Untitled-2 1 12/11/18 3:40 PM เร่งรัดพัฒนาระบบราง เสริมสร้างเศรษฐกิจไทยก้าวไกล Accelerating Railway Development to Promote Economic Growth ประเทศไทยในปัจจุบันจ�ำเป็นต้องเร่งรัดด�ำเนินการ ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะต่างๆ โดยเฉพาะโครงสร้ า งพื้น ฐานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบราง ไม่ ว ่ า จะเป็ น ระบบขนส่ ง มวลชนทางราง รถไฟทางคู ่ ตลอดจนรถไฟความเร็ ว สู ง ซึ่ ง โครงสร้ า งพื้น ฐานที่ มี ประสิทธิภาพจะเป็นกลไกส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ เพิ่มโอกาสทางการค้าการลงทุน เสริมขีด ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และยังผลักดัน ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกส์ของ ภูมิภาคอีกด้วย Currently, Thailand needs urgent development of infrastructure and public services, specifically in terms of railway systems including mass transit modes, double-track and high-speed railway options. Efficient infrastructure is a significant mechanism for empowering national economic competitiveness, promoting trade and investment, as well as upgrading the country into a regional transport and logistics hub. Untitled-2 2 ประโยชน์ของระบบราง Benefits of Railway Systems ลดปัญหาการจราจรติดขัด ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล Mitigating traffic congestion in Bangkok and its vicinity. ลดการน�ำเข้าเชื้อเพลิง ที่ใช้ ในการขนส่ง Lowering transport fuel imports. ลดความสูญเสีย จากอุบัติเหตุทางท้องถนน Reducing road accidents. ลดการเกิดมลพิษ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Attenuating environmental pollution. 12/11/18 3:40 PM เพิ่มประสิทธิภาพระบบราง เติมเต็มโครงข่ายคมนาคมในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก Enhancing Railway Efficiency and Expanding Transport Networks to Facilitate Links to the EEC พื้น ที่ ภ าคตะวั น ออกของไทย โดยเฉพาะเขตพั ฒ นาพิเ ศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เป็นหนึง่ ในพื้นทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ ที่ส�ำคัญของประเทศ อันมีหัวใจส�ำคัญของการพัฒนาอยู่ที่ การลงทุนเพื่อสร้างโครงข่ายคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ที่ สมบูรณ์ ทั้งทางบก ทางราง ทางน�ำ้ และทางอากาศ เชื่อมโยง การเดินทางและขนส่งระหว่างกรุงเทพฯ และพื้นทีภ่ าคตะวันออก เข้าด้วยกันอย่างมีประสิทธิภาพ The Eastern Economic Corridor (EEC) is situated in the east of Thailand, covering Chachoengsao, Chon Buri, and Rayong provinces. It is one of Thailand’s significant special economic zones. Investment is central for its development, particularly for creating more complete transport and logistics networks, including land-, rail-, water-, and air-based modes. This will help to promote efficient links between Bangkok and eastern areas. 17.01.2017 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้มคี ำ� สัง่ ที่ 2/2560 เรื่อง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก แต่งตัง้ คณะกรรมการนโยบาย การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (คนพ.) The Head of the National Council for Peace and Order (NCPO) issued Order No. 2/2560 concerning EEC development and appointed the Eastern Economic Corridor (EEC) Policy Committee. 