใต้การตรวจสอบ
การเยี่ยมชมสถานที่ส ามารถทาก่ อน หรือ ระหว่างการสัม ภาษณ์ การเยี่ยมชมสถานที่ โดยทั่วไป
หมายถึ ง การไปเยี่ ยมชมห้องเรียนที่ ใช้ใ นการบรรยาย ห้อ งสอนเสริ ม ห้ องปฏิบัตกิ ารโรงงานที่นั กศึ กษา
ฝึก งานหรือ ห้อ งฝึ กงาน ห้ องสมุ ด และห้ องปฏิ บัติ ก ารคอมพิ วเตอร์ ซึ่ งควรให้ ความสนใจเป็ นพิ เศษใน
เรื่อ งของสิ่ งอ านวยความสะดวก สภาพของอุ ปกรณ์ และเครื่อ งมือ ความสะอาดและการบารุ งรั กษาสิ่ ง
อานวยความสะดวกต่างๆ นอกจากนีก้ ารเยี่ ยมชมสถานที่ ยังเป็ นการให้ผู้ ประเมินมี โอกาสชี้แ จงประเด็ น
ต่าง ๆ ที่ปรากฎในรายงานการประเมินตนเองพร้อมบุคลากรสายสนับสนุน
3.6.3 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขั้นตอนขั้นตอน "ตรวจสอบ" เกี่ยวกับการจัดทารายงานและการน าเสนอผลการประเมิน
เมื่ อ สิน้ สุ ด การประเมิ น ก่อ นที่ จะเตรี ยมพร้อ มการรายงานขั้ น สุด ท้ า ย คณะผู้ประเมิ น อาจจะ
จัดการประชุ มชี้ แจงกั บตั วแทนของมหาวิ ทยาลั ยและผู้รับผิ ดชอบแผนงาน โดยมี วัต ถุประสงค์ข องการ
ประชุมเพื่อ
 นาเสนอผลการประเมิน เบือ้ งต้น
 มั่นใจว่าผลการประเมินก่อ ให้ เกิดความเข้ าใจอย่ างชัดเจนและทั่วถึง
 เปิดโอกาสให้มีการชี้แจง
 สรุปผลการประเมิน
การประชุ มเป็ นส่ วนหนึ่ งของขั้ นตอน "การตรวจสอบ" และช่ ว ยให้ผู้ ประเมิ นเตรียมความพร้อ ม
และการรายงานข้อเท็ จจริง อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ประเมินและผู้ถูก ประเมินชี้แ จงข้อ
สงสั ยและมี ความเข้าใจกระบวนการประกัน คุณ ภาพและเกณฑ์ คุณ ภาพ AUN-QA ได้ดี มากขึ้ น
กว่าเดิ ม นอกจากนี้ ยัง ช่ว ยในการแสดงประเด็น ที่ส มควรได้รับการปรับปรุ ง แล ะสร้ างแรงกระตุ้ นให้แ ก่
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
82
มหาวิทยาลัยในการปรับปรุงระบบประกัน คุณ ภาพ ซึ่ง การสื่อ สารสองทางในขั้ นตอน "ตรวจสอบ" นี้ จะ
ทาให้ม หาวิทยาลั ยยอมรับการตัด สิน และการช่ วยเหลื อซึ่ งน าไปสู่ก ารสร้ างความสั มพั นธ์ ที่ใกล้ชิ ด และ
ยั่งยืนระหว่างผู้ประเมิน และมหาวิทยาลั ย
รายงานผลการประเมิน
วัตถุประสงค์ของรายงานผลการประเมิน
- ระดับของการปฏิบัตงิ านตามแนวทางและเกณฑ์ คุณภาพ AUN-QA
- จุดแข็งของมหาวิทยาลัย/คณะ/แผนงาน
- แนวทางการพัฒนาปรับปรุง
ขั้นตอนการจัดทารายงานผลการประเมิน จะแสดงในรูปที่3.6
รูปภาพที่ 3.6 ลาดับขั้นตอนในการเตรียมการรายงานผลการประเมิน
การตรวจสอบข้อมูลใน
การประเมิน
- ตรวจสอบหลักฐาน ข้อมูลต่างๆ
- ตรงตามเกณฑ์
ระบุจุดแข็ง
มองหาจุดในการแก้ไข
ปรับปรุง
- แนวปฏิบัตทิ ี่ดี
- จุดที่ต้องการการปรับปรุงและพัฒ นา
- จุดที่เป็นข้อที่ควรปรับปรุง
- ยืนยันประเด็นที่เป็ นข้อสงสัย
อธิบายข้อมูลที่ค้นพบ
- เห็นด้วยในการพัฒนาปรั บปรุง
- นาเสนอผลที่จะรายงานในพิธี ปิด
ให้คะแนนระดับตาม
เกณฑ์
- แสดงระดับคะแนนที่เห็นพ้องต้องของผู้ ประเมินตามเกณฑ์
เตรียมพร้อมในการ
