Uploaded by Pathiwat M Chantana

piก

advertisement
คู่มือนักศึกษาแพทย์
ชั้นปีที่ 6 ประจาปีการศึกษา 2558
ภาพลักษณ์ของแพทย์ที่พึงประสงค์
ของ โครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่ม
เพื่อชาวชนบท
เป็นแพทย์ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่
กาหนดโดยแพทยสภา และเน้นกนักให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจ
มีประสบการณ์ และเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานในชนบท
พร้อมที่จะให้บริการสาธารณสุขเชิงรุกแก่ประชาชนทั้งชุมชน
(มติคณะกรรมการอานวยการ โครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ครั้งที่ 1/2541 วันที่ 15 กรกฎาคม 2541)
ปรัชญา /ปณิธาน
บัณฑิตมีจริยธรรม
รู้ตามเกณฑ์แพทยสภา
รู้ปัญหาสุขภาพและชุมชน เป็นคนใฝ่รู้
อยู่อย่างสุขี
ใช้เทคโนโลยีเหมาะสม
สารบัญ
เรื่อง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13
หน้า
คานา
คาแนะนาภาควิชาอายุรศาสตร์
ขอบเขตของภาควิชาอายุรศาสตร์
รายชื่ออาจารย์
การกาหนดหลักสูตรการสอนวิชาอายุรศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6
เกณฑ์แพทยสภาสาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6
วัตถุประสงค์ทั่วไปของวิชาอายุรศาสตร์
วัตถุประสงค์ของชั้นปีที่ 6
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของชั้นปีที่ 6
9.1.
การปฐมนิเทศ
9.2.
หัวข้อการเรียนรู้
9.3.
ตารางการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน
9.4.
การจัดการเรียนรู้และการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ
9.5.
การสอนเจตคติ
9.6.
การสอนทักษะการติดต่อสื่อสาร
9.7.
การสอนจริยธรรม
9.8.
สื่อการเรียนการสอน
การประเมินผล
ระเบียบปฏิบัติสาหรับนักศึกษาแพทย์ รพ.มหาราช
หัตถการสาหรับนักศึกษาแพทย์
สิ่งควรรู้สาหรับนักศึกษาแพทย์ขณะปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย
ภาคผนวก
13.1
เว็บไซต์ทางอายุรศาสตร์
13.2
แบบประเมิน
1
2
6
12
14
16
94
96
100
100
100
100
101
106
106
106
108
111
116
124
125
126
127
คำนำ
คู่มือวิชาอายุรศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 นี้จัดทาขึ้นเพื่อให้
นักศึกษาได้เตรียมตัวก่อนการขึ้นปฏิบัติงาน ณ ภาควิชาอายุรศาสตร์ ซึ่งในชั้นปีที่
การศึกษาภาคปฏิบัติเป็นระยะเวลา
8
6 เป็น
สัปดาห์ เนื้อหาที่นักศึกษาควรรู้คือหลักสูตร
วัตถุประสงค์ เกณฑ์แพทยสภา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการประเมินผล
ในการเตรียมตัวก่อนขึ้นปฏิบัติงาน นักศึกษาควรทบทวนวิชาอายุรศาสตร์ที่ผ่านมาในชั้นปีที่ 4
และ 5 การศึกษาในชั้นปีที่ 6 เน้นการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีเจาะจง ( Focused method )
และ Backward reasoning เพื่อการวินิจฉัยและบาบัดรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
รวดเร็ว ทั้งในภาวะอายุรศาสตร์ฉุกเฉินและอายุรศาสตร์ทั่วไป ซึ่งถ้านักศึกษามีความรู้
พื้นฐานทาง อายุรศาสตร์ที่ดี ก็จะช่วยให้ประยุกต์นาความรู้มาใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ในการดูแลผู้ป่วย
ภาควิชาอายุรศาสตร์หวังว่านักศึกษาจะศึกษาคู่มือนี้โดยละเอียด
เพื่อการเรียนรู้ และการ
ปฏิบัติงานในภาควิชาอายุรศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันจะเป็นประโยชน์ต่อ
ตนเองในการประกอบเวชปฏิบัติต่อไป
คูม่ ือนักศึกษาแพทย์ ประจาปี การศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
1
คาแนะนาภาควิชาอายุรศาสตร์
ชื่อภาควิชา/หน่วยงาน
สังกัด
ที่ตั้ง
อาคารตึก 8 ชั้น
ภาควิชาอายุรศาสตร์
รพ.มหาราชนครราชสีมา
ชั้น 9
ชั้น 8
ชั้น 7
อาคารการไฟฟ้า
ชั้น 9
ชั้น 8
ชั้น 7
ชั้น 6
ชั้น 5
ชั้น 4
ชั้น 3
ชั้น 2
ชั้น 1
อาคารเฉลิมพระเกียรติ
ชั้น 7
ชั้น 4
ชั้น 2
ชั้น 1
ชั้น 1
อาคารผู้ป่วยนอก
ห้องประชุมบวร จิระสุข
หอผู้ป่วยสามัญชาย อายุรกรรม 8 ขวา และ 8 ซ้าย
ธุรการภาควิชาอายุรศาสตร์
ห้องประชุมธัญญะเศรษฐ์
Lab 8 ซ้าย และ Lab 8 ขวา
หอผู้ป่วยสมัญชาย 7 ซ้าย
หอผู้ป่วยหนัก ICU 7 ซ้าย และ 7 ขวา
หอผู้ป่วยหนัก RCU
ห้องพักแพทย์เวร
หอผู้ป่วยพิเศษ และห้องพักแพทย์เวร (Resident)
หอผู้ป่วยพิเศษ และห้องพักแพทย์เวร (Resident)
หอผู้ป่วยพิเศษ
หอผู้ป่วยสามัญหญิง
หอผู้ป่วยสามัญหญิง และห้องพักแพทย์เวร (Exterm)
หอผู้ป่วยสามัญหญิง และ Lab การไฟฟ้า
หน่วยตรวจโรคด้วยเครื่องมือพิเศษ
หอผู้ป่วยหนัก CCU และ I CU
หน่วยโรคไตเทียม และล้างไตทางหน้าท้อง,
ศูนย์รับบราค และปลูกถ่ายอวัยวะ
และห้องพักแพทย์เวร (Intern)
ห้องตรวจการนอนหลับ
หน่วยตรวจคลื่นสะท้อนเสียงหัวใจ (ECHO)
ห้องสวนหัวใจ
ห้องสังเกตุอาการณ์
คลินิกอายุรกรรมทั่วไป และอายุรกรรมเฉพาะทาง
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
2
วิสัยทัศน์ของภาควิชาอายุรศาสตร์
“เป็นสถาบันอายุรศาสตร์ชั้นนาในส่วนภูมิภาค ที่มีคุณภาพระดับประเทศ”
พันธกิจของภาควิชาอายุรศาสตร์
 ให้บริการสุขภาพแบบองค์รวม
 ให้บริการระดับตติยภูมิ และสนับสนุนสถานบริการปฐมภูมิ และทุติยภูมิ
 ผลิต และพัฒนาบุคลากรด้านสาถารณสุข ระดับต่างๆ
 ดาเนินการศึกษา วิจัย และเป็นสถาบันร่วมในการศึกษาวิจัย
ประวัติความเป็นมาของภาควิชาฯ
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นตามประกาศจัดตั้งสุขาภิบาล ตาบลโพธิ์
กลาง จังหวัดนครราชสีมา เมื่อ 28 กันยายน พ.ศ. 2452 โดยใช้ชื่อเริ่มแรกว่าโรงพยาบาล
สุขาภิบาล และรับรักษาเฉพาะผู้ป่วยโรคติดต่อเท่านั้น ต่อมาเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2491
โรงพยาบาลได้ย้ายไปสังกัดกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข และใช้ชื่อใหม่ว่าโรงพยาบาล
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
3
เมืองนครราชสีมา โดยเน้นเป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด ต่อมาในปี พ .ศ. 2518 ได้ย้ายมา
สังกัดกองโรงพยาบาลภูมิภาค สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2519 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ได้รับการยกระดับขึ้นเป็นโรงพยาบาลศูนย์ตาม
นโยบายให้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลศูนย์ขึ้นในจังหวัดใหญ่ๆ ประจาภูมิภาคทั่วประเทศจานวน
14 แห่ง ทั้งนี้เพื่อยกระดับมาตรฐานการบริการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค โดยจัดให้มีแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขามาให้บริการรักษาผู้ป่วย และเมื่อวันที5่ กันยายน 2525 โรงพยาบาล
ศูนย์นครราชสีมาได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าแต่งตั้งให้เป็น โรงพยาบาลมหาราช
นครราชสีมา เพื่อเทอดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และทาพิธีเปิด
อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2526
ในส่วนของภาควิชาอายุรศาสตร์นั้น ได้ย้ายที่ทาการและอาคารหอผู้ป่วยจากบริเวณอาคาร
หลังเดิมด้านถนนช้างเผือก ตรงข้ามโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมา มาอาคารหลังใหม่ตึก 8
ชั้นติดถนนมหาราช ในปี พ .ศ. 2526 โดยมีจานวนเตียงรองรับผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้น มี
สานักงานภาควิชาอายุรศาสตร์ อยู่ที่ชั้น 8 และมีอาคารหอผู้ป่วยรวม 2 ชั้น ได้แก่ ชั้น 7
ประกอบด้วยหอผู้ป่วยหนัก (ICU) และหอผู้ป่วยหนักระบบทางเดินหายใจ (RCU) หอผู้ป่วย
สามัญชาย หอผู้ป่วยชั้น 8 ประกอบด้วยอาคารหอผู้ป่วยสามัญชายและหญิง นอกจากนั้น
ภาควิชามีขอบเขตความรับผิดชอบดูแลศูนย์โรคหัวใจ หอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ (CCU) และ
หน่วยไตเทียม ต่อมาเมื่อปี 2551 ได้รับเงินบริจาคจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเพื่อสร้างอาคาร
รองรับผู้ป่วย 9 ชั้น โดยประกอบไปด้วยหอผู้ป่วยพิเศษ หอผู้ป่วยหนัก หน่วยตรวจโรคด้วย
เครื่องมือพิเศษ และหน่วยโรคใต ในชื่อของ อาคารการไฟฟ้า
ภาควิชาอายุรศาสตร์เดิม เริ่มบทบาทด้านการเรียนการสอน เป็นที่ปฏิบัติงานของแพทย์
ฝึกหัดตั้งแต่ พ.ศ. 2503 โดยใน พ.ศ. 2514 ได้รับความช่วยเหลือจากคณะแพทยศาสตร์ศิริ
ราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี พัฒนาอาจารย์ด้านการเรียนการสอน โดยมีอาจารย์จากคณะ
แพทยศาสตร์ทั้ง 3 แห่ง หมุนเวียนมาให้ความรู้ทางวิชาการเป็นประจา
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
4
พ.ศ. 2522 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีร่วมกับโรงพยาบาลนครราชสีมาจัดตั้ง
โครงการร่วมสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 (Extern) ของคณะแพทยศาสตร์ มีการพัฒนา
อาจารย์และจัดโครงการผลิตแพทย์ประจาบ้านร่วมกับโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยได้เริ่มจัด
หลักสูตรการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 (Extern) จากรามาธิบดีหมุนเวียน
มาเรียนภาคปฏิบัติที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ .ศ. 2527 จนถึง
ปัจจุบัน นอกจากนี้ภาควิชายังได้จัดการเรียนการสอนแก่แพทย์เพิ่มพูนทักษะที่มาฝึก
ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542
ต่อมา พ.ศ. 2543 ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทของกระทรวงสาธารณสุข
ภาควิชาอายุรศาสตร์ได้มีบทบาทจัดการเรียนการสอนวิชาอายุรศาสตร์แก่นักศึกษาแพทย์ชั้นปี
ที่ 3–6 โดยเริ่มสอนนักศึกษาแพทย์รุ่นแรก พร้อมกับจัดการฝึกอบรมแพทย์พี่เลี้ยงสาขา
อายุรศาสตร์ นักศึกษาแพทย์รุ่นแรกได้สาเร็จหลักสูตรตั้งแต่ปี 2546
ในปี พ.ศ. 2549 ภาควิชาอายุรศาสตร์ได้รับการรับรองจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่ง
ประเทศไทย ให้เป็นสถาบันการเรียนการสอนระดับแพทย์ประจาบ้านสาขาอายุรศาสตร์ โดย
ฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้านปีละ 5 คน และในปีปัจจุบันได้รับอนุมัติให้ฝึกอบรมเพิ่มเป็นปีละ
14 คน
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
5
ขอบเขตของภาควิชาอายุรศาสตร์
กลุ่มงานอายุรกรรมทาหน้าที่ให้บริการด้านการดูแลรักษาผู้ปุวย สนับสนุนการดูแลตนเอง ด้าน
สุขภาพของประชาชน ประสานงานกับกลุ่มงานอื่นในด้านการฟื้นฟูและปูองกันโรค ทั้งยัง
จัดการเรียนการสอน ฝึกอบรม วิจัยและพัฒนาระบบสาธารณสุข
งานบริการ
ด้านการดูแลรักษาผู้ปุวย กลุ่มงานอายุรกรรมให้บริการการตรวจผู้ปุวยนอก และดูแลผู้ปุวยใน
หอผู้ปุวยในทั้งในและนอกแผนก
งานบริการผู้ป่วยนอก ให้บริการการตรวจผู้ปุวยนอก ณ หน่วยตรวจผู้ปุวยนอกทั้งทางด้าน
อายุรศาสตร์ทั่วไปและโรคเฉพาะทาง โดยเปิดบริการผู้ปุวย ดังนี้
คลินิกอายุรกรรมทั่วไป
ให้บริการในเวลาราชการ วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.00 น. และให้บริการ
นอกเวลาราชการ วันจันทร์ ถึงวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 16.00 – 20.00 น. และวันเสาร์ – อาทิตย์
เวลา 09.00 – 12.00 น.
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
6
คลินิกพิเศษเฉพาะทาง
08.30 น.
11.30 น.
โรคระบบทางเดิน
อาหาร โรคข้อ
โรคไต โรคติดเชื้อ
โรคระบบประสาท
16.00 – 20.00 น.