06.07.2017 นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธาน คนพ. มีมติอนุมัติให้กระทรวงคมนาคม โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย จัดจ้างที่ปรึกษา เพื่อศึกษา ความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียด โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มความจุทางรถไฟ ช่วงหัวหมาก - ฉะเชิงเทรา - ศรีราชา และโครงการรถไฟทางคู่ ช่วงศรีราชา - มาบตาพุด The Prime Minister, in his capacity as the Chairman of the EEC Policy Committee, assigned the Ministry of Transport (MOT) via the State Railway of Thailand (SRT) to engage consultants to conduct a feasibility study and detailed design for the Railway Efficiency and Capacity Enhancement (Hua Mak - Chachoengsao - Si Racha Section) and Double-track Railway Development (Si Racha - Map Ta Phut Section) projects. การรถไฟแห่งประเทศไทย จึงได้ด�ำเนินการศึกษาความเหมาะสม ออกแบบรายละเอียด และศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของโครงการรถไฟทางคู่ ช่วงหัวหมาก - ฉะเชิงเทรา สถานีชุมทางศรีราชา - มาบตาพุด และชุมทางเขาชีจรรย์ - สัตหีบ เพื่อเป็น ข้อมูลสนับสนุนในการด�ำเนินโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และส่งเสริมให้เกิดการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต In this regard, the SRT conducted a feasibility study, detailed design, and an environmental impact assessment (EIA) for the double-track railway development projects, Hua Mak - Chachoengsao, Si Racha Junction Map Ta Phut, and Khao Chi Chan Junction - Sattahip sections. These analyses provide information to support infrastructure development in line with the guidelines for EEC development and to promote efficient management in the future. Untitled-2 3 12/11/18 3:40 PM เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคม เดินหน้าเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก Connecting Transport Networks and Implementing the EEC Development Project ดอนเมือง Don Mueang ทาอากาศยานดอนเมือง Don Mueang นนทบุ ร� Airport นนทบุร� Nonthaburi บางซื่อ Bang Sue โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development Project) มี นครปฐม เป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้ 3 จังหวัดในภาคตะวันออก เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ทันสมัย มีโครงข่าย คมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ที่สมบูราชบุ รณ์ และเป็ ร� นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าของภูมิภาคและอาเซียนใน อนาคต The EEC Development Project will upgrade the three eastern provinces into a modern สมุทรสาคร สมุทรสาคร special economic zone (SEZ) with complete transport and logistics Samut networks; Sakhonas such it will become an ASEAN freight transport center in the future. พัฒนาระบบราง เพิ่มประสิทธิภาพ การเดินทางและขนส่งใน EEC เพชรบุร� in the EEC Zone Developing Railway Systems for Efficient Transport จากนโยบายการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก การรถไฟแห่งประเทศไทยเดินหน้าพัฒนา โครงข่ายระบบราง เพื่อเป็นแกนหลักในการเดินทางและขนส่ง เชือ่ มโยงพื้นทีต่ ะวันออกกับพื้นทีเ่ ศรษฐกิจ การค้าส�ำคัญ และอุตสาหกรรมทั่วประเทศ According to the EEC Development Policy, the SRT has expedited railway network development to facilitate links between eastern provinces and significant economic and industrial zones