รายงานผลขั้นสุดท้าย
- ใช้รูปแบบการประเมิน ผลการประกั นคุณ ภาพตามเกณฑ์
- ปรับคะแนนของผู้ประเมิน ให้สอดคล้องกั บเกณฑ์ ที่กาหนด
AUN-QA
- รายงานผลฉบับสุดท้าย
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
83
เพื่ อ จั ด เตรียมรายงานให้ เกิ ด ความน่ า เชื่ อ ถื อ และตรงตามวั ต ถุ ประสงค์ นั้ น คณะผู้ ประเมิ น
จาเป็น ต้ องมีก ารตรวจสอบหลั กฐานที่รวบรวมมา และแบ่ง เป็ นจุ ดแข็ งและจุด ที่ ควรปรับปรุง ของตาม
แนวทางปฏิ บัติ ข องการประกั น คุ ณ ภาพที่ ถู ก น ามาใช้ โ ดยมหาวิทยาลั ย จากนั้ น คณะผู้ ประเมิ น ควร
แนะน าขอบเขตการพั ฒนาและการปรั บปรุง แก้ไขตามเกณฑ์ ประกัน คุ ณภาพ AUN-QA คณะผู้ ประเมิ น
ต้องมีการให้ คะแนนและตกลงผลคะแนนที่ได้ ตามเกณฑ์ที่กาหนด ข้อ ขัดแย้งที่ เกิด ขึน้ ระหว่างผู้ประเมิ น
ต้องมีก ารตั ดสิ นบนพื้ นฐานของข้อเท็จจริง และหลั กฐานอ้างอิง ที่เที ยบกับแนวปฏิ บัติ ที่ดี และควรมี การ
ปรับคะแนนให้เป็นตามเกณฑ์ที่ก าหนดเพื่อ ให้แน่ ใจว่ าได้ผลลั พธ์ที่ตรงตามเกณฑ์
การประเมิ นคุณ ภาพตามเกณฑ์ AUN-QA จะมี เกณฑ์การวัด 7 ระดั บเพื่อ ให้มหาวิทยาลัยและผู้
ประเมิน ใช้เป็น เครื่ องมื อในการตรวจสอบวั ดระดับคุณ ภาพว่ ามี ความก้ าวหน้า มากน้อ ยถึ งระดับใด โดย
ใช้เกณฑ์ 7 ระดับ ตามรายละเอียดต่อไปนี้
ระดับ
คาอธิบาย
1 คุณภาพไม่เพียงพออย่างชัดเจน
ไม่ปรากฏผลการดาเนินการ ไม่มีเอกสาร ไม่มีแผน หรือไม่มีหลักฐานที่สนับสนุนการดาเนินงาน คุณภาพ
ไม่เพียงพออย่างชัดเจน จาเป็นต้องปรับปรุง แก้ไข หรือพั ฒนาอย่างเร่งด่วน
2 คุณภาพไม่เพียงพอ จาเป็นต้องมีการปรับปรุง
มีก ารวางแผนแต่ยั งไม่ไ ด้เ ริ่ม ดาเนิ น การ เนื่ องจากข้ อ มูล เอกสาร และหลั กฐานไม่ เพี ย งพอในการ
ดาเนินการ จึงจาเป็นต้องมีการปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนา
3 คุณภาพไม่เพียงพอ แต่การปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนาเพียงเล็กน้อยสามารถทาให้มีคุณภาพ
เพียงพอได้
มีเอกสารแต่ยังไม่ เชื่อมโยงต่อการปฏิบัติ หรือมีการดาเนินการตามเกณฑ์ประกันคุณ ภาพ พบแนวทาง
การพั ฒนาบ้าง มีหลั กฐาน เอกสารบ้าง แต่ข าดความขั ดเจน ผลการด าเนิน งานยังไม่ สมบู รณ์ใ นบาง
ผลลัพธ์
4 มีคุณภาพของการดาเนินการของหลักสูตรตามเกณฑ์
มีเอกสาร และหลักฐานการดาเนินการตามเกณฑ์ ผลลัพธ์เกิดขึน้ ตามที่คาดหวัง
5 มีคุณภาพของการดาเนินการของหลักสูตรดีกว่าเกณฑ์
มีเอกสารและหลักฐานชัดเจนที่แสดงถึงการดาเนินการที่มีประสิทธิภาพดีกว่าเกณฑ์ส่งผลให้เกิดผลดีใน
การพัฒนาระบบ
6 เป็นตัวอย่างของแนวปฏิบัติที่ดี
มีเอกสาร หลั กฐานสนั บสนุนที่ ตีตามเกณฑ์ อย่า งมีป ระสิ ทธิภ าพ มีผลลัพ ธ์การดาเนิน การที่ดี และมี
แนวโน้มผลการดาเนินการในเชิงบวก
7 ระดับดีเยี่ยม เป็นแนวปฏิบัติในระดับโลกหรือแนวปฏิบัติชั้นนา
มีการดาเนินการตามเกณฑ์อย่างมี นวัตกรรม มีผลลัพธ์ที่โดดเด่นในระดับโลก มี แนวโน้มเชิงบวกให้เห็ น