จันทร์
โรคผิวหนัง
โรคหัวใจ
โรคระบบประสาท
โรคไต โรคหัวใจ
โรคระบบการหายใจ
โรคต่อมไร้ท่อ
อังคาร
โรคข้อ
โรคผิวหนัง
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดิน
โรคไต
อาหาร
โรคทางเดินอาหาร
โรคไต โรคหัวใจ
โรคติดเชื้อ โรคผิวหนัง
โรคระบบการหายใจ
โรคต่อมไร้ท่อ
พุธ
โรคต่อมไร้ท่อ
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคหัวใจ
โรคทางเดินหายใจ
โรคระบบประสาท
โรคผิวหนัง
โรคทางเดินอาหาร
โรคไต โรคหัวใจ
โรคระบบประสาท
โรคต่อมไร้ท่อ
พฤหัสบดี
โรคผิวหนัง
โรคเลือด
โรคต่อมไร้ท่อ
โรคทรวงอก
โรคหัวใจ
โรคทางเดินอาหาร
โรคไต โรคข้อ
โรคระบบประสาท
โรคต่อมไร้ท่อ
โรคระบบการหายใจ
ศุกร์
โรคหัวใจ
โรคหอบหืด
โรคเลือด
โรคทรวงอก
โรคผิวหนัง
โรคไต โรคหัวใจ
โรคระบบประสาท
โรคติดเชื้อ
งานบริการอื่นๆ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
7
 ให้บริการการตรวจผู้ปุวยนอกรับปรึกษาผู้ปุวยจากห้องตรวจฉุกเฉิน
 หน่วยไตเทียม ให้บริการการบาบัดรักษาภาวะไตวายเฉียบพลันและไตวายเรื้อรังโดย
การฟอกเลือดและล้างช่องท้องอย่างถาวร
 บริการการตรวจพิเศษทางอายุรกรรมเช่น ตรวจคลื่นสะท้อนเสียงหัวใจ ตรวจส่อง
กล้องระบบทางเดินอาหาร ตรวจส่องกล้องระบบทางเดินหายใจ ตรวจคลื่นสมอง
ไฟฟูา ตรวจคลื่นหัวใจ ตรวจไขกระดูกเป็นต้น
 หอผู้ปุวยสามัญ หอผู้ปุวยหนัก หอผู้ปุวยหนักโรคหัวใจและห้องพิเศษของกลุ่มงาน
อายุรกรรม มีประมาณ 400 เตียง
 รับปรึกษาและร่วมดูแลรักษาผู้ปุวยในที่ส่งปรึกษาจากกลุ่มงานต่างๆ
 ศูนย์โรคหัวใจบริการการตรวจและรักษาพิเศษ การสวนหัวใจและเส้นเลือดหัวใจ
 หน่วยตรวจพิเศษอายุรกรรม บริการการตรวจโดยใช้กล้องส่องตรวจระบบทางเดิน
อาหาร คลินิกตรวจการนอนหลับ และกล้องส่องตรวจระบบทางเดินหายใจ
ด้านวิชาการ
 ภาควิชาได้จัดอบรมวิชาการในสาขาต่างๆของทางอายุรศาสตร์อย่างสม่าเสมอ
 จัดกิจกรรมทางวิชาการภายในกลุ่มงาน และประชุมวิชาการโรงพยาบาลอย่าง
สม่าเสมอ
 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปุวยในด้านการดูแลตนเองและการปูองกันโรค
 จัดห้องสมุดไว้ที่ห้องพักแพทย์เวร อาคาร 8 ชั้น ซึ่งประกอบด้วยหนังสือต่างๆ
วารสารทางอายุรศาสตร์ computer E-learning และ internet เพื่อให้นักศึกษา
แพทย์สามารถใช้ค้นคว้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
8
ด้านการเรียนการสอน
ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัย มหิดลสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
โครงการร่วมผลิตแพทยเพิ่มเพื่อชาวชนบท
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาสอนนักศึกษาแพทย์
ชั้นปีที่ 3 ถึงชั้นปีที่ 6
ระดับวุฒิบัตร
ฝึกอบรมแพทย์ประจาบ้านสาขาอายุรศาสตร์
โครงการร่วมกับคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล และโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีม
ฝึกอบรม Community Medicine ของแพทย์ประจาบ้านชั้นปีท3ี่
สาขาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ฝึกอบรมแพทย์ชดใช้ทุนสาขาอายุรศาสตร์ (แพทย์พี่เลี้ยง)
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
การเรียนการสอนอื่นๆ
ฝึกอบรมแพทย์เพิ่มพูนทักษะของกระทรวงสาธารณสุ
ฝึกอบรมนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 และ 6 จากสถาบันต่างๆ
ฝึกอบรมและดูงานของแพทย์และนักศึกษาแพทย์ระดับปริญญาโท
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล (DTM&H)
สอนและฝึกอบรมนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนี
นครราชสีมาและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
9
การพัฒนา และวิจัย
กลุ่มงานอายุรกรรมได้มีการพัฒนาด้านการดูแลผู้ปุวยโดยการจัดทา Clinical practice
guideline in Medicine
มี Patient care team (PCT) และการบริหารจัดการด้านความเสี่ยงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
การพัฒนาในระบบ HA ( Hospital Accredition ) ของโรงพยาบาล
มีระบบ Surveillance of Infectious control
พัฒนาระบบเก็บข้อมูลผู้ปุวยภายในกลุ่มงานร่วมกับทางโรงพยาบาล
มีผลงานวิจัยของอาจารย์ในภาควิชาอย่างสม่าเสมอและมีผลงานวิจัยที่สามารถนามาใช้ใน
การปรับปรุงการดูแลรักษาผู้ปุวย
ดาเนินการศึกษาวิจัย และเป็นสถาบันร่วมในการศึกษาวิจัย กับสถาบันการแพทย์ และ
สมาคมแพทย์ต่างๆ
ผลิตตาราวิชาอายุรศาสตร์
ผลิตเอกสารคู่มือการเรียนการสอนวิชาอายุรศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์โรงพยาบาล
มหาราชนครราชสีมา ปี 3, 4, 5 และ 6
ภาควิชาอายุรศาสตร์ได้มีการพัฒนาและขยายสาขาวิชาเพิ่มขึ้นตามลาดับในปัจจุบันมี
สาขาวิชาที่เป็นหน่วยงานในภาควิชา รวม 11 หน่วยดังนี้
หน่วยโรคหัวใจ
หน่วยโรคปอด
หน่วยโรคต่อมไร้ท่อ
หน่วยโรคผิวหนัง
หน่วยประสาทวิทยา
หน่วยโรคไต
หน่วยโรคติดเชื้อ
หน่วยโรคทางเดินอาหาร
หน่วยโลหิตวิทยา
หน่วยโรคข้อ
หน่วยโภชนาการบาบัด
มีกิจกรรมทางวิชาการอย่างสม่าเสมอ ซึ่งกิจกรรมทางวิชาการของแพทย์จัดเป็นการศึกษา
ต่อเนื่อง ( CME ) เพื่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของแพทย์
มีการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรในทุกระดับ และมีการพัฒนาการดูแลผู้ปุวยแบบสห
วิชาชีพ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
10
งานทานุบารุงศิลปะ และวัฒนธรรม
ภาควิชาอายุรศาสตร์ มีนโยบายสนับสนุนให้บุคลากรในภาควิชา รวมถึงนักศึกษาแพทย์ได้เข้า
ร่วมในกิจกรรมทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมต่างๆ เช่น วันไหว้ครู วันมหิดล ทาบุญตัก
บาตรวันปีใหม่ เป็นต้น
งานประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดทา SSR ในปี 2545
มีการจัดทา SAR ครั้งแรกในปี 2546 และได้มีการตรวจสอบภายในสถาบัน
และจัดทา SAR ประจาปีอย่างต่อเนื่อง
ได้รับการเยี่ยมสารวจระดับสถาบันจากมหาวิทยาลัยมหิดลในปี 2549
มีการจัดทา SAR ระดับแพทย์ประจาบ้าน และได้รับการตรวจสอบจากภายนอกโดย
ตัวแทนของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยในปี 2546 และปี 2550
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
117
คณาจารย์ในภาควิชาอายุรศาสตร์
ชื่อหัวหน้าภาควิชา นายแพทย์สุชาติ เจนเกรียงไกร
รองหัวหน้าภาควิชา นายแพทย์พาวุฒิ เมฆวิชัย นายแพทย์พินิจ แก้วสุวรรณะ
นายแพทย์สุรินทร์ แซ่ตัง แพทย์หญิงดรุณี คงแป้น
นายแพทย์สมชาย เหลืองจารุ
Hemato (โรคเลือด)
นายแพทย์สมชาย อินทรศิริพงษ์
แพทย์หญิงวัชรินทร์ ยิ่งสิทธิ์สิริ
แพทย์หญิงจุรี บุญดารงสกุล
แพทย์หญิงจิราวดี น้อยวัฒนกุล (ศึกษาต่อ)
Rheumato (โรคข้อและรูมิติสซั่ม)
แพทย์หญิงดรุณี คงแป้น
แพทย์หญิงขวัญฤทัย ศรีพวาทกุล
แพทย์หญิงบุษกร ดาราวรรณกุล
Neuro (โรคระบบประสาท)
นายแพทย์พาวุฒิ
เมฆวิชัย
นายแพทย์สุรินทร์ แซ่ตัง
นายแพทย์ชัยวิวัฒน์ ตุงคะเสรีรักษ์
แพทย์หญิงสลิลทิพย์ คุณาดิศร
Cardio (โรคระบบหายใจและหลอดเลือด)
นายแพทย์บัญชา
สุขอนันต์ชัย
นายแพทย์พินิศจัย นาคพันธุ์
นายแพทย์พินิจ
แก้วสุวรรณะ
นายแพทย์ธานินทร์ สิมธาราแก้ว
นายแพทย์วรงค์ วสุชานนท์
นายแพทย์วีรพันธ์ วิวัฒน์วรพันธ์
นายแพทย์กิตติพงษ์ ภิญโญสโมสร
นายแพทย์อัษฎายุธ พูลพิทยาธร (ศึกษาต่อ)
ID (โรคติดเชื้อ)
นายแพทย์ฤทธิ์ทา
แพทย์หญิงนิรดา ศิริยากร
แพทย์หญิงวิลาวัลย์ ทิพย์มนตรี (ศึกษาต่อ)
Chest (โรคระบบทางเดินหายใจ)
แพทย์หญิงนภัทร เขียวอ่อน
นายแพทย์ธนากรณ์ อนันตะเศรษฐกูล
นายแพทย์อนุชิต นิยมปัทมะ
แพทย์หญิงดารารัตน์ เอกสมบัติชัย
นายแพทย์ถิรชาติ เสวตานนท์
นายแพทย์ณัฐวัรรธน์ นัดพบสุข
Nephro (หน่วยโรคไต)
นายแพทย์สุชาติ
เจนเกรียงไกร
นายแพทย์ชวศักดิ กนกกันฑพงษ์
นายแพทย์นิรุธ
สุวรรณ
แพทย์หญิงวราภรณ์ เลียวนรเศรษฐ์
นายแพทย์วทัญญู พาราพิบูลย์
แพทย์หญิงลัดดาพร เชยคาแหง
Skin (โรคผิวหนัง)
แพทย์หญิงอุษา นิลรอด
แพทย์หญิงนิศา พฤฒิกถล
แพทย์หญิงนพนันท์ เฉลิมโรจน์
แพทย์หญิงกาญจนา เหลืองรังษิยากุล (ศึกษาต่อ)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
12
GI (โรคระบบทางเดินอาหารและตับ)
นายแพทย์สุนทร
ชินประสาทศักดิ์
นายแพทย์สมชาย เหลืองจารุ
แพทย์หญิงนพวรรณ วิภาตกุล
นายแพทย์ศรัณย์ สมพรเสริม
นายแพทย์ศุภกรณ์ มะลิขาว
Nutrition (โภชนาการบาบัด)
แพทย์หญิงเฉลิมพร เตียวศิริมงคล
Endocrine (ต่อมไร้ท่อ)
นายแพทย์ฤทธิ์ทา เลิศคุณลักษณ์
แพทย์หญิงพรรณทิพย์ ตันติวงษ์
แพทย์หญิงรุ่งนภา ลออธนกุล
แพทย์หญิงอนุตตรี ดาวราย
Onco (โรคมะเร็ง)
แพทย์หญิงครองกมล สีหบัณฑ์
คณาจารย์ และผู้ดูแล นศพ.