nationwide. ประจวบคีร�ขันธ โครงการระบบรถไฟฟ้าชานเมือง ร่วมกับรถไฟทางไกล Commuter Train Linking Long-distance Train Project โครงการรถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน High-speed Rail Linking Three Airports Project ชุมพร มักกะสัน Makkasan ส สัญลักษณ Legend ทางรถไฟสายตะวันออก Eastern railway รถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน High-speed Rail Linking Three Airports รถไฟทางคู ศร�ราชา - ตราด (อนาคต) Si Racha - Trat Double-track Railway (Future) L ศูนยซอมบำรุง Depot โครงการรถไฟทางคู่ ช่วงหัวหมาก - ฉะเชิงเทรา สถานีชุมทางศรีราชา - มาบตาพุด และชุมทางเขาชีจรรย์ - สัตหีบ Double-track railway development projects, Hua Mak - Chachoengsao, Si Racha Junction Map Ta Phut, and Khao Chi Chan Junction - Sattahip sections ทาเร�อ Port ทาอากาศยาน Airport มอเตอรเวย กรุงเทพฯ พัทยา - มาบตาพ�ด Bangkok - Pattaya Map Ta Phut Motorway นิคมอ�ตสาหกรรม Industrial estate จ�ดพักรถบรรทุก Truck rest area Untitled-2 4 กรุงเท 12/11/18 3:40 PM นครนายก Nakhon Nayok ปทุมธานี Pathum Thani ปทุมธานี ปราจ�นบุร� Prachin Buriปราจ�นบุร� ง t กรุงเทพมหานคร Bangkok กรุงเทพมหานคร สุวรรณภูมิ Suvarnabhumi ฉะเชิงเทรา Chachoengsao กะสัน kasan ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ Suvarnabhumi Airport ฉะเชิ งเทรา ฉะเชิ งเทรา Chachoengsao สมุทรปราการ สมุทรปราการ Samut Prakan อาวไทย Gulf of Thailand ชลบุร� Chon Buri ชลบุรร� � ชลบุ Chon Buri g ศร�ราชา Si Racha จันทบุร� Chanthaburi ทาเร�อแหลมฉบัง Laem Chabang Port พัทยา Pattaya ระยอง ระยอง Rayong มอเตอรเวยมาบตาพ�ด Map Ta Phut Motorway ทาเร�อสัตหีบ Sattahip Port Untitled-2 5 อ�ตะเภา ทาเร�ออ�ตสาหกรรมมาบตาพ�ด U-Tapao Map Ta Phut Industrial Port สนามบินนานาชาติอ�ตะเภา รองรับผูโดยสาร 3 ลานคนตอป U-Tapao International Airport Capacity: 3 million passengers/year 12/11/18 3:40 PM รถไฟฟ้าชานเมือง ระบบ เชื่อมโยงการเดินทาง จากกรุงเทพฯ สู่ปริมณฑล Commuter Train Facilitating Travel between Bangkok and Its Vicinity สุพรรณบุร� Suphan Buri โครงการศึ ก ษาและออกแบบรายละเอี ย ด ระบบรถไฟฟ้ า ชานเมืองร่วมกับรถไฟทางไกล เชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการที่ ส่งเสริมการเดินทางและขนส่งเชื่อมโยงยังพื้นที่เขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก โดยเชื่อมต่อระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ในกรุงเทพฯ กับระบบรถไฟฟ้าชานเมือง และขยายแนวเส้นทาง รถไฟต่อไปยังจังหวัด 4 จังหวัด คือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อใหเกิดการเดินทางระหวางเมือง กระจายความเจริญสู่ ภูมิภาค และยังเชื่อมโยงพื้นที่กรุงเทพฯ กับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออกอีกด้วย The project on study and detailed design of commuter trains and long-distance trains linking mass transit systems in Bangkok and its vicinity aims to facilitate links to the EEC. This includes development of interconnection between mass transit systems in Bangkok and commuter trains as well as expansion of rail routes to four provinces, namely Phra Nakhon Si Ayutthaya, Chachoengsao, Nakhon Pathom, and Samut Songkhram. This will help to facilitate intercity travel, promote urban expansion at a regional level, and offer links between Bangkok and the EEC. นครปฐม Nakhon Pathom โครงการรถไฟฟาชานเมืองร่วมกับรถไฟทางไกล ประกอบดวย 4 สาย ดังนี้ Four