อย่างชัดเจน ซึ่งผลงานการดาเนินงานสามารถนาไปเป็นแนวปฏิบัติชั้นนาได้
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
84
ในการกาหนดคะแนนในแต่ ล ะเกณฑ์แ ละเกณฑ์ ย่อย ควรจะใช้เลขจานวนเต็ ม เท่านัน้ ในการให้
คะแนน ค าวิพ ากษ์โดยรวมของการประเมิน จะค านวณตามค่ า เฉลี่ ยเลขคณิ ต ซึ่ง ประกอบด้ ว ยเกณฑ์
ทั้งหมด 11 เกณฑ์ โดยมีทศนิยมได้เพี ยงหนึ่งต าแหน่ง
ก่อ นที่ จะทาการนาเสนอขั้ นสุ ดท้ ายต่อ คณะผู้ บริ หารมหาวิ ทยาลั ย คณะผู้ประเมิน ควรชี้ แจงข้ อ
สงสั ยใด ๆ และแจ้งให้ทราบถึ งส่ วนที่ ควรได้รับการปรั บปรุงไปพร้ อมๆกับบุคลากรหลัก ๆ ของคณะหรื อ
สาขา การรายงานไม่ ค วรออกมาในรูปแบบของการตั ด สิ น เช่ น ใช้ ค าว่า "บ่อ ย" แต่ ค วรแสดงความ
คิด เห็ นตามจริ ง และระบุ ความส าคั ญของการปฏิ บัติ หรือ กระบวนการรายงานขั้ น สุด ท้ายควรจั ดทาใน
รูปแบบรายงานการประเมินตามเกณฑ์ AUN-QA ดังภาคผนวก D
ในการเขียนรายงานข้อมู ลป้อนกลั บจาเป็นต้องมีประเด็นดังต่อ ไปนี้
 การเขียนวัตถุประสงค์
 การอ้างอิงจากหลักฐาน
 การส่งเสริมสนับสนุน
 การเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ "เรียนรู้"
ในการเขียนรายงานผลสะท้อ นกลับต้องไม่มี ประเด็นดังต่อไปนี้
 ต้องไม่แสดงการกระทบกระเทียบ
 ต้องไม่สั่งการให้ปรับปรุงแก้ไข
 ต้องไม่เพิกเฉยต่อความพยายามโดยรวย
 ต้องไม่เพิกเฉยต่อการกระทาให้ บรรลุผล
ข้อ มูล ป้อ นหลั บที่ ดี เป็น รากฐานของการประเมิ นผลที่ มี ประสิ ทธิ ผ ล ซึ่ ง สามารถช่ว ยให้ม หาลั ย
เตรี ยมความพร้อมในการตรวจสอบตามแนวทางการประกัน คุณ ภาพตามเกณฑ์ AUN-QA อีก ทั้งยั งให้
สะท้อนกลับในประเด็นต่ างๆ ที่มหาวิทยาลัยจาเป็นต้องปรับปรุง
ข้อมูลป้อนกลับที่ดคี วรที่จะ
 ใช้ประโยคชัดเจน ง่าย ไวยากรณ์ถูกต้อง และสมบูรณ์ จะช่วยให้ลดเวลาในการชี้แจง
 หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาเฉพาะกลุ่ ม หรือตัวย่อ
 ควรมี ความสร้างสรรค์ – ใช้ โทนเสียงด้านบวก มีก ารปรับปรุงค าแนะนาและข้ อคิ ดเห็น เฉพาะใน
ขอบเขตที่อยู่ในเกณฑ์
 หลีกเลี่ยงการระบุเงื่อนไข – ให้เฉพาะข้อสังเกตและการประเมินผล
การปิดประชุม จะดาเนินการโดยประธานของทีม ประเมิน การกล่าวปิดประชุมโดยทั่ว ไปมี ดังนี้
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
85
สวัส ดีทุกท่ าน ในนามของคณะประเมิ น ข้าพเจ้ าใคร่ข อขอบคุณ บุค ลากรทุ กคนส าหรับการ
ให้บริการและความช่ว ยเหลือ ที่พ วกท่ านมีให้ เราตลอดการประเมิน เราได้ เพลิ ดเพลิน กับบรรยากาศ
เป็นกันเองในระหว่างการประเมิ น
ในอัน ดั บแรก ข้าพเจ้าใคร่ข อกล่ า วทวนวั ต ถุประสงค์ และขอบเขตของการประเมิ นภายใต้
แนวทางและเกณฑ์ คุ ณ ภาพ AUN-QA ซึ่ ง การประเมิ น ได้ เป็ นไปตามแผนที่ ว างไว้ โดยได้ ทาการ
ตรวจสอบกลุ่ม ตัว อย่ างที่ มีค วามเกี่ ยวข้ องกับกรอบตามเกณฑ์คุ ณภาพ AUN-QAในการนี้ ข้าพเจ้ า