ผู้ดูแลภาพรวมด้านการเรียนการสอน
แพทย์หญิงพรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ผู้ดูแลภาพรวมด้านการเรียนการสอนในชั้นปีที่ 6
นายแพทย์วทัญญู พาราพิบูลย์
แพทย์หญิงขวัญฤทัย ศรีพวาทกุล
แพทย์หญิงลัดดาพร เชยคาแหง
นักวิชาการศึกษา
คุณปิยพร สิทธิถาวร
คุณพิมลพรรณ มลิวัลย์
คุณทิพวรรณ มองสวาย
เจ้าหน้าที่ธุรการ
คุณอานวยศรี ตะกรุดราช
คุณวงเดือน เจริญศักดิ์
คุณจิราภรณ์ วินิจจตุรงค์
คุณรัตนวลี นินกระโทก
คุณเปรมฤดี เนียมศรีเพชร
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
13
หลักสูตร
วิชาอายุรศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 โรงพยาบาลมหาราช มี ทั้งหมด 8 หน่วยกิต
มี 2 รหัสวิชาและคาอธิบายรายวิชา ดังนี้
รหัสวิชา : นมอย 601 (NAMD 601)
ชื่อวิชา : อายุรศาสตร์ 6 (Medicine VI)
วิชาบังคับก่อน นมอย 501 และ นมอย
4 (0 - 8- 4)
502
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกปฏิบัติทางคลินิกด้วยคุณธรรมและจริยธรรมวิชาชีพ ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก เพื่อให้เกิดทักษะในการตัดสินใจใน
การดูแลรักษาโรคและปัญหาที่พบบ่อยทางอายุรกรรมได้อย่างเหมาะสม สามารถรวบรวมเก็บข้อมูลทางคลินิก ให้การ
ดูแลรักษา เลือกการตรวจทางปฏิบัติการที่จาเป็น การให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการดูแลรักษา การให้ความรู้และ
คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติ ติดตามอาการอย่างใกล้ชิดและเปลี่ยนแปลงการรักษาร่วมกับแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วย การดูแล
ผู้ป่วยภาวะวิกฤตทั้งกรณีต้องปรึกษาหรือส่งต่อ ตามเกณฑ์มาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา
ประเมินความสามารถตนเองและส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานและจิต
เวชศาสตร์มาใช้ควบคู่กับการดูแลรักษาโรคทางกาย การเตรียมผู้ป่วยและญาติก่อนกลับบ้าน
รหัสวิชา : นมอย 602 (NAMD 602)
ชื่อวิชา : อายุรศาสตร์ 7 (Medicine VII)
วิชาบังคับก่อน นมอย 501 และ นมอย
4 (0 - 8- 4)
502
คาอธิบายรายวิชา
เพิ่มพูนประสบการณ์การฝึกปฏิบัติทางคลินิกด้วยคุณธรรม และจริยธรรมวิชาชีพทั้งผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอกเพื่อให้เกิด
ทักษะการตัดสินใจในการดูแลรักษาโรค และปัญหาที่พบบ่อยทางอายุรกรรมได้อย่างเหมาะสม รวบรวมข้อมูลทางคลินิก
ให้การดูแลรักษา เลือกการตรวจทางปฏิบัติการที่จาเป็น การให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการดูแลรักษา การให้ความรู้ และ
คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติ ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด และเปลี่ยนแปลงการรักษาร่วมกับแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วย การดูแล
ผู้ป่วยภาวะวิกฤติทั้งกรณีต้องปรึกษาได้อย่างเหมาสม การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน พยาธิวิทยา รังสี
วิทยา และจิตเวชศาสตร์มาใช้ควบคู่กับการดูแลรักษาโรคทางกาย การเตรียมผู้ป่วยและญาติก่อนกลับบ้าน
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
14
วิชาเลือก
วิชาเลือก กลุ่มวิชาชีพของภาควิชาอายุรศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มีทั้งหมด
4 รหัสวิชา ดังนี้
รหัสวิชา : นมอย 603 (NAMD 603)
2(0-6-2)
ชื่อวิชา : ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ (Clinical Experiences in Medicine)
วิชาบังคับก่อน นมอย 501 และ นมอย 502
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย การวินิจฉัยโรค หลักการรักษา การให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับโรคทาง
อายุรศาสตร์ ภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉินสาคัญ และพบบ่อย
รหัสวิชา : นมอย 613 (NAMD 613)
2(0-4-2)
ชื่อวิชา : ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา (Clinical Experiences in Dermatology)
วิชาบังคับก่อน นมอย 501 และ นมอย 502
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย การวินิจฉัยโรค หลักการรักษา การให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับโรคทางตจวิทยา
การรักษาเบื้องต้น และหัตถการอย่างง่าย
รหัสวิชา : นมอย 632 (NAMD 32)
4(0-8-4)
ชื่อวิชา : ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ (Clinical Experiences in Medicine)
วิชาบังคับก่อน นมอย 501 และ นมอย 502
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย การวินิจฉัยโรค หลักการรักษา การให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับโรคทาง
อายุรศาสตร์ ภาวะแทรกซ้อน ภาวะฉุกเฉินที่สาคัญ และพบบ่อย
รหัสวิชา : นมอย 633 (NAMD 633)
4(0-8-4)
ชื่อวิชา : ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา (Clinical Experiences in Dermatology)
วิชาบังคับก่อน นมอย 501 และ นมอย 502
คาอธิบายรายวิชา
ฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย การวินิจฉัยโรค หลักการรักษา การให้คาปรึกษา แนะนาเกี่ยวกับโรคทางตจวิทยา
การรักษาเบื้องต้น และหัตถการอย่างง่าย
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
15
เกณฑ์ความรู้ความสามารถในการประเมินเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2555
(Medical Competency Assessment Criteria for National License 2012 )
การกาหนดเกณฑ์ความรู้ความสามารถในการประเมินเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทย
สภามีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานคุณวุฒิให้สถาบันผู้ผลิตบัณฑิตแพทย์ ใช้กาหนดความรู้ ความสามารถทางวิชาชีพ
ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ทั้งนี้สถาบันฯ สามารถกาหนดความรู้ความสามารถเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กาหนดได้
ตามความเหมาะสมและบริบทของแต่ละสถาบันฯ
2. ให้ศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใช้เป็นเกณฑ์ความรู้
ความสามารถในการประเมินเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทยสภา
รายละเอียดประกอบด้วยเกณฑ์ฯทั้งหมด 5 ส่วนดังนี้
ส่วนที่ 1 ก. วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน
ส่วนที่ 2 ข. ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิก
ส่วนที่ 3 ค. สุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 4 ง. เวชจริยศาสตร์
ส่วนที่ 5 จ. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ก. วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความเข้าใจวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน ทั้งนี้หมวดวิทยาศาสตร์
การแพทย์พื้นฐานแบ่งออกเป็น 2 หมวดดังนี้คือ
หมวดที่ 1. หลักการทั่วไป(General principle)
หมวดที่ 2. การจาแนกตามระบบอวัยวะ
หมวดที่ 1. B1 หลักการทั่วไป (General principle)
B1.1 Biochemistry and molecular biology
B1.1.1 Structure, and function of proteins
B1.1.1.1 principles of protein structure and folding
B1.1.1.2 enzymes: kinetics, reaction mechanisms
B1.1.1.3 structural and regulatory proteins: ligand binding, self-assembly
B1.1.1.4 regulatory properties
B1.1.2 Gene expression: DNA structure, replication, and exchange
B1.1.2.1 DNA structure: single- and double-stranded DNA, stabilizing forces, supercoiling
and topoisomers
B1.1.2.2 gene structure and organization: chromosomes, centromere, telomere
B1.1.2.3 DNA replication, degradation, repair, mutation, activation and inactivation
B1.1.2.4 recombination, insertion sequences, transposon
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
16
B1.1.2.5 mechanisms of genetic exchange, including transformation, transduction,
conjugation, crossing over, recombination, linkage
B1.1.3 Gene expression: transcription, including defects
B1.1.3.1 transcription of DNA into RNA, RNA, RNA degradation
B1.1.3.2 post-transcriptional modification
B1.1.3.3 regulation: cis-regulatory elements, transcription factors, enhancers, promoters,
silencers, repressants
B1.1.4 Gene expression: translation, including defects
B1.1.4.1 the genetic code
B1.1.4.2 structure and function of tRNA
B1.1.4.3 structure and function of ribosomes
B1.1.4.4 protein synthesis
B1.1.4.5 regulation of translation
B1.1.4.6 post-translational modifications
B1.1.5 Principles of molecular technology
B1.1.5.1 analysis of DNA: sequencing, restriction analysis, PCR, amplification, hybridization
B1.1.5.2 plasmids and bacteriophages
B1.1.5.3 gene cloning
B1.1.5.4 recombinant DNA technology and application
B1.1.6 Energy metabolism, including metabolic sequences, regulation
B1.1.6.1 cellular bioenergetic: thermodynamics, free energy, chemical equilibria and
group transfer potential, energetics of ATP and other high-energy compounds
B1.1.6.2 tricarboxylic acid cycle, electron transport and oxidative phosphorylation
B1.1.6.3 generation of energy from carbohydrates, fatty acids, and essential amino acids;
aerobic and anaerobic glycolysis and gluconeogenesis, β oxidation, ketogenesis
and ketone bodies oxidation
B1.1.6.4 storage of energy: glycogenesis, fatty acid and triglyceride synthesis
B1.1.6.5 generation, expenditure, and storage of energy at the whole-body level
B1.1.6.6 protein turnover, protein-calorie balance
B1.1.7 Metabolic pathways of small molecules and associated diseases
B1.1.7.1 biosynthesis and degradation of carbohydrate including fructose, sorbitol,
galactose, lactose, pentose phosphate pathway and uronic acid pathway (e.g.,
galactosemia, fructosuria, glucose 6-postphate dehydrogenase deficiency)
B1.1.7.2 biosynthesis and degradation of amino acids (e.g., phenylketonuria,
homocystinuria, maple syrup urine diseases)
B1.1.7.3 biosynthesis and degradation of purine and pyrimidine nucleotides (e.g., gout,
Lesch-Nyhan syndrome)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
17
B1.1.7.4 biosynthesis and degradation of lipids (e.g., dyslipidemias, carnitine deficiency)
B1.1.7.5 biosynthesis and degradation of porphyrins (e.g., porphyria)
B1.1.7.6 biosynthesis and degradation of alcohols and other small molecules
B1.1.8 Biosynthesis and degradation of other macromolecules and associated abnormalities,
complex carbohydrates (e.g., lysosomal storage disease), glycoproteins, and proteoglycans
(e.g., type II glycogen storage disease)
B1.1.9 Nutrients, vitamins, minerals and trace elements
B1.1.9.1 functions of nutrients , including essential fatty acid, trans-fatty acids, cholesterol
B1.1.9.2 vitamins: structures of vitamins and derivatives of medical important, absorption,
storage and excretion, functions, food sources and requirements
B1.1.9.3 mineral and trace element requirements
B1.1.9.4 assessment of nutritional status across the life span, including calories, protein,
essential nutrients, hypoalimentation
B1.2 Biology of cells
B1.2.1 Structure and function of cell components (e.g., endoplasmic reticulum, Golgi complex,
mitochondria, lysosome, peroxisome, endosome, centriole, microtubule, ribosome,
polysome, plasma membrane, cytosol, cilia, nucleus, cytoskeleton)
B1.2.2 Signal transduction (including basic principles, receptors and channels, second
messengers, signal transduction pathways)
B1.2.3 Cell-cell and cell-matrix adhesion
B1.2.4 Cell motility
B1.2.5 Intracellular sorting (e.g., trafficking, endocytosis)
B1.2.6 Cellular homeostasis (e.g., turnover, pH maintenance, proteasome, ions, soluble proteins)
B1.2.7 Cell cycle (e.g., mitosis, meiosis, structure of spindle apparatus, cell cycle regulation)
B1.2.8 Structure and function of basic tissue components (including epithelial cells, connective
tissue cells, muscle cells, nerve cells, and extracellular matrix)
B1.2.9 Intracellular accumulations (e.g., pigments, fats, proteins, carbohydrates, minerals,
Inclusions, vacuoles)
B1.2.10 Adaptive cell response to injury (e.g., hypertrophy and metaplasia)
B1.2.11 Mechanisms of cell injury and necrosis, including free radical mediated cell injury
B1.2.12 Apoptosis
B1.3 Human development and genetics
B1.3.1 Embryogenesis: basic programmed gene expression, and developmental regulation of gene
expression for medical student
B1.3.2 Principles of pedigree analysis, including inheritance patterns, occurrence and recurrence
risk determination
B1.3.3 Population genetics: Hardy-Weinberg law, founder effects, mutation-selection equilibrium
18
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B1.4 Normal immune responses
B1.4.1 Innate immunity
B1.4.2 Production and function of granulocytes, natural killer cells, macrophages
B1.4.3 Production and function of T lymphocytes, T-lymphocyte receptors
B1.4.4 Production and function of B lymphocytes and plasma cells, immunoglobulin and
antibodies, structure and biologic properties
B1.4.5 Antigenicity and immunogenicity, antigen presentation, cell activation and regulation,
tolerance and clonal deletion
B1.4.6 Immunologic mediators: chemistry, function, molecular biology, complement pathways,
cytokines, chemokines
B1.4.7 Immunogenetics: MHC structure and function, erythrocyte antigens, transplantation
B1.4.8 Immunizations, protective immunity
B1.5 Pathogenesis, pathophysiology, basic pathological process and laboratory investigation
B1.5.1 Acute and chronic inflammation
B1.5.1.1 acute inflammation and mediator systems
B1.5.1.2 bactericidal mechanisms and tissue injury
B1.5.1.3 clinical manifestations (e.g., pain, leukocytosis, fever, leukemoid reaction, and
chills)
B1.5.1.4 chronic inflammation
B1.5.2 Tissue renewal, regeneration and repair
B1.5.2.1 control of normal cell proliferation and tissue growth (e.g., stem cell, tissue
proliferative activity)
B1.5.2.2 mechanism of tissue and organ regeneration
B1.5.2.3 healing by repair, scar formation and fibrosis
B1.5.3 Hemodynamic disorders, thromboembolic disease and shock
B1.5.3.1 edema
B1.5.3.2 hyperemia and congestion
B1.5.3.3 hemorrhage
B1.5.3.4 hemostasis and thrombosis
B1.5.3.5 embolism (e.g., pulmonary, air, fat, bone marrow, amniotic embolism, systemic
thromboembolism)
B1.5.3.6 infarction
B1.5.3.7 shock
B1.5.4 Genetic disorders
B1.5.4.1 gene and human diseases (e.g., mutations)
B1.5.4.2 congenital abnormalities: principles, patterns of anomalies, dysmorphogenesis
19
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B1.5.4.3 genetic mechanisms: chromosomal abnormalities, Mendelian inheritance,
complex multigenic disorders, single gene disorders with nonclassic inheritance
B1.5.4.3 clinical genetics, including genetic testing, prenatal diagnosis, newborn screening,
genetic counseling/ethics, gene therapy
B1.5.5 Diseases of the immune system
B1.5.5.1 immunodeficiency
B1.5.5.1.1 primary Immunodeficiency
B1.5.5.1.1.1 combined immunodeficiency disease (e.g., SCID)
B1.5.5.1.1.2 T cell deficiency (e.g., DiGeorge syndrome)
B1.5.5.1.1.3 B cell deficiency (e.g., congenital agammaglobulinemia)
B1.5.5.1.1.4 phagocyte deficiency (e.g., chronic granulomatous disease)
B1.5.5.1.1.5 complement deficiency
B1.5.5.1.2 secondary Immunodeficiency (e.g., infection, radiation, splenectomy,
malnutrition etc.)