Routes of the Commuter Train Linking Long-distance Train Project: สายเหนือ ชวงรังสิต - สถานีชุมทางบานภาชี 60 กม. Northern Line: Rangsit - Ban Phachi Junction (60 km) S ราชบุร� Ratchaburi สายตะวันออก ชวงมักกะสัน - หัวหมาก 12.6 กม. ชวงหัวหมาก - ฉะเชิงเทรา 43.2 กม. Eastern Line: Makkasan - Hua Mak (12.6 km) and Hua Mak - Chachoengsao (43.2 km) สายตะวันตก ชวงตลิ่งชัน - นครปฐม 43 กม. Western Line: Taling Chan - Nakhon Pathom (43 km) สายใต ชวงมหาชัย - ปากทอ 56 กม. สมุทรสงคราม Samut Songkhram Southern Line: Maha Chai - Pak Tho (56 km) Untitled-2 6 12/11/18 3:40 PM อางทอง Ang Thong สระบุร� Saraburi พระนครศร�อยุธยา Phra Nakhon Si Ayutthaya นครนายก Nakhon Nayok ปทุมธานี Pathum Thani นนทบุร� Nonthaburi กรุงเทพมหานคร Bangkok สมุทรสาคร Samut Sakhon ฉะเชิงเทรา Chachoengsao สมุทรปราการ Samut Prakan อาวไทย Gulf of Thailand Untitled-2 7 12/11/18 3:40 PM โครงการรถไฟ ความเร็ ว สู ง เชื่อม 3 สนามบิน The High-speed Rail Linking Three Airports Project เป็นโครงการส�ำคัญเพื่อสร้างโครงข่ายคมนาคมในพื้นที่เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้สมบูรณ์ โดยรถไฟความเร็วสูง สามารถเดินทางจากสถานีระยองเข้าถึงสถานีสุวรรณภูมิ สถานีบางซื่อ และสถานีดอนเมืองได้โดยตรง ช่วยลดระยะเวลา ในการเดินทางจากกรุงเทพฯ - ระยอง และเชือ่ มต่อการเดินทาง ระหว่างสนามบินดอนเมือง สุวรรณภูมิ และอู่ตะเภาอย่าง ไร้รอยต่อ The High-speed Rail Linking Three Airports is an important project that creates a complete railway network in the EEC zone. It will facilitate direct travel from Rayong Station to Suvarnabhumi, Bang Sue, and Don Mueang stations. This will help to shorten travel time from Bangkok to Rayong Province and promote seamless interconnection between Don Mueang, Suvarnabhumi, and U-Tapao airports. N นครปฐม ราชบุร� ระยะทาง Distance: 220 km กม. สมุทรสาคร สมุท Samu ระบบรางคู่ ความกว้างรางมาตรฐาน Double-track railway system employing a standard gauge โครงสร้างทางยกระดับ และอุโมงค์เดี่ยวทางคู่ Elevated structures and double-track railway tunnels 9 เพชรบุร� สถานี Stations สถานีดอนเมือง สถานีบางซื่อ สถานีมักกะสัน สถานีสุวรรณภูมิ สถานีฉะเชิงเทรา สถานีชลบุรี สถานีศรีราชา สถานีพัทยา และสถานีอู่ตะเภา Don Mueang, Bang Sue, Makkasan, Suvarnabhumi, Chachoengsao, Chon Buri, Si Racha, Pattaya, and U-Tapao ประจวบคีร�ขันธ Untitled-2 8 12/11/18 3:40 PM ปทุมธานี Pathum Thani นครนายก Nakhon Nayok ปทุมธานี นนทบุร� นนทบุร� Nonthaburi ปราจ�นบุร� Prachin Buriปราจ�นบุร� กรุงเทพมหานคร Bangkok กรุงเทพมหานคร นครปฐม ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา Chachoengsao มุทรสาคร สมุทรปราการ สมุทรปราการ Samut Prakan สมุทรสาคร Samut Sakhon อาวไทย Gulf of Thailand สัญลักษณ Legend รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน High-speed Rail Linking Three Airports ชลบุร� ชลบุ � Chon รBuri ระยอง ระยอง Rayong ศูนยซอมบำรุง Depot ทาเร�อ Port ทาอากาศยาน Airport Untitled-2 9 12/11/18 3:40 PM ปรับปรุงทางเดิม ก่เพิอ่มประสิ สร้ทาธิงทางคู ่ ภาพ การขนส่งทางรางสู่ท่าเรือ Improving Existing Railway, Constructing Double-track Railways, and Enhancing the Efficiency of Rail-Water Intermodal Freight Transport การศึกษาความเหมาะสม ออกแบบรายละเอียด และศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการทางคู่ ช่วงหัวหมาก - ฉะเชิ ง เทรา สถานี