ขอรายงานผลขั้นต้นโดยได้รับข้อมูลมาจากทีมประเมิน ดังนี้
ผลรายงานครั้ ง สุ ดท้ า ยจะถู ก ดาเนิ น การส่ ง ให้ ทางมหาวิ ทยาลั ยโดยเลขาคณะผู้ ประเมิ น
คุณภาพในภายหลัง
3.6.4 ขั้นตอนการปรับปรุง
ในขั้ นตอนการปรับปรุ ง จะเกี่ ยวข้อ งกั บการเตรี ยมรายงานและข้อ เสนอแนะการประเมิน ข้อ มู ล
สะท้อ นกลั บในรายงานขั้น สุด ท้ าย รายงานครั้ง สุ ดท้ ายนี้ประกอบด้ วยข้อ สรุปและรายละเอี ยดของผล
การประเมิน (ดูภาคผนวก D) ตัวอย่างของรายงานมีรายละเอี ยดในภาคผนวก E
โดยการสรุปรายงานโดยทั่วไปมี ดังนี้
รายงานนี้เป็น ไปตามข้ อ มูล ที่ ให้ไว้ในรายงานการประเมิ นตนเอง (SAR) โดยดู จากหลั กฐาน
การเยี่ยมชมสานที่ และการสั ม ภาษณ์ จากกลุ่ ม ผู้มี ส่ วนได้ ส่ วนเสี ย คื อ บุ คล ากรสายวิช าการและ
สายสนั บสนุน นั กเรี ยน ศิษย์เก่า และผู้ ใช้บัณ ฑิต (ซึ่ งควรจะอ่ านไปพร้อ มกั บผลการวิจัยเบื้ องต้น ที่
เสนอพิธีปิดที่เน้นจุดแข็งและขอบเขตการพัฒนา) โดยสามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
86
เกณฑ์
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2. ข้อกาหนดของหลักสูตร
3. โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสู ตร
4. วิธีการเรียนการสอน
5. การประเมินผู้เรียน
6. คุณภาพบุคลาการสายวิชาการ
7. คุณภาพบุคลาการสายสนั บสนุน
8. คุณภาพผู้เรียนและการให้คาปรึก ษาแก่ผู้เรียน
9. สิ่งอานวยความสะดวกและโครงสร้ างพืน้ ฐาน
10. การปรับปรุงคุณภาพ
11. ผลผลิต
ผลคะแนนโดยรวม
คะแนน
4
5
4
5
5
5
4
5
4
4
5
4.5
จากการประเมินโดยรวมสามารถสรุปได้ว่า หลักสูตรมีการดาเนิ นงานตามเกณฑ์
AUN QA
และมีผลการดาเนินงานของหลักสูตรอยู่ระหว่างเป็นไปตามเกณฑ์แ ละดีกว่าเกณฑ์
หลังจากคณะผู้ประเมิน ได้ทาการประเมิน แล้วเสร็จ และส่งสาเนารายงานให้ เลขาธิการประกันคุณ ภาพ
AUN พร้อมกับส่งสาเนารายงานผลข้อมู ลสะท้อนกลั บ (ภาคผนวก F) ให้กับมหาวิทยาลัยที่ขอรั บการ
ประเมิน วัตถุประสงค์ของการรายงานผลจะช่วยในการปรับปรุงกระบวนการประเมินผล
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
87
ส่วนที่ 3
การกากับและการดาเนินงาน AUN-QA ระดับหลักสูตร
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
1. คาสั่งคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
88
2. กระบวนการจัดทา SAR AUN
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ l มหาวิทยาลัยพะเยา
92
กระบวนการจัดทา SAR AUN.1 ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวัง
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ฝ่า ยแผนและประกั น ฯ จัด ท าค าสั่ งแต่ งตั้ ง
คณะกรรมการกากับติดตามและดาเนินงาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ หลั ก สู ต ร
เสนอคณบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จัดประชุมคณะกรรมการดาเนิ นงานระดั บ
หลักสูตร (พ.ค.)