B1.5.5.2 immunologically mediated disorders
B1.5.5.2.1 hypersensitivity types I–IV
B1.5.5.2.2 autoimmune disorders
B1.5.5.2.3 transplantation and graft rejection including graft VS host reaction
B1.5.5.3 tumor immunology
B1.5.5.4 laboratory investigation (e.g., ELISA, complement fixation RIA, agglutination)
B1.5.5.5 principle of immunotherapy
B1.5.6 Neoplasia
B1.5.6.1 classification, histologic diagnosis
B1.5.6.2 grading and staging of neoplasms
B1.5.6.3 cell biology, biochemistry, and molecular biology of neoplastic cells:
transformation, oncogenes, oncogenesis, altered cell differentiation, and
proliferation
B1.5.6.4 molecular basis of multistep carcinogenesis
B1.5.6.4 carcinogenic agents (e.g., chemical, radiation, and microbial agents)
B1.5.6.5 invasion and metastasis
B1.5.6.6 host defense against tumors
B1.5.6.7 paraneoplastic manifestations of cancer
B1.5.6.8 cancer epidemiology and prevention
B1.5.7 Infectious diseases
B1.5.7.1 microbial classification
B1.5.7.2 bacteria and bacterial diseases
B1.5.7.2.1 structure and composition
20
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B1.5.7.2.2 metabolism, physiology, and regulation
B1.5.7.2.3 genetics
B1.5.7.2.4 nature and mechanisms of action of virulence factors
B1.5.7.2.5 pathophysiology of infection
B1.5.7.2.6 epidemiology and ecology
B1.5.7.2.7 principles of cultivation, assay, and laboratory diagnosis
B1.5.7.2.8 bacterial infection not classified in the system; melioidosis,
leptospirosis, diphtheria, typhus fever (scrub typhus, murine typhus),
pertussis, anthrax, meningococcemia
B1.5.7.3 viruses and viral diseases
B1.5.7.3.1 physical and chemical properties
B1.5.7.3.2 replication
B1.5.7.3.3 genetics
B1.5.7.3.4 principles of cultivation, assay, and laboratory diagnosis
B1.5.7.3.5 molecular basis of pathogenesis
B1.5.7.3.6 pathophysiology of infection
B1.5.7.3.7 latent and persistent infections
B1.5.7.3.8 epidemiology
B1.5.7.3.9 oncogenic viruses
B1.5.7.3.10 viral diseases not classified in the system; Dengue hemorrhagic fever
& Chikungunya fever, varicella, zoster, herpes simplex infection viral
exanthemata (measles, rubella, erythema infectiosum, exanthema
subitum, hand foot mouth diseases), mumps, infectious
mononucleosis, cytomegaloviral infection
B1.5.7.4 fungi and fungal infections
B1.5.7.4.1 structure, physiology, cultivation, and laboratory diagnosis
B1.5.7.4.2 pathogenesis and epidemiology
B1.5.7.4.3 fungi and fungal infections not classified in the system; systemic
mycoses (candidiasis, cryptococcosis, aspergillosis, penicillosis,
mucormycosis)
B1.5.7.5 parasites and parasitic diseases
B1.5.7.5.1 structure, physiology, life cycles, and laboratory diagnosis
B1.5.7.5.2 pathogenesis and epidemiology
B1.5.7.5.3 parasitic diseases not classified in the system; blood and tissue
parasitic diseases (trichinosis, cysticercosis, gnathostomiasis,
pneumocystosis, angiostrongyliasis, filariasis, toxoplasmosis,
21
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
opisthorchiasis, paragonimiasis, schistosomiasis, malaria, acanthamoeba
infection, naegleria infection, leishmaniasis)
B1.5.7.6 principles of sterilization and pure culture technique
B1.5.8 Environmental and nutritional diseases
B1.5.8.1 adaptation to environmental extremes, including occupational exposures
B1.5.8.1.1 physical and associated disorders (e.g., mechanical trauma, radiation,
decreased atmospheric pressure, thermal injuries, electrical injury,
high-altitude sickness, increased water pressure)
B1.5.8.1.2 chemical poisoning and therapy (e.g., agricultural hazards, biological
venom and toxins, heavy metal, gases, vapors, smoke inhalation,
agricultural hazards, volatile organic solvents, principles of poisoning
and therapy)
B1.5.8.2 nutritional disorders
B1.5.8.2.1 protein-calorie malnutrition
B1.5.8.2.2 vitamin deficiencies and toxicities
B1.5.8.2.3 mineral and trace element deficiencies and toxicities
B1.5.8.2.4 obesity
B1.5.8.2.5 alternative diets and nutritional supplements
B1.5.9 Principles of specimen collections and laboratory interpretations
B1.5.9.1 complete blood count; hemoglobin, hematocrit, white blood count, platelet
count, red cell indices, blood smear: differential white blood cell count, red cell
morphology, platelet estimate and morphology
B1.5.9.2 reticulocyte count
B1.5.9.3 hemoglobin typing
B1.5.9.4 inclusion bodies, Heinz bodies
B1.5.9.5 venous clotting time, clot retraction, clot lysis
B1.5.9.6 coagulation study
B1.5.9.7 bleeding time
B1.5.9.8 erythrocyte sedimentation rate
B1.5.9.9 malarial parasite; thick and thin film
B1.5.9.10 ABO blood group, Rh and cross matching
B1.5.9.11 urinalysis
B1.5.9.12 stool examination, stool occult blood
B1.5.9.13 Gram staining, acid fast staining
B1.5.9.14 KOH smear, Tzanck’s smear, wet preparation
B1.5.9.15 body fluid analysis (e.g., CSF, pleural)
B1.5.9.16 cytology
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
22
B1.5.9.17 culture from clinical specimens
B1.5.9.18 antimicrobial susceptibility test
B1.5.9.19 endocrinologic studies: plasma glucose, HbA1C, oral glucose tolerance test
(OGTT), postprandial GTT, thyroid function test, serum cortisol
B1.5.9.20 liver profile
B1.5.9.21 kidney profile
B1.5.9.22 lipid profile
B1.5.9.23 cardiac markers
B1.5.9.24 tumor markers
B1.5.9.25 HIV testing
B1.5.9.26 serologic studies
B1.5.9.27 arterial blood gas analysis
B1.5.9.28 electrocardiography
B1.5.9.29 spirometry, peak expiratory flow rate measurement
B1.6 Gender, ethnic, and behavioral considerations affecting disease treatment and prevention,
including psychosocial, cultural, occupational, and environmental
B1.6.1 Progression through the life cycle, including birth through senescence
B1.6.1.1 normal growth and development through each period
B1.6.1.2 psychosocial development of infancy, toddlers, preschool, school age,
adolescence, young adults, middle age, menopause, aging male and old age
B1.6.1.3 cognitive, language, motor skills, social and interpersonal development
B1.6.1.4 sexual development (e.g., puberty, menopause)
B1.6.1.5 influence of developmental stage on physician/patient interview
B1.6.1.6 changes related to pregnancy
B1.6.1.7 personality development
B1.6.1.8 physical performance across lifespan
B1.6.1.9 sex and gender
B1.6.1.9.1 gender equity, gender equality, gender discrimination and social
construction of gender
B1.6.1.9.2 man and masculinity
B1.6.1.9.3 gender and health (link between gender and health)
B1.6.1.9.4 social determinants of health: gender
B1.6.1.9.5 gender analysis, gender bias in medical education and in health care
setting
B1.6.1.9.6 human rights
B1.6.1.9.7 gender sensitivity
B1.6.2 Psychologic and social factors influencing patient behavior
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
23
B1.6.2.1 personality traits or coping style, including coping mechanisms
B1.6.2.2 psychodynamic and behavioral factors, related past experience
B1.6.2.3 family and cultural factors, including socioeconomic status, ethnicity, and gender
B1.6.2.4 adaptive and maladaptive behavioral responses to stress and illness (e.g., drugseeking behavior, sleep deprivation)
B1.6.2.5 interactions between the patient and the physician or the health care system
(e.g., patient transfer)
B1.6.2.6 patient adherence, including general and adolescent
B1.6.3 Patient interviewing, consultation, and interactions with the family
B1.6.3.1 establishing and maintaining rapport
B1.6.3.2 data gathering
B1.6.3.3 approaches to patient education including patient’s understanding about the
health problems, purpose of therapy, proper use of drugs, adherence to therapy
and signs of major adverse drug effects
B1.6.3.4 enticing patients to make lifestyle changes
B1.6.3.5 communicating bad news
B1.6.3.6 “difficult” interviews (e.g., anxious or angry patients)
B1.6.3.7 multicultural ethnic characteristics
B1.6.4 Medical ethics, jurisprudence, and professional behavior
B1.6.4.1 principles of medical ethics
B1.6.4.2 doctor-patient relationship
B1.6.4.3 codes of conduct and etiquette
B1.6.4.4 human rights
B1.6.4.5 patient autonomy
B1.6.4.6 equity and social justice
B1.6.4.7 relationship with the pharmaceutical industry
B1.6.4.8 professionalism
B1.6.4.9 ethical dilemmas facing medical students
B1.6.4.10 principles of research ethics and research publication
B1.6.4.11 ethical aspects of genetics
B1.6.4.12 ethics of public health and health promotion
B1.6.5 Health schemes, national drug policies
B1.6.6 Organization and cost of health care delivery
B1.6.7 Concept and utilization of national list of essential medicines (NLEM)
B1.7 Multisystem processes
B1.7.1 Temperature regulation
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
24
B1.7.2 Fluid, electrolyte, and acid-base balance and disorders (e.g., water excess, dehydration,
acidosis, alkalosis, hyponatremia, hypernatremia, hypokalemia, hyperkalemia,
hypocalcemia, hypercalcemia)
B1.7.3 Exercise physiology
B1.7.4 Sleep health and sleep physiology
B1.8 General pharmacology
B1.8.1 Pharmacodynamic and pharmacokinetic processes
B1.8.1.1 pharmacokinetics: absorption and bioavailability, distribution, metabolism,
excretion, dose, method of administration and dosage intervals
B1.8.1.2 pharmacodynamics, mechanisms of drug action, structure-activity relationships,
receptors,signal transduction
B1.8.1.3 concentration- and dose-effect relationships (e.g., efficacy, potency), types and
actions of agonists and antagonists
B1.8.1.4 individual factors or special populations altering pharmacokinetics and
pharmacodynamics (e.g., age, pregnancy, gender, disease, tolerance, compliance,
body weight, metabolic proficiency, pharmacogenetics)
B1.8.1.5 adverse drug effects including contraindication, warning, precautions, side
effects, drug interactions, overdose and toxicity
B1.8.1.6 drug development and regulatory issues (e.g., approval scheduling,
bioequivalence, biosimilar)
B1.8.1.7 pharmacoeconomics and pharmacoepidemiology
B1.8.1.8 phamarcovigilance (e.g., ADR reporting system)
B1.8.1.9 concept of rational drug prescription
B1.8.2 General properties of autacoids, including peptides and analogs, biogenic amines,
prostanoids and their inhibitors, and smooth muscle/endothelial autacoids
B1.8.3 General principles of autonomic pharmacology
B1.8.4 General properties of antimicrobials, antiparasitic agents including mechanisms of action ; and
mechanisms, prevention and management of drug resistance
B1.8.5 General properties of antineoplastic agents and immunosuppressants, including drug
effects on rapidly dividing mammalian cells
B1.9 Quantitative methods
B1.9.1 Biostatistics
B1.9.1.1 statistical concepts in medical practice
B1.9.1.2 quantitative and qualitative data
B1.9.1.3 types of variables
B1.9.1.4 frequency distributions
B1.9.1.5 measures of central tendency
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
25
B1.9.1.6 measures of dispersion
B1.9.1.7 disease frequency, rates, risk
B1.9.1.8 statistical inference
B1.9.1.9 hypothesis generation, hypothesis testing,
B1.9.1.10 the alpha level and p value,
B1.9.1.11 type I error and type II error
B1.9.2 Research Methodology
B1.9.2.1 appraisal and application of medical literature
B1.9.2.2 foreground and background question, PICO
B1.9.2.3 sources and hierarchy of evidence
B1.9.2.4 research design
B1.9.2.5 study population, sampling, sample size
B1.9.2.6 sample allocation, concealment
B1.9.2.7 outcome assessment
B1.9.2.8 test of statistical significance, clinical important
B1.9.2.9 confidence intervals
B1.9.2.10 internal validity, external validity, reliability
B1.9.2.11 impact (size of effect)
B1.9.2.12 applicability
B1.9.2.13 patient values, patient circumstance
B1.9.2.14 chance, bias, confounder
B1.9.2.15 relative risk, odds ratio
B1.9.2.16 sensitivity, specificity, predictive value, likelihood ratio, ROC curve
B1.9.2.17 compliance
B1.9.2.18 co-intervention, contamination
B1.9.2.19 intention to treat, per-protocol analysis
B1.9.2.20 target (ultimate), surrogate (intermediate, substitute), outcomes (endpoints)
B1.9.2.21 relative risk reduction, absolute risk reduction, NNT
B1.9.2.22 cause and effect association
หมวดที่ 2. การจาแนกตามระบบอวัยวะ
ในหมวดนี้ได้ระบุเนื้อหาโดยจาแนกตามระบบอวัยวะออกเป็น
10 ระบบ (B2-B11) ในแต่ละระบบประกอบด้วย
2.1 ความรู้เรื่องภาวะปกติ
2.2 ความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา และพยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุ ของการ
เกิด โรค ซึ่งแบ่งเป็น กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้ และควรรู้โดยอิงจากเกณฑ์ในภาคผนวก ข ความรู้
ความสามารถทางวิชาชีพ และทักษะทางคลินิกดังนี้
- กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้ อิงจากกลุ่มที่ 1 และ 2 รวมทั้งเนื้อหาอื่นๆ
- กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้ อิงจากกลุ่มที่ 3 รวมทั้งเนื้อหา อื่นๆ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
26
2.3 หลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
2.4 การตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ปูองกันโรค
B2 Hematopoietic and Lymphoreticular Systems
B2.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบโลหิตวิทยา ดังต่อไปนี้
B2.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B2.1.2 Organ structure and function (bone marrow, lymph node, thymus, spleen)
B2.1.3 Cell/tissue structure and function
B2.1.3.1 production and function of erythrocytes, hemoglobin, O2 and CO2
transport, transport proteins
B2.1.3.2 production and function of leukocytes and the lymphoreticular system
B2.1.3.3 production and function of platelets
B2.1.3.4 production and function of coagulation, fibrinolytic factors and natural
inhibitors
B2.1.4. Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B2.2 มีความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา และพยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุ
ของการเกิดโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติทางระบบโลหิตวิทยา ดังต่อไปนี้
B2.2.1 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B2.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B2.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) lymphoid hyperplasia
(1) autoimmune hemolytic anemia
(2) immune thrombocytopenia
(2) incompatible blood transfusion
(3) immune deficiency states
(4) allergic purpura (Henoch-Schönlein
purpura)
B2.2.2 Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B2.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B2.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) lymphoma
(2) leukemia
(3) thymoma
(4) multiple myeloma
(5) myeloproliferative neoplasms
B2.2.3 Metabolic and regulatory disorders
B2.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B2.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) nutritional deficiency anemias (iron,
(1) acquired hemolytic anemia
folate, B12)
(paroxysmal nocturnal hematuria)
(2) hereditary hemolytic anemia
(2) hereditary hemolytic anemia
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
27
(thalassemia, G-6-PD deficiency)
(hemoglobinopathy, hereditary
spherocytosis)
(3) cytopenia (aplastic anemia,
agranulocytosis)
(4) bleeding secondary to coagulation
disorder (hemophilia, acquired
prothrombin complex deficiency or
vitamin K deficiency, consumptive
coagulopathy)
(5) bleeding secondary to platelet
disorder (von Willebrand diseases,
acquired platelet dysfunction with
eosinophilia)
B2.2.4 Vascular disorders
B2.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B2.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) deep vein thrombosis
B2.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B2.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B2.3.1 Whole blood and blood products
B2.3.2 Drugs used in nutritional, hypoplastic, hemolytic and renal anemia (anemia of
chronic renal failure)
B2.3.3 Drugs used in bone marrow transplantation
B2.3.4 Anticoagulants, antiplatelet drugs, fibrinolytic drugs and hemostatics
B2.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B2.2 ซึ่งรวมถึง
B2.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., barefoot, diet, depression)
B2.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., childhood leukemia)
B2.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., benzene, lead,)
B2.4.4 Gender and ethnic factors (hill tribe, herbal treatment)
B3 Central and Peripheral Nervous Systems
B3.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบประสาท ดังต่อไปนี้
B3.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes, including neural
tube derivatives, cerebral ventricles, neural crest derivatives