ชุ ม ทางศรีร าชา - มาบตาพุด และ ชุมทางเขาชีจรรย์ - สัตหีบ จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลประกอบ การด� ำ เนิ น โครงการเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพและเพิ่ม ความจุ ทางรถไฟ เชื่ อ มโยงการขนส่ ง ทางรางสู ่ ท ่ า เรือ แหลมฉบั ง ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ และท่าเรือมาบตาพุด The SRT conducted a feasibility study, detailed design, and EIA for the double-track railway development projects, Hua Mak - Chachoengsao, Si Racha Junction Map Ta Phut, and Khao Chi Chan Junction - Sattahip sections. The information will contribute to efficiency and capacity development of the railways linking Laem Chabang, Sattahip, and Map Ta Phut ports. Untitled-2 10 ั ญาณ และ • ปรับปรุงทางรถไฟเดิม ปรับปรุงระบบอาณัตสิ ญ แก้ ไขปัญหาจุดตัดทางผ่าน ช่วงหัวหมาก - สถานีชมุ ทาง ศรีราชา ระยะทางประมาณ 115 กิโลเมตร • เพิ่ม เส ้ น ทางรถไฟ ใหม่ อี ก เส้ น ทาง ช่ ว งหั ว หมาก ฉะเชิงเทรา ระยะทางประมาณ 46 กิโลเมตร • ก่อสรา้ งทางคู่ ช่วงชุมทางศรีราชา - ชุมทางเขาชีจรรย์ มาบตาพุด และชุมทางเขาชีจรรย์ - สัตหีบ ก่อสร้าง ทางเลี่ยงเมือง (Chord Line) บริเวณชุมทางศรีราชา และชุมทางเขาชีจรรย์ ระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตร • Improving the existing railway, signaling system, and level crossings in the Hua Mak - Si Racha Junction section, covering 115 km. • Constructing a new railway from Hua Mak to Chachoengsao, totaling 46 km in length. • Constructing double-track railways (Si Racha Junction - Khao Chi Chan Junction - Map Ta Phut and Khao Chi Chan Junction - Sattahip sections) as well as chord lines near Si Racha Junction and Khao Chi Chan Junction, totaling 85 km in length. 12/11/18 3:40 PM Untitled-2 11 12/11/18 3:40 PM พัฒนาที่ดินโดยรอบสถานีรถไฟ สร้างรายได้เชิงพาณิชย์ Developing Commercial Areas around Stations to Generate Income การพัฒนาพื้นทีโ่ ดยรอบสถานีรถไฟ ช่วยส่งเสริมให้การเดินทาง และขนส่งทางรางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เอื้อประโยชน์ต่อ การเดิ น ทางของประชาชน สร้ า งรายได้ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ ใ ห้ กั บ การรถไฟแห่งประเทศไทย • พื้นที่ศึกษารัศมี 500 เมตร - 1 กิโลเมตร • พื้น ที่ เ สนอแนวทางออกแบบเบื้ อ งต้ น และประมาณ ราคาต้ น ทุ น การพั ฒ นา ในเขตที่ ดิ น ของการรถไฟ แห่งประเทศไทย The areas around stations within a radius of 500 m to 1 km will be developed to promote more efficient rail-based transport, facilitate public travel, and generate commercial income for the SRT. • Study area within a radius of 500 m to 1 km • The area in line with the guidelines of the preliminary design and cost estimation in the SRT’s land boundary ย่านการค้าเพื่อเชื่อมต่อการเดินทาง ต้องมีพื้นที่สาธารณะ เพีย งพอส� ำ หรั บ ตอบสนองการใช้ ง าน โดยมี ย ่ า นการค้ า เกาะตัวไปตามแนวแกนเชื่อมต่อหลัก/รอง หรือสถานีเชื่อมต่อ การขนส่งโดยรอบ Commercial areas with links to public transport systems shall have sufficient public space to accommodate functionality. They will be situated around stations or links to major and minor transport modes. ย่านการขนส่งสินค้า ต้องสอดคล้องกับประเภท/รูปแบบ/ ปริมาณการขนส่งสินค้า Freight transport areas shall accommodate freight transport modes and volume. Untitled-2 12 12/11/18 