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณ ะกรรมการ
ก ากั บ ติ ด ตามและด าเนิ น งาน
ประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร ปีการศึกษา 2559
วาระการประชุม
ด าเนิ น การรวบรวมข้ อ มู ล การก าหนดผล
การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร
(พ.ค.)
วิเคราะห์ข้อมูลการกาหนดผลการเรียนรู้ท่ี
คาดหวั ง พร้ อ มทั้ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความ
สอดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ของ
มหาวิ ท ยาลั ย ความครอบคลุ ม ทั้ งความรู้
และทักษะทั่วไป/เฉพาะทาง และสะท้อนถึง
ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มิ.ย.)
มคอ.2
เริ่มต้น
ฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา
P
แต่งตั้งคณะกรรมการ
ค ณ ะก รร ม ก ารด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
ค ณ ะก รร ม ก ารด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
ค ณ ะก รร ม ก ารด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
จัดประชุม
รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ขอ้ มูล
ค ณ ะก รร ม ก ารด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
ค ณ ะก รร ม ก ารด าเนิ น งา น ระดั บ
หลักสูตร
C
ค ณ ะก รร ม ก ารด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณ ะกรรม การก ากั บ แล ะติ ด ต าม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
สรุป ข้ อ มู ล การรั บ เข้ า การคงอยู่ และการ
สาเร็จการศึกษาของทุกหลักสูตร เพื่อจัดทา
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.1 (มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั วบ่ งชี้ AUN.1 และ
ประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
ข้ อ มู ล แสดงความสอดคล้ อ ง
ระหว่า ง ELO กั บ วิสั ย ทั ศ น์ และ
พันธกิจ
ข้ อ มู ล แ ส ด งค วา ม สั ม พั น ธ์
ระหว่ า ง ELO กั บ ความรู้ ทั ก ษะ
ทั่วไปและเฉพาะทาง
ข้อมู ล แสดงความระหว่าง ELO
กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.1
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.1
เห็นชอบ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ หลั ก สู ต ร
จั ด ท ารายงานการประเมิ น ตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตามประกั น
คุณ ภาพการระดั บหลักสู ตรจั ดส่ งรายงาน
การประเมิ น ตนเอง (SAR) แล ะผล การ
ประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการก ากั บ และ
ติดตามประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
เพื่ อ น าไปปรั บ ปรุ ง การด าเนิ น งานในปี
การศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและข้อเสนอแนะ
ผลการประเมินและข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.2 ข้อกาหนดของหลักสูตร
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
มคอ.2
รวบรวมข้อมูล
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลข้อกาหนดของ
หลักสูตร (พ.ค.)
วิเคราะห์ ข้อ มูลข้อก าหนดของหลั กสูต ร
พร้อ มทั้ งแสดงให้ เห็ น ว่า ข้อ ก าหนดของ
หลักสูตรและรายละเอียดของวิชามีความ
ครอบคลุ ม และทั น สมั ย อี ก ทั้ งแสดงให้
เห็นถึงช่องทางการเข้าถึงและรับรู้ของผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย (มิ.ย.)
สรุปข้อมูลข้อกาหนดหลักสูตร เพื่อจัดทา
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.2 (มิ.ย.-ก.ค.)