B3.1.2 Organ structure and function
B3.1.2.1 spinal cord, including gross anatomy, blood supply, and spinal reflexes
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
28
B3.1.2.2 brain stem, including cranial nerves and nuclei, reticular formation,
anatomy, and blood supply
B3.1.2.3 brain, including gross anatomy and blood supply; cognition, language,
memory; hypothalamic function; limbic system and emotional behavior;
circadian rhythms and sleep; control of eye movement
B3.1.2.4 sensory systems, including proprioception, pain, itching, vision, hearing,
balance, taste, and olfaction
B3.1.2.5 motor systems, including brain and spinal cord, basal ganglia and
cerebellum
B3.1.2. 6 autonomic nervous system
B3.1.2.7 peripheral nerve
B3.1.3 Cell/tissue structure and function
B3.1.3.1 axonal transport
B3.1.3.2 excitable properties of neurons, axons and dendrites, including channels
synthesis, storage, release, reuptake, and degradation of
neurotransmitters and neuromodulators
B3.1.3.3 pre- and postsynaptic receptor interactions, trophic and growth factors
brain metabolism
B3.1.3.4 glia, myelin
B3.1.3.5 brain homeostasis; blood-brain barrier, cerebrospinal fluid formation and
flow, choroid plexus
B3.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B3.2 มีความรู้เรื่อง สาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบประสาทดังต่อไปนี้
B3.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
B3.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) encephalocoele, hydrocephalus
B3.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B3.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) poliomyelitis
(1) brain abscess
(2) meningitis
(2) meningococcemia
(3) encephalitis and myelitis
(3) myasthenia gravis
(4) rabies
(4) polyneuropathies (Guillain-Barre
(5) tetanus
syndrome)
(6) facial nerve paralysis (Bell’s palsy)
(5) trigeminal neuralgia
(7) acute flaccid paralysis
(8) autoimmune disorders (e.g., Wegener
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
29
granulomatosis, Goodpasture
syndrome)
B3.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B3.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) coma
(2) convulsion
(3) acute increased intracranial pressure
(4) intracrainal bleeding
B3.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) head and neck injury
(2) spinal cord and peripheral nerve
injury
(3) peripheral nerve entrapment
(carpal tunnel syndrome, cubital
tunnel syndrome)
(4) hydrocephalus
B3.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B3.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) benign and malignant neoplasm
of brain
B3.2.5 Metabolic and regulatory disorders
B3.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) periodic paralysis
(1) Reye’s syndrome
(2) myopathy
(3) delirium
(4) cerebral palsy
B3.2.6 Vascular and circulatory disorders
B3.2.6.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.6.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) cerebrovascular diseases
(intracerebral hemorrhage,
cerebral infarction, subarachnoid
hemorrhage)
B3.2.7 Degenerative disorders
B3.2.7.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.7.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) Parkinsonism
(2) Alzheimer’s disease
(3) polyneuropathies (systemic
diseases, drugs, chemical,
alcohol)
(4) peripheral neuropathy
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
30
B3.2.8 Paroxysmal disorders
B3.2.8.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) epilepsy
(2) tension headache
(3) migraine headache
(4) pain syndromes
B3.2.8.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) sleep disorders including
narcolepsy, restless legs
syndrome/periodic limb
movement, circadian rhythm
disorders, parasomnias
B3.2.9 Psychopathologic disorders process and their evaluation
B3.2.9.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B3.2.9.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) acute psychosis, delirium
(1) organic mental disorders
(2) hyperventilation syndrome
(dementia, brain damage,
(3) severe depression
systemic diseases, alcohol &
(4) suicide attempt
substance induced, organic
(5) panic attack
amnestic syndrome, delirium)
(6) reaction to severe stress
(2) neurotic disorders (phobia,
(7) rape
obscessive-compulsive
disorders, dissociative or
(8) mental & behavioral disorders
conversion disorder)
due to alcohol, drugs and
(3) somatoform disorders
substances
(4) behavioral and emotional
(9) depressive disorder, panic
disorders in childhood and
disorder, generalized anxiety
adolescence (conduct disorder,
disorders
tic disorder, enuresis, feeding
(10)physical and sexual abuse of
disorder, nail biting, thumb
sucking, attention deficit
children, adults, and elders
disorders)
(5)
schizophrenia
(6) mood (affective) disorders;
manic episode, bipolar affective
disorder
(7) behavioral syndromes
associated with physiological
dysfunction and physical
factors (eating disorder, sleep
disorder, sexual dysfunction,
post-partum psychosis)
(8) disorders of adult personality
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
31
and behavior (aggressive,
antisocial, compulsive,
hysterical, obscessivecompulsive, paranoid)
(9) mental retardation
(10) disorders of psychological
development (speech and
language disorder, disorder of
scholastic skills, motor function
disorder, autism)
.10 Disorder of special senses: Ear
B3.2.10.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) myringitis
(2) acute otitis externa
(3) acute otitis media
(4) impacted cerumen
(5) foreign body through orifice
B3.2.11 Disorder of special senses: Eye
B3.2.11.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) eye injury and foreign body on
external eye
(2) hyphema
(3) acute corneal abrasion and ulcer
(4) acute glaucoma
(5) hordeolum and chalazion
(6) conjunctivitis
(7) pinguecula
B3.2.10.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) nasal polyps
(2) perforation of tympanic
membrane
(3) chronic otitis media
(4) mastoiditis, cholesteatoma
(5) perichondritis of the pinna
(6) conductive and sensorineural
hearing loss
(7) disorders of vestibular function
and vertiginous syndrome
(Meniere ‘s syndrome, vertigo)
(8) benign and malignant neoplasm
of larynx, nasopharynx;
nasopharyngeal carcinoma,
carcinoma of larynx
B3.2.11.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) disorders of ocular muscles,
refraction and accommodation
(strabismus, amblyopia, myopia,
presbyopia, hypermetropia,
astigmatism)
(2) dacryostenosis, dacryocystitis
(3) pterygium
(4) keratitis, corneal ulcer
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
(5)
(6)
(7)
(8)
(9)
uveitis
cataract
glaucoma
32
retinopathy
benign and malignant neoplasm
of eye
B3.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B3.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B3.3.1 Hypnotics and anxiolytics
B3.3.2 Drugs used in psychoses and related disorders (antipsychotic drugs and antimanic
drugs)
B3.3.3 Antidepressant drugs
B3.3.4 Central nervous system stimulants
B3.3.5 Drugs used in nausea, vertigo and vestibular disorders
B3.3.6 Analgesics and antipyretics including opioid analgesics, drugs for neuropathic pain
and antimigraine drugs)
B3.3.7 Antiepileptics
B3.3.8 Drugs used in movement disorders
B3.3.9 Drugs used in substance dependence
B3.3.10 Drugs used in neuromuscular disorders (drugs enhancing neuromuscular
transmission, skeletal muscle relaxants)
B3.3.11 Eye preparations
B3.3.11.1 anti-infective preparations
B3.3.11.2 corticosteroids and other anti-inflammatory preparations
B3.3.11.3 mydriatics and cycloplegics
B3.3.11.4 drugs for treatment of glaucoma
B3.3.11.5 local anesthetics
B3.3.12 Drugs acting on the ear
B3.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค/กลุ่มอาการ/ภาวะในข้อ B3.2 ซึ่งรวมถึง
B3.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., drug abuse, dementia, sleep deprivation,
accident prevention, pets)
B3.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., developmental disabilities,
dementia, generation reversal, nutrition, seizures, sleep disorders)
B3.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., boxing, carbon monoxide
exposure)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B3.4.4 Gender and ethnic factors
B4 Skin and Related Connective Tissue
B4.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
33
B4.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B4.1.2 Organ structure and function
B4.1.3 Cell/tissue structure and function, including barrier functions, thermal regulation,
eccrine function
B4.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life or ethnicity (e.g.,
senile purpura, male pattern baldness, postmenopausal hair changes)
B4.1.5 Skin defense mechanisms and normal flora
B4.2. มีความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
B4.2.1 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B4.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B4.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) acne, impetigo, cellulitis, abscess,
(1) staphylococcal scalded skin
(2) wart (verrucae)
syndrome (SSSS), carbuncle,
(3) superficial mycoses (tinea, pityriasis
gangrene
versicolor, candidosis)
(2) leprosy
(4) scabiasis, pediculosis
(3) bullous dermatoses (pemphigus,
(5) urticaria, eczema, dermatitis,
pemphigoid)
alopecia
(4) papulosquamous disorders (psoriasis,
pityriasis rosea, lichen planus)
(5) erythema multiforme, erythema
nodosum, Steven-Johnson’s
syndrome, toxic epidermal
necrolysis
(6) discoid lupus erythematosus
(7) scleroderma
B4.2.2 Traumatic and mechanical disorders
B4.2.2.1กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B4.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) ulcers
(2) bites, stings
(3) wound
B4.2.3 Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B4.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B4.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) cyst
(1) hemangiomas
(2) benign neoplasm of skin and related (2) malignant neoplasm of skin and
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
34
connective tissue
B4.2.4 Vascular disorders
B4.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) vasculitis
B4.2.5 Others
B4.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) corn
(2) scar, keloid,
(3) dyshidrosis, miliaria
(4) freckles, melasma, vitiligo
related connective tissue
B4.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) Raynaud’s disease
B4.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
B4.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B4.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B4.3.1 Anti-infective skin preparations
B4.3.2 Emollient and barrier preparations
B4.3.3 Topical antipruritics
B4.3.4 Topical corticosteroids
B4.3.5 Other preparations for psoriasis
B4.3.6 Preparations for warts and calluses
B4.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค/กลุ่มอาการ/ภาวะในข้อ B4.2 รวมถึง
B4.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., sun exposure, acne)
B4.2.2 Influence on person, family, and society (e.g., psoriasis)
B4.4.3 Occupational and other environmental risk factors
B4.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., keloid)
B5 Musculoskeletal System and Connective Tissue
B5.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ดังต่อไปนี้
B5.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B5.1.2 Organ structure and function
B5.1.3 Cell/tissue structure and function
B5.1.3.1 biology of bones, joints, tendons, skeletal muscle
B5.1.3.2 exercise and physical conditioning
B5.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B5.2 มีความรู้เรื่อง สาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ดังต่อไปนี้
B5.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B5.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) clubfoot
(2) congenital hip dislocation
35
B5.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B5.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) osteomyelitis,
(1) osteonecrosis
(2) pyomyositis
(2) spondylitis
(3) soft-tissue rheumatism
(3) rheumatoid arthritis
(e.g., tendinitis, de Quervain disease (4) juvenile arthritis
bursitis, fasciitis,
(5) spondyloarthropathy
myofascial pain syndrome)
(6) inflammatory myositis
(4) costochondritis
(7) necrotizing fasciitis
(5) reactive arthropathy
(6) infective arthritis
B5.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B5.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) sprains, strains, fractures,
dislocations
(2) compartment syndrome
B5.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B5.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) benign and malignant neoplasm of
bone and soft tissue
B5.2.5 Metabolic and regulatory disorders
B5.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) crystal arthropathy (gout,
(2) muscular dystrophy
pseudogout)
6 Vascular disorders
B5.2.6.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.6.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) vasculitis syndrome (Kawasaki’s
disease, polyarteritis nodosa, drug
induced)
B5.2.7 Systemic disorders affecting the musculoskeletal System
B5.2.7.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B5.2.7.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) systemic lupus erythematosus
B5.2.8 Others
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B5.2.8.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) osteoarthritis
(2) degenerative diseases of the spine
B5.2.8.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) spondylolithiasis and disc syndrome
(2) osteoporosis
(3) abnormal curvature of the spine
36
(4) fibromyalgia
B5.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B5.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B5.3.1 Non-steroidal anti-inflammatory drugs
B5.3.2 Disease-modifying antirheumatic drugs
B5.3.3 Drugs for treatment of gout and hyperuricemia
B5.3.4 Drugs for relief of soft tissue inflammation (rubifacients)
B5.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค/กลุ่มอาการ/ภาวะในข้อ B5.2 ซึ่งรวมถึง
B5.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., diet, exercise, seat belts, helmets)
B5.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., osteoporosis, fractures in elderly,
alcohol abuse and fractures)
B5.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., athletes, musicians)
B5.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., bone mass)
B6 Respiratory System
B6.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบหายใจ ดังต่อไปนี้
B6.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B6.1.2 Organ structure and function
B6.1.2.1 airways, including mechanics and regulation of breathing
B6.1.2.2 lung parenchyma, including ventilation, perfusion, gas exchange
B6.1.2.3 pleura
B6.1.2.4 nasopharynx and sinuses
B6.1.3 Cell/tissue structure and function, including surfactant formation, alveolar
structure
B6.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B6.1.5 Pulmonary defense mechanisms and normal flora
B6.2 มีความรู้เรื่อง สาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบหายใจดังต่อไปนี้
B6.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
B6.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B6.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) cleft lip and palate
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
(2)
(3)
(4)
(5)
laryngomalacia
tracheoesophageal fistula
diaphragmatic hernia
pre-auricular sinus, sinus, cyst
and fistula of branchial cleft
(6) thyroglossal duct cyst
B6.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B6.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B6.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) influenza
(1) avian flu, SARS
(2) upper respiratory infections
(2) peritonsillar abscess , deep
(nasopharyngitis, rhinosinusitis,
neck infection
pharyngitis, tonsillitis, laryngitis,
(3) retropharyngeal abscess
tracheitis, croup)
(4) pyothorax (empyemathoracis)
(3) lower respiratory tract infections and
(5) chronic infectious diseases of
pleura and their complications
the lower respiratory tract
(bronchitis, bronchiolitis, pneumonia,
endemic fungal infections,
lung abscess, bronchiectasis)
Nocardia/Actinomyces
(4) tuberculosis
(6) occupational lung diseases
(5) pleurisy
(7) acute and chronic alveolar
(6) allergic rhinitis
injury (e.g., acute respiratory
(7) asthma
distress syndrome, chlorine
(8) autoimmune disorders (e.g., Wegener