3:40 PM แก้ปัญหาจุดตัดทางรถไฟ เพิ่มความปลอดภัยของประชาชน Restricting Level Crossings for Public Safety ปรับปรุงจุดตัดระหว่างถนนกับทางรถไฟ ก่อสร้างสะพานและ There are plans to improve road-rail level crossings and ทางลอด เพื่อความปลอดภัยของประชาชน ลดผลกระทบด้าน construct overpasses and underpasses to ensure better การจราจร และป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ public safety, mitigate traffic congestion, and prevent accidents. สะพานรถไฟข้ามถนน ส�ำหรับพื้นที่ ที่มีดินถมคันทางรถไฟสูง พื้นที่ด้านล่างมีทางรถยนต์ผ่าน และปริมาณการจราจรหนาแน่น หรือมีทางตัดผ่านเส้นทางจราจรสายหลัก Railway bridges will be constructed in areas with higher elevations to cross high-density roads or main roads. สะพานรถยนต์ข้ามทางรถไฟ ในรูปแบบ ของสะพานกลับรถ ส�ำหรับบริเวณชุมชน หนาแน่น หรือมีข้อจ�ำกัดของพื้นที่ U-shaped flyovers will be constructed in high-density community areas or areas with space restrictions. ทางลอดใต้ทางรถไฟ ส�ำหรับบริเวณ จุดตัดทางรถไฟกับถนนล�ำลอง ที่มีปริมาณการจราจรต�่ำ บริเวณพื้นที่เกษตรกรรมสองข้างทาง หรือบริเวณที่กั้นรั้ว แล้วเกิดปัญหาการแบ่งแยกพื้นที่ Underpasses will be constructed at level crossings on railways and minor roads with low traffic density, arable land on either side, or spatial segregation issues. สะพานรถยนต์ข้ามทางรถไฟ ส�ำหรับ ถนนที่มีปริมาณการจราจรสูง มีเขตทาง เพียงพอ และเป็นถนนสายหลักของ กรมทางหลวงหรือกรมทางหลวงชนบท Overpasses will be constructed on main roads with high traffic density and sufficient right of way under the supervision of the Department of Highways (DOH) and Department of Rural Roads (DRR). ทางบริการข้างทางรถไฟ ส�ำหรับแนวเส้นทางรถไฟ ตัดผ่านถนนท้องถิ่นหลายๆ เส้นซ้อนกัน ไม่เหมาะสมจะสร้างทางตัดผ่านต่างระดับ หรือทางลอดได้ Service roads will be constructed along railways with various level crossings on local roads where it is impossible to provide overpasses or underpasses. ก่อสร้างรั้วตลอดแนวเส้นทาง / Fencing along Railway Routes ออกแบบรั้วตลอดสองข้างทางรถไฟเพื่อประโยชน์ ดังต่อไปนี้ Fences will be erected on both sides of railways to: ป้องกันไม่ให้ประชาชนและสัตว์เลี้ยง ได้รับอันตรายจากการถูกรถไฟชน Protect the public and livestock from train hazards. Untitled-2 13 ท�ำให้รถไฟสามารถ รักษาระดับความเร็วได้สม�ำ่ เสมอ Facilitate uninterrupted train passage. แสดงเขตทางรถไฟ ได้อย่างชัดเจน ป้องกันการบุกรุกพื้นที่ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย Identify clear right of way and prevent intrusion onto SRT land. 12/11/18 3:40 PM ด้วยความห่วงใย ใส่ ใ จสิ ง ่ แวดล้ อ ม Implementing Projects on a Careful ดำ�เนินโครงการ และ and Eco-friendly Basis การศึกษาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม จัดท�ำขึ้นเพื่อหาแนวทาง An EIA was conducted to establish guidelines for ในการป้องกันและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม preventing or mitigating impacts on the environment และประชาชน โดยมีขั้นรายละเอียดของการศึกษา ดังนี้ and the public. Details are provided below: การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) Environmental impact assessment (EIA) ศึกษารายละเอียดโครงการ Study project details. ศึกษา/ส�ำรวจสภาพแวดล้อมปัจจุบันของพื้นที่ ตลอดแนวเส้นทางโครงการ Study and survey current environmental conditions in areas along project alignment. ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประเมินผลกระทบ ทางสังคม และประเมินผลกระทบทางสุขภาพ Conduct EIA, social impact assessment (SIA), and health impact assessment (HIA). มาตรการและแผนปฏิบัติการป้องกัน และลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม Set out prevention and mitigation measures and action plans. มาตรการและแผนปฏิบัติการติดตาม ตรวจสอบผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม Establish monitoring measures and action plans. แผนปฏิบัติการด้านการมีส่วนร่วม ของประชาชนและประชาสัมพันธ์ Issue public participation (PP) and public relations (PR) action plans. ขอบเขตพื้นที่ศึกษา 500 เมตร จากเขตทางรถไฟทั้ง 2 ฝั่ง Study the area within a radius of 500 m of both sides of railway tracks. การศึกษาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม Conduct environmental economics study. โดยมีการด�ำเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน และการประชาสัมพันธ์ตลอดระยะเวลาศึกษา Organize PP and PR activities throughout the study period. Untitled-2 14 12/11/18 3:40 PM การมีส่วนร่วมของประชาชน คือหัวใจของการดำ�เนินโครงการ Public Participation is Central to Project Implementation การด�ำเนินกิจกรรมด้านการมีสว่ นร่วมของประชาชนจัดท�ำขึ้น เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลของโครงการ ชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ที่ ประชาชนจะได้รับจากโครงการ รวมถึงรับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อน�ำไปประกอบการ พิจารณา วิเคราะห์ และปรับปรุงโครงการให้เกิดความเหมาะสม สอดคล้องกับลักษณะพื้นที่ และเกิดประโยชน์สูงสุด การเข้าพบชี้แจงให้ข้อมูลรายบุคคล Conduct personal clarification. PP activities disseminate project information, clarify project deliverables for public transparency, and allow all related sectors to express opinions and suggestions. This will contribute to proper project analysis and improvements that harmonize with area conditions for optimum benefits. Details are provided below: การประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นของผู้ประกอบการในท่าเรือ Organize focus group meetings for entrepreneurs in the ports’ compounds. การประชุมใหญ่เพื่อรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน (ปฐมนิเทศโครงการ) Arrange a project orientation meeting to seek public opinion. การประชุมกลุ่มย่อยรับฟังความคิดเห็น ของประชาชนต่อร่างมาตรการป้องกัน แก้ ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น Conduct focus group meetings to obtain public opinions on draft measures regarding preliminary environmental impact prevention and mitigation. Untitled-2 15 การประชุมใหญ่เพื่อรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน ต่อสรุปผลการศึกษาโครงการ Arrange a high-profile meeting to seek public opinion on project study results. การแทรกวาระการประชุม หน่วยงานในพื้นที่ Conduct meetings with local authorities. การประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อ สาธารณะ (แผ่นพับ บอร์ดนิทรรศการ วีดิทัศน์ เว็บไซต์โครงการ และการบริหาร จัดการสื่อสาธารณะ) Disseminate project information via brochures, exhibition boards, video presentations, project website, and public media management. 12/11/18 3:40 PM Untitled-2 16 12/11/18 3:40 PM