มคอ.2
การปรับปรุงรายวิชา
โครงสร้างหลักสูตร
คูม่ ือนิสิต
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.2
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.2
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.2
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.3 โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
มคอ.2
รวบรวมข้อมูล
ด าเนิ น การรวบรวมข้ อ มู ล โครงสร้ า ง
หลักสูตรและเนือ้ หาของหลักสูตร (พ.ค.)
วิเคราะห์ ข้อมูล โครงสร้างหลัก สูตรและ
เนื้ อ หาของหลั ก สู ต ร พร้อ มทั้ งแสดงให้
เห็ น ถึ ง การออกแบบหลั ก สู ต รมี ค วาม
สอดคล้องกับ ELO, การกาหนดสัดส่วน
ของรายวิ ช าเพื่ อ ให้ บ รรลุ ELO และการ
จัดเรียงรายวิชาอย่างเป็นระบบ มีการบูร
ณาการและทันต่อยุคสมัย (มิ.ย.)
สรุปข้อมูลโครงสร้างหลักสูตรและเนือ้ หา
ของหลั ก สู ต ร เพื่ อ จั ด ท า SAR ตั ว บ่ ง ชี้
AUN.3 (มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณ า SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.3
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
มคอ.2
การปรับปรุงสูตร
แผนการเรียน
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.3
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.3
เห็นชอบ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.4 กลยุทธ์การเรียนและการสอน
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
รวบรวมข้อมูล
ด าเนิ น การรวบรวมข้ อ มู ล กลยุ ท ธ์ ก าร
เรียนและการสอน (พ.ค.)
มคอ.3
มคอ.4
วิเคราะห์ขอ้ มูลกลยุทธ์การเรียนและการ
สอน พร้ อ มทั้ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความ
ชั ด เจนของปรั ช ญาการศึ ก ษา, ความ
สอดคล้ องกับ ELO, วิธีก ารจัด การเรีย น
การสอน และการส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การ
เรียนรู้ตลอดชีวิต (มิ.ย.)
สรุปข้อมูลกลยุทธ์การเรียนและการสอน
เพื่อจัดทา SAR ตัวบ่งชี้ AUN.4
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณ า SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.4
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
มคอ.3
มคอ.4
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.4
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.4
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.5 การประเมินผูเ้ รียน
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
รวบรวมข้อมูล
ด าเนิ น การรวบรวมข้ อ มู ล การประเมิ น
ผูเ้ รียน (พ.ค.)
มคอ.2
มคอ.3
มคอ.4
มคอ.2
มคอ.3
มคอ.4
มคอ.5
มคอ.6
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
วิเคราะห์ขอ้ มูลการประเมินผูเ้ รียน พร้อม
ทั้ ง แส ด งให้ เ ห็ น ถึ ง ความส อด คล้ อ ง
โค รงส ร้ า งกั บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อง ELO,
วิ ธี ก ารประเมิ น ผู้ เ รี ย น , เก ณ ฑ์ ก าร
ประเมิ น แล ะการสื่ อส ารให้ ผู้ เ รี ย น
รับทราบ (มิ.ย.)
สรุปข้อมูลการประเมินผู้เรียน เพื่อจัดทา
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.5
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณ า SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.5
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.5
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.5
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
รวบรวมข้อมูล
ด าเนิ น การรวบ รวมข้ อ มู ล คุ ณ ภ าพ
บุคลากรสายวิชาการ (พ.ค.)
แ ผ น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า
บุคลากร
ข้อมูลอัตรากาลัง
วิ เคราะห์ ข้ อ มู ล คุ ณ ภาพบุ ค ลากรสาย
วิ ช าการ พร้ อ มทั้ ง แสดงให้ เห็ น ถึ ง การ
บริ ห ารจั ด การบุ ค ลากร, ภาระงาน,
ผลงานและการพัฒนาบุคลากร (มิ.ย.)
สรุปข้อมูลคุณภาพบุคลากรสายวิชาการ
เพื่อจัดทา SAR ตัวบ่งชี้ AUN.6
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.6
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
แ ผ น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า
บุคลากร
ข้อมูลอัตรากาลัง
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
แต่งตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.6
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.6
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.7 คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
รวบรวมข้อมูล
ด าเนิ น การรวบ รวมข้ อ มู ล คุ ณ ภ าพ
บุคลากรสายสนับสนุน (พ.ค.)