gas/smoke inhalation)
granulomatosis, Goodpasture syndrome) (8) obstructive pulmonary disease
(chronic bronchitis, emphysema)
(9) restrictive pulmonary disease
B6.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B6.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B6.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) chest injury
(1) sleep-disordered breathing
(2) foreign body aspiration
(3) pneumothorax
(4) hemothorax
(5) atelectasis
B6.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B6.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B6.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) benign and malignant neoplasm
of upper and lower respiratory
tracts
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B6.2.5 Metabolic, regulatory disorders
B6.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) respiratory failure
(2) hyperventilation syndrome
(3) respiratory obstruction, suffocation
(4) asphyxia of the newborn
(5) fetal distress
(6) hypoventilation, disorders of gas
exchange, ventilation-perfusion
imbalance
B6.2.6 Vascular and circulatory disorders
B6.2.6.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) pulmonary edema, pleural effusion
B6.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) neonatal respiratory distress
syndrome
(2) bronchopulmonary dysplasia
B6.2.6.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) pulmonary embolism
(2) pulmonary hypertension
B6.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B6.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B6.3.1 Bronchodilators (adrenoceptor agonists, compound antimuscarinic bronchodilators
and theophylline)
B6.3.2 Inhaled corticosteroids
B6.3.3 Leukotriene receptor antagonists
B6.3.4 Antihistamines
B6.3.5 Pulmonary surfactants
B6.3.6 Cough preparations (cough suppressants, mucolytics, expectorant and demulcent
cough preparations)
B6.3.7 Systemic and topical nasal decongestants
B6.3.8 Other respiratory preparations (aromatic ammonia spirit)
B6.3.10 Drugs used in nasal allergy
B6.3.11 Antituberculous drugs
B6.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค/กลุ่มอาการ/ภาวะในข้อ B6.2 ซึ่งรวมถึง
B6.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., smoking, substance abuse, pets, and
allergies)
B6.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., tuberculosis, asthma, chronic
obstructive pulmonary disease, school issues, protective parents, family smoking)
B6.4.3 Occupational and other environmental risk factors (occupational lung diseases)
B6.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., lung cancer)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
B7 Cardiovascular System
B7.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบหัวใจหลอดเลือด ดังต่อไปนี้
B7.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
39
B7.1.2 Organ structure and function
B7.1.2.1 chambers, valves
B7.1.2.2 cardiac cycle, mechanics, heart sounds, cardiac conduction
B7.1.2.3 hemodynamics, including systemic, pulmonary, coronary, and blood
volume
B7.1.2.4 circulation in specific vascular beds
B7.1.3 Cell/tissue structure and function
B7.1.3.1 heart muscle, metabolism, oxygen consumption, biochemistry, and
secretory function (e.g., atrial natriuretic peptide)
B7.1.3.2 endothelium and secretory function, vascular smooth muscle,
microcirculation, and lymph flow
B7.1.3.3 mechanisms of atherosclerosis
B7.1.3.4 neural and hormonal regulation of the heart, blood vessels, and blood
volume, including responses to change in posture, exercise, and tissue
metabolism
B7.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B7.2 มีความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค
กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติทางระบบหัวใจหลอดเลือด ดังต่อไปนี้
B7.2.1 Hereditary, Congenital and structural disorders
B7.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B7.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) congenital malformation of heart
B7.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B7.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B7.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) acute rheumatic fever
(1) infective endocarditis
(2) myocarditis
(3) pericarditis
B7.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B7.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B7.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) anoxic spell
(1) valvular heart diseases (mitral, aortic
(2) cardiac tamponade
valve)
(3) superior vena cava obstruction
B7.2.4 Metabolic and regulatory disorders
B7.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B7.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
40
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
hypertension
malignant hypertension
acute coronary syndrome
heart failure
syncope
cardiac arrest
shock : hypovolemia, cardiogenic
B7.2.5 Vascular disorders
B7.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) hypertensive disorder in pregnancy
(2) ischemic heart diseases (angina
pectoris, myocardial infarction)
(3) common cardiac arrhythmias
- atrial fibrillation
- supraventricular tachycardia
- premature ventricular contraction
- premature atrial contraction
- ventricular tachycardia
- ventricular fibrillation
- heart block
B7.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) aortic aneurysm and dissection
(2) varicose veins of lower extremity
(3) peripheral vascular occlusive
disease
B7.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B7.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B7.3.1 Positive inotropic drugs
B7.3.2 Diuretics
B7.3.3 Anti-arrhythmic drugs
B7.3.4 Beta-adrenoceptor blocking drugs
B7.3.5 Drugs affecting the renin-angiotensin system and some other antihypertensive
drugs (vasodilator antihypertensive drugs, centrally acting antihypertensive drugs,
alpha-adrenoceptor blocking drugs, angiotensin-converting enzyme inhibitors,
angiotensin-II receptor antagonists)
B7.3.6 Nitrates, calcium-channel blockers and other vasodilators
B7.3.7 Inotropic sympathomimetics, vasoconstrictor sympathomimetics and drugs used in
cardiopulmonary resuscitation
B7.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B7.2 ซึ่งรวมถึง
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
41
B7.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., diet, obesity, exercise, smoking, alcohol,
stress)
B7.4.2 Influence on person, family and society (e.g., lifestyle modification)
B7.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., stress)
B7.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., hypertension)
B8 Gastrointestinal System
B8.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบทางเดินอาหาร ดังต่อไปนี้
B8.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B8.1.2 Organ structure and function function, including alimentary canal, liver and biliary
system, salivary glands and exocrine pancreas, motility, and digestion and
absorption
B8.1.3 Cell/tissue structure and function
B8.1.3.1 endocrine and neural regulatory functions, including GI hormones
B8.1.3.2 salivary, gastrointestinal, pancreatic, hepatic secretory products,
including enzymes, proteins, bile salts, and processes
B8.1.3.3 synthetic and metabolic functions of hepatocytes
B8.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B8.1.5 Gastrointestinal defense mechanisms and normal flora
B8.2 มีความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการ และภาวะผิดปกติทางระบบทางเดินอาหาร ดังต่อไปนี้
B8.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
B8.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B8.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) disorders of tooth development &
eruption
(2) hernia (inguinal, umbilical)
(4) tracheo-esophageal fistula
(5) diaphragmatic hernia
(6) Hirschprung diseases, imperforate
anus, volvulus
(7) omphalocoele, gastroschisis
B8.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B8.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B8.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) gastroenteritis (cholera, shigellosis,
(1) dental caries, gingivitis and
salmonellosis, E.coli, Campylobacter
periodontal diseases
sp, Clostridium difficile, virus,
(2) gastroenteritis in compromised host
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
42
amoebiasis , giardiasis,
cryptosporidiosis, isosporosis,
microsporidiosis, food-borne
intoxication)
(2) typhoid and paratyphoid fever
(3) intestinal parasites (ascariasis,
hookworm infestation, enterobiasis,
trichuriasis, strongyloidiasis, taeniasis,
capillariasis)
(4) acute appendicitis
(5) oral ulcer (aphthous ulcer,
stomatitis, glossitis, thrush)
(6) peptic ulcer, gastritis
(7) dyspepsia, esophagitis
(8) acute pancreatitis
(9) acute viral hepatitis
(10) alcoholic liver disease
(11) liver abscess
(12 ) cirrhosis
B8.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B8.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) anal fissure
(2) gastro-esophageal reflux
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
(1)
(2)
(3)
(4)
(cryptosporidiosis, isosporosis,
microsporidiosis)
chronic diarrhea
necrotizing enterocolitis
peritonitis
chronic viral hepatitis
cholecystitis, cholangitis
perianal abscess
B8.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
intestinal obstruction
abdominal injury
infantile hypertrophic pyloric
stenosis
fistula in ano
B8.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B8.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B8.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) benign and malignant neoplasm of
oral cavity, esophagus, stomach,
colon, liver and biliary tract,
pancreas
B8.2.5 Metabolic and regulatory disorders
B8.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B8.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) irritable bowel syndrome
(1) cholelithiasis
(2) hepatic failure
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
43
B8.2.6 Vascular disorders
B8.2.6.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) hemorrhoids
(2) gastrointestinal hemorrhage
B8.2.6.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
B8.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B8.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B8.3.1 Antacids and other drugs for dyspepsia
B8.3.2 Antispasmodics and other drugs altering gut motility
B8.3.3 Ulcer-healing drugs and drugs used in variceal bleeding
B8.3.4 Drugs used in acute diarrhea
B8.3.5 Drugs used in chronic bowel disorders
B8.3.6 Laxatives
B8.3.7 Local preparations for anal and rectal disorders
B8.3.8 Drugs affecting intestinal secretions
B8.3.9 Drugs used in treatment of oral ulcer
B8.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B8.2 ซึ่งรวมถึง
B8.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., peptic ulcer, encopresis, Monday morning
stomach)
B8.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., inflammatory bowel disease, irritable
bowel disease, pancreatitis and alcohol, chronic laxative abuse)
B8.4.3 Occupational and other environmental risk factors
B8.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., diets)
B9 Renal/Urinary System
B9.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของไตและระบบปัสสาวะดังต่อไปนี้
B9.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B9.1.2 Organ structure and function
B9.1.2.1 kidneys, ureters, bladder, urethra
B9.1.2.2 glomerular filtration and hemodynamics
B9.1.2.3 tubular reabsorption and secretion, including transport processes and
proteins
B9.1.2.4 urinary concentration and dilution
B9.1.2.5 renal mechanisms in acid-base balance
B9.1.2.6 renal mechanisms in body fluid homeostasis
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
44
B9.1.2.7 micturition
B9.1.3 Cell/tissue structure and function including renal metabolism and oxygen
consumption, hormones produced by or acting on the kidney
B9.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B9.2 มีความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยหาสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติทางไตและระบบปัสสาวะดังต่อไปนี้
B9.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
B9.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) polycystic kidney
B9.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B9.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) pyelonephritis
(1) chronic glomerulonephritis
(2) cystitis, urtethritis
(2) interstitial nephritis
(3) acute glomerulonephritis
(4) nephrotic syndrome
B9.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B9.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) acute urinary retention
(1) obstructive & reflux uropathy
(2) urethral syndrome (e.g., urethral
(2) urolithiasis
stricture)
(3) genitourinary tract injury
B9.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like condition
B9.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) benign and malignant neoplasm of
kidney and urinary bladder
B9.2.5 Metabolic and regulatory disorders
B9.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) anuria/oliguria
(1) renal tubular acidosis
(2) hyperkalemia
(2) renal failure
B9.2.6 Vascular disorders
B9.2.6.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.6.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) renal artery stenosis
B9.2.7 Systemic disorders affecting the Renal/Urinary system
B9.2.7.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B9.2.7.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) diabetic nephropathy
(2) lupus nephritis
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
45
B9.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B9.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B9.3.1 Diuretics
B9.3.2 Drugs and fluids used to treat volume, electrolyte, and acid-base disorders
B9.3.3 Drugs for benign prostatic hyperplasia
B9.3.4 Drugs for urinary frequency, enuresis and incontinence
B9.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B9.2 ซึ่งรวมถึง
B9.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., drug-induced interstitial nephritis, diet)
B9.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., hemodialysis, living related kidney
donation, transplants)
B9.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., heavy metals)
B9.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., disease progression, urinary tract infections)
B10 Reproductive System and Perinatal Period
B10.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบสืบพันธุ์และภาวะปกติในระยะปริกาเนิดดังต่อไปนี้
B10.1.1 Embryonic development, fetal growth and development, and perinatal changes
B10.1.2 Organ structure and function
B10.1.2.1 female structure, including breast
B10.1.2.2 female function - menstrual cycle, puberty, menopause
B10.1.2.3 male structure
B10.1.2.4 male function - spermatogenesis, puberty
B10.1.2.5 intercourse, orgasm
B10.1.2.6 pregnancy, including labor and delivery, the puerperium, lactation,
gestational uterus, placenta
B10.1.3 Cell/tissue structure and function including hypothalamic-pituitary-gonadal axis,
sex steroids, and gestational hormones
B10.1.4 Reproductive system defense mechanisms and normal flora
B10.1.5 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B10.2 มีความรู้เรื่องสาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการ
เกิดโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติทางระบบสืบพันธุ์และระยะปริกาเนิดดังต่อไปนี้
B10.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
B10.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้ )
(1) imperforate hymen
(2) hypospadias
(3) undescended testis
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
46
(4) ambiguous genitalia
B10.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B10.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) sexually transmitted disease (syphilis, (1) Intrauterine and perinatal
gonococcal infection, chancroid,
infections (rubella, syphilis,
non-specific urethritis, condyloma
gonococcal infection, tetanus
acuminata, lymphogranuloma
neonatorum, sepsis, HIV,
venerum, trichomoniasis)
chlamydial infection)
(2) Bartholinitis & abscess, Bartholin cyst
(3) vulvovaginitis
(4) cervicitis
(5) pelvic inflammatory disease
(endometritis, salpingitis, oophoritis,
tubo-ovarian abscess)
(6) orchitis and epididymitis
(7) urethritis
(8) phimosis and paraphimosis
(9) mastitis, breast abscess
(10) perinatal infections (hepatitis B virus)
B10.2.3 Traumatic and mechanical disorders
B10.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) stress incontinence