แ ผ น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า
บุคลากร
ข้อมูลอัตรากาลัง
วิ เคราะห์ ข้ อ มู ล คุ ณ ภาพบุ ค ลากรสาย
สนั บ สนุ น พร้ อมทั้ งแสดงให้ เห็ นถึ งการ
บริ ห ารจั ด การบุ ค ลากร, ภาระงาน,
ผลงานและการพัฒนาบุคลากร (มิ.ย.)
ส รุ ป ข้ อ มู ล คุ ณ ภ าพ บุ ค ล า ก รส า ย
สนับสนุน เพื่อจัดทา SAR ตัวบ่งชี้ AUN.7
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณ า SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.7
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
แ ผ น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า
บุคลากร
ข้อมูลอัตรากาลัง
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
แต่งตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.7
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.7
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.8 คุณภาพผู้เรียน
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
กากับติดตามและดาเนินงาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา
2559
วาระการประชุม
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลคุณภาพผู้เรียน
(พ.ค.)
นโยบายการรับนิสิต
กระบวนการและเกณฑ์การ
คัดเลือกนิสิต
การประชาสัมพันธ์หลักสูตร
แผนการเรียน
ร ะ บ บ ก ล ไก ก า ร ก า กั บ
ติดตามนิสิต
นโยบายการรับนิสิต
กระบวนการและเกณฑ์การ
คัดเลือกนิสิต
การประชาสัมพันธ์หลักสูตร
แผนการเรียน
ร ะ บ บ ก ล ไก ก า ร ก า กั บ
ติดตามนิสิต
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.8
เริ่มต้น
ฝ่ าย แ ผ น แ ล ะป ร ะกั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ
หลักสูตร
P
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
จัดประชุม
รวบรวมข้อมูล
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ
หลักสูตร
วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น โดย
พิ จ ารณ าถึ ง เกณ ฑ์ ก ารรั บ นิ สิ ต , การ
ติ ด ตามความก้ า วหน้ า , การส่ ง เสริ ม
สนับสนุนนิสิต และสภาพแวดล้อมในการ
จัดการเรียนการสอนแก่นิสิต (มิ.ย.)
D
วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ
หลักสูตร
D
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ
หลักสูตร
C
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
สรุ ป ข้ อ มู ล คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น เพื่ อ จั ด ท า
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.8
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.8
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.8
เห็นชอบ
คณะกรรมการด าเนิ น งานระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุ ณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมินตนเองระดับ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.9 สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ และโครงสร้างพืน้ ฐาน
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
รวบรวมข้อมูล
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลสิ่งอานวยความ
สะดวกต่ า งๆ และโครงสร้ า งพื้ น ฐาน
(พ.ค.)
ข้อมูลการให้บริการห้องเรียน/
ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร, ห้ อ งสมุ ด ,
ระบบทะเบียนออนไลน์, ระบบ
สาธารณู ปโภคและะความ
ปลอดภัย
ข้อมูลการให้บริการห้องเรียน/
ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร, ห้ อ งสมุ ด ,
ระบบทะเบียนออนไลน์, ระบบ
สาธารณู ปโภคและะความ
ปลอดภัย
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.9
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
แต่งตั้งคณะกรรมการ
บรรยาย/วิเคราะห์ข้อมูลสิ่งอานวยความ
สะดวกต่ า งๆ และโครงสร้ า งพื้ น ฐาน
(มิ.ย.)
D
บรรยาย/วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
สรุป ข้อ มูลสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ
และโครงสร้า งพื้ น ฐาน เพื่ อ จั ด ท า SAR
ตัวบ่งชี้ AUN.9
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.9
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.9
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.10 การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
จัดประชุม
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
รวบรวมข้อมูล
ด าเนิ น การรวบรวมข้ อ มู ล การส่ ง เสริ ม
คุณภาพการศึกษา (พ.ค.)
มคอ.2
มคอ.3
มคอ.5
มคอ.2
มคอ.3
มคอ.5
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
บรรยาย/วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
บรรยาย/วิ เคราะห์ ข้ อ มู ล การส่ ง เสริ ม
คุณ ภาพการศึ กษา ได้ แก่ การออกแบบ
แล ะพั ฒ นาห ลั ก สู ต ร, การป ระเมิ น
กระบวนการเรี ย นการสอน และข้ อ มู ล
ป้ อ นกลั บ จากผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เพื่ อ
ปรับปรุงหลักสูตร (มิ.ย.)
ส รุ ป ข้ อ มู ล ก า ร ส่ ง เส ริ ม คุ ณ ภ า พ
ก ารศึ ก ษ า เพื่ อ จั ด ท า SAR ตั วบ่ งชี้
AUN.10
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.10
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.10
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.10
เห็นชอบ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการจัดทา SAR AUN.11 ผลผลิต
ผูร้ ับผิดชอบ
แผนภูมิการดาเนินงาน
ขัน้ ตอนดาเนินงาน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ฝ่ายแผนและประกันฯ จัดทาคาสั่งแต่งตั้ง
ค ณ ะก รรม ก าร ก ากั บ ติ ด ต าม แ ล ะ
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ ห ลั ก สู ต ร เส น อ ค ณ บ ดี เพื่ อ
พิจารณาอนุมัติ (พ.ค.)
จั ด ประชุ ม คณะกรรมการด าเนิ น งาน
ระดับหลักสูตร (พ.ค.)
ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
กากั บ ติ ดตามและด าเนิน งาน
ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ระดั บ หลั ก สู ต ร ปี ก ารศึ ก ษา
2559
วาระการประชุม
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลผลผลิต (พ.ค.)
ข้ อ มู ล อั ต ร า ก า ร ส า เร็ จ
การศึ ก ษา, อั ต ราการออก
กลางคั น , การได้ ง านท าของ
บัณ ฑิ ต, การท าวิจัยของนิสิ ต
และข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ จากผู้ มี
ส่วนได้ส่วนเสีย
ข้ อ มู ล อั ต ร า ก า ร ส า เร็ จ
การศึ ก ษา, อั ต ราการออก
กลางคั น , การได้ ง านท าของ
บัณ ฑิ ต, การท าวิจัยของนิสิ ต
และข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ จากผู้ มี
ส่วนได้ส่วนเสีย
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.11
เริ่มต้น
ฝ่ า ย แ ผ น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษา
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
P
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
แต่งตั้งคณะกรรมการ
จัดประชุม
รวบรวมข้อมูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
วิเคราะห์ข้อมูลผลผลิต ได้แก่ อัตราการ
ส าเร็ จ ก ารศึ ก ษ า, อั ต ร าก า รอ อ ก
กลางคัน, การได้งานทาของบัณฑิต, การ
ทาวิจัยของนิสิต และข้อมูลป้อนกลับจาก
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (มิ.ย.)
D
วิเคราะห์ขอ้ มูล
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
D
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
C
สรุปข้อมูล
พิจารณา
แก้
ไข
สรุ ป ข้ อ มู ล ผลผลิ ต เพื่ อ จั ด ท า SAR ตั ว
บ่งชี้ AUN.11
(มิ.ย.-ก.ค.)
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
ประชุ ม พิ จ ารณา SAR ตั ว บ่ ง ชี้ AUN.11
และประเมินตนเอง (มิ.ย.-ก.ค.)
SAR ตัวบ่งชี้ AUN.11
เห็นชอบ
คณ ะกรรมการด าเนิ น งาน ระดั บ
หลักสูตร
A
การตรวจประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาระดับหลักสูตร
A
คณะกรรมการก ากั บ และติ ด ตาม
ประกันคุณภาพการระดับหลักสูตร
A
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร (SAR)
ประเมินคุณภาพ
ผลการประเมินคุณภาพ
คณะกรรมการดาเนินงานระดับหลักสูตร
จัด ทารายงานการประเมิ นตนเองระดั บ
หลักสูตร (SAR) (มิ.ย.-ก.ค.)
ประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลักสูตร (ก.ค.)
รายงานประเมิ น ตนเองระดั บ
คณะ (SAR)
คณะกรรมการกากับและติดตามประกัน
คุ ณ ภ าพ การระดั บ ห ลั ก สู ต รจั ด ส่ ง
รายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) และ
ผลการประเมิ น ให้ กั บ คณะกรรมการ
ก ากั บ และติ ด ตามประกั น คุ ณ ภาพการ
ระดั บ หลั ก สู ต ร เพื่ อ น าไปปรับ ปรุ ง การ
ดาเนินงานในปีการศึกษาถัดไป
(ก.ค.-ส.ค.)
ผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะ
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ
ข้อเสนอแนะ
ASEAN
University
Network
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา ตาบลแม่กา
อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000
Phone: 0-5446-6666 ต่อ 1508
Fax: 0-5446-6692
Email: misup_phayao@hotmail.com
Download