(1) hydrocoele of testis,
(2) foreign body
spermatocoele
(2) torsion of testis
(3) female genital prolapse
(cystocoele, rectocoele,
prolapse uterus)
(4) fistula involving female genital
tracts
B10.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like condition
B10.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) hyperplasia of prostate
(1) hydatidiform mole
(2) cervical polyp
(2) choriocarcinoma
(3) benign and malignant neoplasm
of breast, vulva, uterus, cervix,
ovary, placenta, prostate gland
and testes
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
47
B10.2.5 Metabolic and regulatory disorders
B10.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) menstrual disorders
(1) endometriosis
(2) menopausal syndrome
(3) abnormal uterine or vaginal bleeding
B10.2.6 Disorders relating to pregnancy, the puerperium, and the post partum period
B10.2.7.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.7.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) abortion
(1) ectopic pregnancy
(2) hyperemesis gravidarum
(2) multiple gestation
(3) breast infection associated with
(3) hypertensive disorder in
childbirth
pregnancy
(4) disorders of breast and lactation
(4) septic abortion
associated with childbirth
(5) dead fetus in utero
(5) uterine rupture
(6) antepartum hemorrhage
(placenta previa, abruption
placentae)
(7) chorio-amnionitis
(8) postpartum hemorrhage
(10) amniotic fluid aspiration
(11) puerperal infection
B10.2.7 Disorders in the perinatal period
B10.2.8.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B10.2.8.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) perinatal jaundice
(1) respiratory distress in newborn
B10.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B10.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B10.3.1 Prostaglandins, prostaglandin antagonists and oxytocics
B10.3.2 Myometrial relaxants
B10.3.4 Contraceptives
B10.3.5 Other methods of contraception (e.g., condoms)
B10.3.6 Estrogen, progestogen replacement and treatment of menopause
B10.3.9 Stimulators and inhibitors of lactation
B10.3.10 Male sex hormones
B10.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค กลุ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B10.2 ซึ่งรวมถึง
B10.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., sexually transmitted diseases)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
48
B10.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., infertility)
B10.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., radiation)
B10.4.4 Family planning and pregnancy (e.g., unwanted, teenage pregnancy)
B10.4.5 Gender identity, sexual orientation, sexuality, libido
B10.4.6 Effects of traumatic stress syndrome, violence, rape, child abuse
B11 Endocrine System
B11.1 มีความรู้เรื่องภาวะปกติของระบบต่อมไร้ท่อดังต่อไปนี้
B11.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes
B11.1.2 Organ structure and function
B11.1.2.1. hypothalamus, posterior and anterior pituitary gland
B11.1.2.2. thyroid gland
B11.1.2.3. parathyroid glands
B11.1.2.4. adrenal cortex, adrenal medulla
B11.1.2.5. pancreatic islets
B11.1.2.6. ovary and testis
B11.1.2.7. adipose tissue
B11.1.3 Cell/tissue structure and function, including hormone synthesis, secretion, action,
and metabolism
B11.1.3.1 peptide hormones
B11.1.3.2 steroid hormones, including vitamin D
B11.1.3.3 thyroid hormones
B11.1.3.4 catecholamine hormones
B11.1.3.5 renin-angiotensin system
B11.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life
B11.2 มีความรู้เรื่อง สาเหตุ พยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของ
การเกิดโรค กลุ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบต่อมไร้ท่อ ดังต่อไปนี้
B11.2.1 Hereditary, congenital and structural disorders
B11.2.1.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B11.2.1.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) ectopic thyroid
B11.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders
B11.2.2.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B11.2.2.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) thyrotoxicosis (Graves’ disease)
(1) thyroiditis
(2) toxic adenoma
B11.2.3. Neoplastic disorders and tumor-like conditions
B11.2.3.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B11.2.3.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) benign and malignant neoplasm
of endocrine gland
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
49
B11.2.4 Metabolic and regulatory disorders
B11.2.4.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) diabetes mellitus, hyperglycemic
crisis
(2) hypoglycemia
(3) thyroid disorders; goiter, iodine
deficiency, hypothyroidism
(4) metabolic syndrome
(5) thyroid crisis or storm
B11.2.5 idiopathic disorders
B11.2.5.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
B11.2.6 Others
B11.2.6.1 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ต้องรู้
(1) disorders of lipoprotein metabolism
and lipidemia
B11.2.4.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) pituitary, hypothalamus,
parathyroid, pancreatic islet
disorders, adrenal disorders)
(2) Cushing’s syndrome
(3) Addison’s disease, pituitary
gland disorders, diabetes
insipidus, parathyroid gland
disorders
(4) cerebral salt wasting
(5) syndrome of inappropriate
secretion of antidiuretic
hormone (SIADH)
B11.2.5.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
(1) hirsutism
B11.2.6.2 กลุ่มโรคและกลุ่มอาการที่ควรรู้
B11.3 มีความรู้เรื่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ่มอาการ
และภาวะผิดปกติในข้อ B11.2 และรวมถึงยาในกลุ่มต่อไปนี้
B11.3.1 Drugs used in diabetes (insulins and oral antidiabetic drugs)
B11.3.2 Thyroid hormones and antithyroid drugs
B11.3.3 Corticosteroids
B11.3.4 Hypothalamic and pituitary hormones (including posterior pituitary hormones
antagonists)
B11.3.5 Drugs affecting bone metabolism
B11.3.6 Other endocrine drugs (bromocriptine, other dopaminergic drugs and drugs
affecting gonadotrophins)
B11.3.7 Lipid lowering agents
B11.4 ตระหนักถึงความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมแล
สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการบาบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและ
ป้องกันโรค/กลุ่มอาการ/ภาวะในข้อ B11.2 ซึ่งรวมถึง
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
50
B11.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., compliance in diabetes mellitus, factitious
use of insulin psychogenic polydipsia)
B11.4.2 Influence on person, family, and society
B11.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., radiation exposure,
iodine deficiency)
B11.4.4 Gender and ethnic factors
ข.ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิก
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพทั่วๆ ไปของผู้ปุวยและ
ประชาชนได้เหมาะสม หมวดความรู้ความสามารถทางวิชาชีพและและทักษะทางคลินิก แบ่งออกเป็น 3 หมวดดังนี้คือ
หมวดที่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั่วไป (Normal conditions and general principles of care)
หมวดที่ 2. ภาวะผิดปกติจาแนกตามระบบอวัยวะ (Individual organ systems or types of disorders)
หมวดที่ 3. ทักษะการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการทาหัตถการ (Technical and procedural
skills)
หมวดที่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั่วไป
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการประเมินสุขภาพ และการบริบาลสุขภาพทั่วๆ ไป
ของผู้ปุวยและประชาชนได้เหมาะสม กล่าวคือ
1.1 มีความรู้ความสามารถในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ ในสุขภาพของบุคคล
ชุมชน และประชาชน (ดูรายละเอียดใน ค. สุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ)
1.2 สามารถรวบรวมข้อมูล และประเมินปัญหาสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และ ชุมชนในความรับผิดชอบได้
โดยใช้วิธีทางวิทยาการระบาดพื้นฐานดังนี้
1.2.1 Measures of health, illness and disease frequency
1.2.1.1 prevalence and incidence
1.2.1.2 adjusted (standardized) rates
1.2.1.2.1 mortality rates (direct and indirect methods)
1.2.1.2.2 morbidity rates
1.2.1.3 demographic life tables
1.2.1.4 the population pyramid
1.2.1.5 vital statistics
1.2.2 Determining causation
1.2.2.1 cause-effect relationship
1.2.2.2 measures of association
1.2.2.2.1 relative risk
1.2.2.2.2 odds ratio
1.2.2.2.3 incidence rate ratio
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
51
1.2.2.2.4 hazard ratio
1.2.2.3 research designs for determining causation
1.2.2.3.1 cohort study
1.2.2.3.2 case-control study
1.2.2.3.3 cross-sectional study
1.2.3 Evaluating the accuracy of screening and diagnostic tests
1.2.3.1 sensitivity, specificity, likelihood ratio
1.2.3.2 receiver operating characteristic (ROC) curves
1.2.3.3 pre-test and post-test probability
1.2.3.4 evaluation of study method
1.2.4 Therapeutic trials
1.2.4.1 evaluation of therapeutic efficacy
1.2.4.1.1 relative risk reduction/increase
1.2.4.1.2 absolute risk reduction/increase
1.2.4.1.3 number needed to treat
1.2.4.1.4 number needed to harm
1.2.4.2 research designs for therapeutic trials
1.2.4.2.1 randomized controlled trial
1.2.4.2.2 non-randomized controlled trial
1.2.4.3 analysis methods
1.2.4.3.1 intention to treat analysis
1.2.4.3.2 Per-protocol analysis
1.2.5 Systematic reviews
1.2.5.1 identifying and selecting studies
1.2.5.2 quality of evidence assessments
1.2.5.3 combining the findings of independent studies
1.2.5.4 variation between study findings
1.2.5.5 summarizing and interpreting results
1.2.6 Economic evaluation of health care services
1.2.6.1 measurement of costs
1.2.6.2 outcomes assessment
1.2.6.2.1 disability-Adjusted-Life Year (DALY)
1.2.6.2.2 quality-adjusted life-year (QALY)
1.2.6.3 research designs for therapeutic trials
1.2.6.3.1 cost-effectiveness analysis
1.2.6.3.2 cost-utility analysis
1.2.6.3.3 cost-benefit analysis
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
52
1.2.6.4 decision making in health care policy
1.2.7 Ethics in research
1.2.7.1 ethical theory and principles
1.2.7.2 balancing the benefits and harms of participation in research
1.2.7.3 ethical issues in study design
1.2.7.4 informed consent in research
1.2.7.5 institutional review boards
1.2.7.6 selection of research participants
1.2.8 Research methodology
1.2.8.1 study design and methodology
1.2.8.1.1 clinical trials, community trials
1.2.8.1.2 cohort, case-control, cross-sectional, case series, surveys,
1.2.8.1.3 ecological study
1.2.8.1.4 advantages and disadvantages of different designs
1.2.8.2 subject eligibility and sampling
1.2.8.2.1 sample size
1.2.8.2.2 randomization, self-selection, systematic assignment
1.2.8.3 outcome assessment; primary outcome, secondary outcome
1.2.8.4 bias : selection, misclassification, confounding
1.2.8.5 statistical inference
1.2.8.5.1 hypothesis generation, hypothesis testing, and test statistics
1.2.8.5.2 validity: internal/ external validity
1.2.8.5.3 statistical significance and type I error
1.2.8.5.4 statistical power and type II error
1.2.8.5.6 confidence interval
1.2.9 Evidence-based medicine
1.2.9.1 asking focused questions: translation of uncertainty to an answerable
question
1.2.9.2 finding the evidence: systematic retrieval of best evidence available
1.2.9.3 critical appraisal: testing evidence for validity, clinical relevance, and
applicability
1.2.9.4 making a decision: application of results in practice
1.2.9.5 evaluating performance: auditing evidence-based decisions
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
53
1.3 สามารถประเมินสุขภาพ และให้คาแนะนาที่เหมาะสมเพื่อความมีสุขภาพดี แก่บุคคลตามวัยและสภาวะต่างๆ ตั้งแต่
ทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิด วัยก่อนเข้าเรียน วัยเรียน วัยรุ่น วัยหนุ่มสาว ผู้ใหญ่ หญิงมีครรภ์ วัยสูงอายุ ผู้พิการและผู้
ทุพพลภาพ
1.3.1 Fetus
1.3.1.1 fetal growth and development
1.3.2 Infancy and childhood
1.3.2.1 infant feeding and breast-feeding
1.3.2.2 normal physical growth and development
1.3.2.3 cognitive and psychosocial development
1.3.2.4 infant-parent and child-parent interaction
1.3.2.5 changing child-parent relationships
1.3.2.6 physician-child-parent communication
1.3.2.7 well-baby care, well child care including breast-feeding guidance
1.3.3 Adolescence
1.3.3.1 sexuality
1.3.3.2 individualization and identity
1.3.3.3 physical and psychosocial change of puberty
1.3.3.4 adolescent health care
1.3.4 Adulthood
1.3.4.1 normal physical and mental development and function
1.3.4.2 stress management
1.3.4.3 pregnancy
1.3.4.4 lactating mother
1.3.4.5 male and female climacteric
1.3.4.6 menopause
1.3.5 Senescence
1.3.5.1 physical and mental changes associated with aging
1.3.5.2 emotional, social, and cultural adaptations
1.3.5.3 death and dying
1.3.6 Disability
1.3.6.1 physical and mental changes associated with disability
1.4 เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสุขภาพบุคคลกับสุขภาพครอบครัว ประเมินพัฒนาการและปัญหาสุขภาพของ
ครอบครัว รวมทั้ง ให้คาปรึกษาและดูแลปัญหาสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยและครอบครัวได้
1.5 สามารถตรวจสุขภาพ ตรวจคัดกรองโรค และออกความเห็นหรือหนังสืรับรองความเห็นได้อย่างเหมาะสม
(ICD 10 ข้อ XXI FACTORS INFLUENCING HEALTH STATUS AND CONTACT WITH HEALTH
SERVICES: Z00 - Z99)
1.5.1 Person without complaint or reported diagnosis
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
54
1.5.2 Examination and encounter for administrative purposes
1.5.3 Routine general health check-up
1.5.4 Special screening examination for diseases and disorders
1.5.5 Carriers of infectious diseases
1.5.6 Contact with and exposure to communicable diseases
1.5.7 Immunization
1.5.8 Contraceptive management
1.6. สามารถตรวจและให้ความเห็นหรือทาหนังสือรับรองเกี่ยวกับผู้ป่วย ผู้พิการและทุพพลภาพ ผู้เสียหาย
ผู้ต้องหา หรือจาเลย ตามความที่กฎหมายกาหนดให้พนักงานสอบสวน องค์กร หรือศาลในกิจการต่างๆได้
เช่น หนังสือรับรองสุขภาพ หนังสือรับรองความพิการทุพพลภาพ หนังสือรับรองการตาย การเป็นพยาน
ต่อพนักงานสอบสวนและศาล
1.7. สามารถชันสูตรพลิกศพ เก็บวัตถุพยานจากศพ ร่วมกับพนักงานสอบสวน ตามที่หมายกาหนดได้ สามารถ
ออกรายงานการชันสูตรพลิกศพ ให้ถ้อยคาเป็นพยานในชั้นสอบสวนและชั้นศาลได้
1.8. สามารถระบุปัญหา วิเคราะห์ และให้แนวทางปฏิบัติเชิงเวชจริยศาสตร์ (ดูรายละเอียดใน ง. เวชจริยศาสตร์) และ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ดูรายละเอียดใน จ. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม)
หมวดที่ 2. ภาวะผิดปกติจาแนกตามระบบอวัยวะ (Individual organ systems or types of disorders)
ในหมวดนี้ได้ระบุเนื้อหาโดยจาแนกตาม International classification of diseases (ICD 10) ผู้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมต้องมีความรู้ความสามารถในการปูองกันปัญหาสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสภาพ และให้การรักษา
ต่อเนื่องทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยตระหนักถึงผลกระทบของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมต่อการเจ็บปุวย
และการรักษา
ความรู้ความสามารถดังกล่าวจาแนกตามโรคหรือกลุ่มอาการ/ภาวะได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้
กลุ่มที่ 1 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะฉุกเฉินที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นและให้การบาบัด
โรคฯ การรักษาผู้ปุวยได้อย่างทันท่วงทีตามความเหมาะสมของสถานการณ์ รู้ข้อจากัดของตนเอง และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือ
ผู้มีประสบการณ์มากกว่าได้อย่างเหมาะสม
กลุ่มที่ 2 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัย ให้การบาบัดโรคฯ การรักษาผู้ปุวย
ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการปูองกันโรค ในกรณีที่โรครุนแรง หรือซับซ้อนเกิน
ความสามารถ ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและส่งผู้ปุวยต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญ
กลุ่มที่ 3 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยแยกโรค และรู้หลักในการดูแลรักษา
ผู้ปุวย การฟื้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการปูองกันโรค แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตัดสินใจส่งผู้ปุวยต่อไปยัง
ผู้เชี่ยวชาญ
2.1 อาการ / ปัญหาสาคัญ (ICD10 ข้อ XVIII, R00 - R69)
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้เกี่ยวกับพยาธิกาเนิด พยาธิสรีรวิทยา สามารถวินิจฉัยแยกโรคและปฏิบัติ
รักษาผู้ปุวยเบื้องต้น ได้เหมาะสมสาหรับอาการสาคัญ ดังต่อไปนี้
2.1.1 ไข้
2.1.2 อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
2.1.3 ปวดศีรษะ มึนศีรษะ เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม
55
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
2.1.4 ภาวะผิดรูป
2.1.5 การเจริญเติบโตไม่สมวัย
2.1.6 การเดินผิดปรกติ
2.1.7 น้าหนักเพิ่มขึ้น น้าหนักตัวลดลง
2.1.8 อุบัติเหตุ สัตว์กัดต่อย
2.1.9 ปวดฟัน เลือดออกตามไรฟัน
2.1.10 ปวดท้อง แน่นท้อง ท้องอืด
2.1.11 ตาเหลือง ตัวเหลือง
2.1.12 เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด
2.1.13 สะอึก สาลัก กลืนลาบาก
2.1.14 ท้องเดิน ท้องผูก อุจจาระเป็นเลือด อุจจาระดา
2.1.15 ก้อนในท้อง
2.1.16 กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชัก สั่น กระตุก ชา ซึม ไม่รู้สติ
2.1.17 ปวดหลัง ปวดคอ ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดข้อ ปวดแขน ปวดขา
2.1.18 ข้อฝืดตึง ข้อติด
2.1.19 เจ็บคอ คัดจมูก น้ามูกไหล จาม เลือดกาเดาออก เสียงแหบ
2.1.20 ไอ ไอเป็นเลือด หอบเหนื่อย หายใจขัด หายใจไม่อิ่ม เจ็บหน้าอก ใจสั่น เขียวคล้า
2.1.21 นอนกรน
2.1.22 บวม ปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะสีผิดปกติ กลั้นปัสสาวะไม่ได้
2.1.23 ปัสสาวะออกน้อย ปัสสาวะไม่ออก
2.1.24 ปัสสาวะมีเลือดปน ปัสสาวะเป็นกรวดทราย ปัสสาวะเป็นฟอง
2.1.25 หนองจากท่อปัสสาวะ
2.1.26 แผลบริเวณอวัยวะเพศ
2.1.27 ผื่น คัน แผล ฝี สิว ผิวหนังเปลี่ยนสี ผมร่วง
2.1.28 ก้อนที่คอ ก้อนใต้ผิวหนัง ก้อนที่เต้านม
2.1.29 ซีด ต่อมน้าเหลืองโต
2.1.30 จ้าเลือด จุดเลือดออก เลือดออกง่าย
2.1.31 ตกขาว คันช่องคลอด
2.1.32 ตั้งครรภ์ แท้งบุตร ไม่อยากมีบุตร มีบุตรยาก
2.1.33 เลือดออกทางช่องคลอด
2.1.34 ประจาเดือนผิดปกติ ปวดประจาเดือน
2.1.35 คลอดก่อนกาหนด เกินกาหนด
2.1.36 เคืองตา ตาแดง ปวดตา ตาแห้ง มองเห็นไม่ชัด ตาบอด ตาโปน ตาเหล่ เห็นภาพซ้อน
2.1.37 ปวดหู หูอื้อ การได้ยินลดลง มีเสียงในหู หนองไหลจากหู
2.1.38 หงุดหงิด คลุ้มคลั่ง ประสาทหลอน มีความคิดหลงผิด นอนไม่หลับ เครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า ติด
สารเสพติด พยายามฆ่าตัวตาย ทาร้ายตัวเอง
2.1.39 การล่วงละเมิด การล่วงละเมิดทางเพศ และการทารุณกรรม
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
56
2.2 โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการฉุกเฉิน (รวมทุกระบบ) (ICD10 ข้อ XVIII, R00 - R69)
กลุ่มที่ 1 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะฉุกเฉินที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นและให้การบาบัดโรค
ฯ การรักษาผู้ปุวย ได้อย่างทันท่วงทีตามความเหมาะสมของสถานการณ์ รู้ข้อจากัดของตนเองและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มี
ประสบการณ์มากกว่า ได้อย่างเหมาะสม
2.2.1 Cardiac arrest
2.2.2 Pulmonary edema
2.2.3 Malignant hypertension
2.2.4 Shock; hypovolemic, anaphylactic, septic, cardiogenic
2.2.5 Ruptured and threatening ruptured dissecting aneurysm
2.2.6 Acute coronary syndrome
2.2.7 Cardiac tamponade
2.2.8 Anoxic spell
2.2.9 Respiratory failure
2.2.10 Respiratory obstruction, suffocation
2.2.11 Acute exacerbation of asthma
2.2.12 Pneumothorax
2.2.13 Superior vena cava obstruction
2.2.14 Hyperglycemic crisis
2.2.15 Hypoglycemia
2.2.16 Disseminated intravascular clotting
2.2.17 Acute hemolytic crisis
2.2.18 Incompatible blood transfusion
2.2.19 Acute psychosis, delirium, aggression (violence)
2.2.20 Hyperventilation syndrome
2.2.21 Severe depression
2.2.22 Suicide attempt
2.2.23 Panic attack
2.2.24 Reaction to severe stress
2.2.25 Acute corneal abrasion and ulcer
2.2.26 Acute glaucoma
2.2.27 Anuria/oliguria
2.2.28 Acute urinary retention
2.2.29 Hyperkalemia
2.2.30 Obstructed labor
2.2.31 Threatened uterine rupture
2.2.32 Severe pre-eclampsia, eclampsia
2.2.33 Prolapsed umbilical cord
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
57
2.2.34 Rape
2.2.35 Coma
2.2.36 Syncope
2.2.37 Convulsion
2.2.38 Acute increased intracranial pressure
2.2.39 Asphyxia of the newborn
2.2.40 Fetal distress
2.2.41 Acute abdomen
2.2.42 Serious bleeding; massive bleeding; gastrointestinal, intracranial bleeding,
hyphema, antepartum and postpartum hemorrhage
2.2.43 Acute poisoning; drugs, food, chemicals, substances
2.2.44 Bites & stings
2.2.45 Injury /accident; head & neck injury, fracture, dislocation, body and limb injuries,
compartment syndrome, falls, serious injury, electrical injury, burns, inhalation
injuries, near-drowning & submersion
2.3 โรคตามระบบ
กลุ่มที่ 2 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัย ให้การบาบัดโรคฯ การรักษาผู้ปุวย
ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการปูองกันโรค ในกรณีที่โรครุนแรง หรือซับซ้อนเกิน
ความสามารถ ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและส่งผู้ปุวยต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญ
กลุ่มที่ 3 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยแยกโรค และรู้หลักในการดูแลรักษา
ผู้ปุวย การฟื้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการปูองกันโรค แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตัดสินใจส่งผู้ปุวยต่อไปยัง
ผู้เชี่ยวชาญ
2.3.1 INFECTIOUS AND PARASITIC DISEASES (ICD10, ข้อ I A00-B99)
2.3.1.1 กลุ่มที่ 2
2.3.1.2 กลุ่มที่ 3
(1) gastroenteritis (e.g., cholera, shigellosis,
(1) systemic mycoses (e.g., candidiasis,
salmonellosis, E.coli, virus, Campylobacter
cryptococcosis, aspergillosis, penicillosis,
sp., Clostridium difficile, amoebiasis, giardiasis,
mucormycosis)
food-borne intoxication)
(2) tissue parasitic diseases (e.g., trichinosis,
(2) typhoid and paratyphoid fever
cysticercosis, gnathostomiasis,
(3) intestinal parasites (e.g., ascariasis, hookworm
pneumocystosis, angiostrongyliasis,
infestation, enterobiasis, trichuriasis,
filariasis, toxoplasmosis, opisthorchiasis,
strongyloidiasis, taeniasis, capillariasis)
paragonimiasis, schistosomiasis,
(4) tuberculosis
acanthamoeba infection, naegleria
(5) melioidosis
infection, leishmaniasis)
(6) leptospirosis
(3) leprosy, yaws
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
58
(7) tetanus
(8) diphtheria
(9) septicemia
(10) sexually transmitted disease (e.g., syphilis,
gonococcal infection, chancroid, non-specific
urethritis, condyloma acuminata,
lymphogranuloma venerum, trichomoniasis)
(11)
typhus fever (scrub typhus, murine
typhus)
(12) poliomyelitis
(13) rabies
(14) Dengue hemorrhagic fever & Chikungunya
fever
(15) varicella, zoster
(16) herpes simplex infection
(17) viral exanthemata (e.g., measles, rubella,
erythema infectiosum, exanthema subitum,
hand foot mouth diseases)
(18) acute viral hepatitis
(19) mumps
(20) infectious mononucleosis
(21) superficial mycoses (e.g., tinea, pityriasis
versicolor, candidosis)
(22) malaria
(23) whooping cough
(24) ectoparasitic diseases: scabiasis, pediculosis
(25) human immunodeficiency virus (HIV)
infections including acquired immunedeficiency syndrome (AIDS)
2.3.2 NEOPLASM (ICD10, ข้อ II C00-D48)
2.3.2.1 กลุ่มที่ 2
(1) benign neoplasm of skin and subcutaneous
tissue
(4)
(5)
(6)
(7)
cytomegalovirus infection
anthrax
gas gangrene
gastroenteritis in compromised host
(e.g., isosporosis, microsporidiosis,
cryptospirodiosis)
(8) chronic viral hepatitis
(9) meningococcemia, streptococcus suis
septicemia
2.3.2.2 กลุ่มที่ 3
(1) benign and malignant neoplasm of oral
cavity, larynx, nasopharynx, eyes,
esophagus, stomach, colon, liver and
biliary tract, pancreas, lungs, bone and
soft tissue, breast, vulva, uterus,
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
59
cervix,ovary, placenta, prostate gland,
testes, kidney, urinary bladder, brain,
thyroid gland, lymph node, hemopoietic
system (leukemia,multiple myeloma)
thymus gland
(2) malignant neoplasm of skin and
subcutaneous tissue
2.3.3 DISEASES OF BLOOD & BLOOD FORMING ORGANS AND DISORDERS INVOLVING THE
IMMUNE MECHANISM (ICD 10, ข้อ III D50 -D89)
2.3.3.1 กลุ่มที่ 2
2.3.3.2 กลุ่มที่ 3
(1) nutritional deficiency anemias (e.g., iron
(1) hemolytic anemias (e.g., autoimmune
folate, B12)
hemolytic anemia, paroxysmal nocturnal
(2) thalassemia
hemoglobinuria)
(3) G6PD deficiency
(2) coagulation defects (e.g., hemophilia,
consumptive coagulopathy, acquired
prothrombin complex deficiency)
(3) agranulocytosis
(4) aplastic anemia
(5) immune thrombocytopenia
(6) immune deficiency states
(7) acquired platelet dysfunction with
eosinophilia
(8) allergic purpura (Henoch Schönlein
(9) purpura)
2.3.4 ENDOCRINE, NUTRITIONAL, AND METABOLIC DISEASE (ICD 10, ข้อIV E00 - E90)
2.3.4.1 กลุ่มที่ 2
2.3.4.2 กลุ่มที่ 3
(1) goiter
(1) thyroiditis
(2) iodine deficiency
(2) Cushing’s syndrome
(3) thyrotoxicosis
(3) other hormonal disorders (e.g.,
(4) thyroid crisis or storm
Addison’sdisease, pituitary gland
(5) hypothyroidism
disorders, diabetes insipidus, parathyroid
(6) diabetes mellitus
gland disorders)
(7) protein-energy malnutrition
(4) cerebral salt wasting
(8) vitamin deficiency (A, B, C, D, E, K)
(5) syndrome of inappropriate secretion of
(9) disorders of lipoprotein metabolism and
antidiuretic hormone
60
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
lipidemia
(10) obesity
(11) metabolic syndrome
(12) disorders of fluid, electrolytes, and acid-base
balance (e.g., acidosis, alkalosis,
hyponatremia, hypernatremia, hypokalemia,
hyperkalemia, hypocalcemia, hypercalcemia)
2.3.5 MENTAL& BEHAVIORAL DISORDERS (ICD10, ข้อ V F00 - F99)
2.3.5.1 กลุ่มที่ 2
2.3.5.2 กลุ่มที่ 3
(1) mental & behavioral disorders due to (1) organic mental disorders (e.g., dementia,
brain damage, systemic diseases,
alcohol, drugs and substances
alcohol & substance induced, organic
(2) depressive disorder, panic disorder,
amnestic syndrome, delirium)
generalized anxiety disorders
(2) neurotic disorders (e.g., phobia,
obscessive-compulsive disoreders,
dissociative or conversion disorder)
(3) somatoform disorders
(4) behavioral and emotional disorders in
childhood and adolescence (e.g.,
conduct disorder, tic disorder, enuresis,
feeding disorder, nail biting, thumb
sucking, attention deficit disorders)
(5) schizophrenia
(6) mood (affective) disorders : manic
episode, bipolar affective disorders
(7) behavioral syndromes associated with
physiological dysfunction and physical
factors (e.g., eating disorder, sleep
disorder, sexual dysfunction, postpartum psychosis)
(8) disorders of adult personality and
behavior (e.g., aggressive, antisocial,
compulsive, hysterical, obscessivecompulsive, paranoid)
(9) mental retardation
61
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
(10) disorders of psychological development
(e.g., speech and language disorder,
disorder of scholastic skills, motor
function disorder, pervasive disorder)
2.3.6 DISORDERS OF THE NERVOUS SYSTEM (ICD10, ข้อVI G00 - G99)
2.3.6.1 กลุ่มที่ 2
2.3.6.2 กลุ่มที่ 3
(1) meningitis
(1) brain abscess
(2) tension headache
(2) peripheral nerve entrapment (e.g.,
(3) encephalitis & myelitis
carpal tunnel syndrome, cubital tunnel
(4) periodic paralysis
syndrome)
(5) acute flaccid paralysis
(3) myasthenia gravis
(6) epilepsy
(4) myopathy
(7) migraine
(5) hemiplegia, paraplegia, tetraplegia
(8) facial nerve paralysis (Bell’s palsy)
(6) Reye's syndrome
(7) hydrocephalus
(8) cerebral palsy
(9) parkinsonism
(10) Alzheimer’s diseases
(11) polyneuropathies (e.g., systemic
diseases, drugs, chemical, alcohol)
(12) polyneuropathies (Guillain-Barre
syndrome)
(13) trigeminal neuralgia
2.3.7 DISORDERS OF THE EYE AND ADNEXA (ICD 10, ข้อ VII H00 - H59)
2.3.7.1 กลุ่มที่ 2
2.3.7.2 กลุ่มที่ 3
(1) hordeolum and chalazion
(1) disorders of ocular muscles, refraction
(2) conjunctivitis
& accommodation (e.g., strabismus,
(3) pinguecula
amblyopia, myopia, presbyopia,
hypermetropia, astigmatism)
(2) dacryostenosis, dacryocystitis
(3) pterygium
(4) keratitis, corneal ulcer
(5) uveitis
(6) cataract
(7) glaucoma
(8) retinopathy
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
62
(9)
2.3.8 DISORDERS OF THE EAR & MASTOID PROCESS (ICD 10,ข้อ VIII H60 - H95)
2.3.8.1 กลุ่มที่ 2
2.3.8.2 กลุ่มที่ 3
(1) myringitis
(1) perforation of tympanic membrane
(2) acute otitis externa
(2) chronic otitis media
(3) acute otitis media
(3) mastoiditis, cholesteatoma
(4) impacted cerumen
(4) perichondritis of the pinna
(5) conductive and sensorineural hearing
loss
(6) disorders of vestibular function and
vertiginous syndrome(Meniere ‘s
syndrome, vertigo)
2.3.9 DISORDERS OF THE CIRCULATORY SYSTEM (ICD10, ข้อ IX I 00 – I 99)
2.3.9.1 กลุ่มที่ 2
2.3.9.2 กลุ่มที่ 3
(1) acute rheumatic fever
(1) valvular heart diseases (mitral, aortic
(2) hypertension
valve)
(3) heart failure
(2) ischemic heart diseases (e.g., angina
(4) hemorrhoids
pectoris, myocardial infarction)
(3) common cardiac arrhythmias (e.g., atrial
fibrillation, supraventricular tachycardia,
premature ventricular contraction,
premature atrial contraction, ventricular
tachycardia, ventricular fibrillation, heart
block)
(4) pulmonary embolism
(5) infective endocarditis
(6) pericarditis, myocarditis
(7) varicose veins of lower extremities
(8) cerebrovascular diseases (e.g.,
intracerebral hemorrhage, cerebral
infarction, subarachnoid hemorrhage)
(9) deep vein thrombosis
(10) aortic aneurysm and dissection
(11) peripheral arterial occlusive disease
2.3.10 DISORDERS OF THE RESPIRATORY SYSTEM (ICD 10,ข้อ X J00-J99)
2.3.10.1 กลุ่มที่ 2
2.3.10.2 กลุ่มที่ 3
(1) influenza
(1) avian flu, SARS
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
63
(2) allergic rhinitis
(2) peritonsillar abscess, deep neck
(3) asthma
infection
(4) upper respiratory infections (nasopharyngitis, (3) pyothorax (empyema thoracis)
rhinosinusitis, pharyngitis, tonsillitis, laryngitis, (4) respiratory failure
tracheitis, croup)
(5) acute respiratory distress syndrome
(5) lower respiratory infections (bronchitis,
(6) nasal polyp
bronchiolitis, pneumonia, lung abscess,
(7) occupational lung diseases
bronchiectasis)
(8) chronic obstructive lung diseases
(6) pneumothorax
(chronic bronchitis, emphysema)
(7) pleurisy, pleural effusion
(9) sleep-disordered breathing
(8) atelectasis
2.3.11 DISORDERS OF THE DIGESTIVE SYSTEM (ICD10,ข้อ XI K00-K93)
2.3.11.1 กลุ่มที่ 2
2.3.11.2 กลุ่มที่ 3
(1) oral ulcer (e.g., aphthous ulcer, stomatitis,
(1) disorders of tooth development &
glossitis, thrush)
eruption
(2) peptic ulcer, gastritis
(2) dental caries, gingivitis & periodontal
(3) dyspepsia, esophagitis
diseases
(4) gastro-esophageal reflux
(3) hernia (inguinal, umbilical)
(5) irritable bowel syndrome
(4) cholelithiasis, cholecystitis, cholangitis
(6) anal fissure
(5) infantile hypertrophic pyloric stenosis
(7) alcoholic liver disease
(6) intestinal obstruction
(8) cirrhosis
(7) fistula in ano
(9) liver abscess
(8) perianal abscess
(10) acute pancreatitis
(9) peritonitis
(11) gastrointestinal hemorrhage
(10) chronic diarrhea
(12) acute appendicitis
(11) hepatic failure
2.3.12 DISORDERS OF SKIN&SUBCUTANEOUS TISSUE (ICD10,ข้อ XII L00-L99)
2.3.12.1 กลุ่มที่ 2
2.3.12.2 กลุ่มที่ 3
(1) impetigo
(1) bullous dermatoses (e.g., pemphigus,
(2) lymphadenitis
pemphigoid)
(3) cellulitis
(2) papulosquamous disorders (e,g,
(4) abscess
psoriasis, pityriasis rosea, lichen planus)
(5) dermatitis and eczema
(3) erythema multiforme, erythema
(6) urticaria
nodosum, Steven-Johnson’s syndrome,
(7) acne
toxic epidermal necrolysis
(8) dyshidrosis, miliaria
(4) staphylococcal scalded skin syndrome
(9) corn, keloid, scar
(5) discoid lupus erythematosus
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
64
(10) wart
(6) sclerodema
(11) ulcer
(12) cyst
2.3.13 DISORDERS OF THE MUSCULOSKELETAL SYSTEM AND CONNECTIVE TISSUE (ICD 10, ข้อ
XIII M00 - M99)
2.3.13.1 กลุ่มที่ 2
2.3.13.2 กลุ่มที่ 3
(1) osteomyelitis
(1) rheumatoid arthritis
(2) pyomyositis
(2) juvenile arthritis
(3) infective arthritis
(3) osteonecrosis
(4) soft-tissue rheumatism (e.g., tendinitis, de
(4) spondyloarthropathy
Quervain disease, bursitis, fasciitis, myofascial (5) spondylolithiasis and disc syndrome
pain syndrome)
(6) spondylitis
(5) costochondritis
(7) osteoporosis
(6) crystal arthropathy (gout, pseudogout)
(8) abnormal curvature of the spine
(7) osteoarthritis
(9) systemic lupus erythematosus
(8) degenerative diseases of the spine
(10) inflammatory myositis
(11) necrotizing fasciitis
(12) vasculitis syndrome (e.g., Kawasaki’s
disease, polyarthritis nodosa, drug
induced)
(13) fibromyalgia syndrome
2.3.14 DISORDERS OF THE GENITO- URINARY SYSTEM (ICD 10, ข้อ XIV N00 - N99)
2.3.14.1 กลุ่มที่ 2
2.3.14.2 กลุ่มที่ 3
(1) cystitis, urtethritis
(1) chronic glomerulonephritis
(2) urethral syndrome
(2) interstitial nephritis
(3) orchitis and epididymitis
(3) renal tubular acidosis
(4) hyperplasia of prostate
(4) obstructive & reflux uropathy
(5) phimosis / paraphimosis
(5) renal failure
(6) mastitis
(6) hydrocele of testis
(7) Bartholinitis & abscess, Bartholin cyst
(7) urolithiasis
(8) cervical polyp
(8) endometriosis
(9) vulvovaginitis
(9) imperforate hymen
(10) cervicitis
(10) female genital prolapse (e.g.,cystocoele,
(11) pelvic inflammatory disease
rectocoele, prolapse uterus)
(e.g.,endometritis, salpingitis, oophoritis, tubo- (11) fistula involving female genital tracts
ovarian abscess)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
65
(12) menstrual disorders
(13) abnormal uterine or vaginal bleeding
(14) menopausal syndrome
(15) acute glomerulonephritis
(16) nephrotic syndrome
(17) pyelonephritis
(18) stress incontinence
2.3.15 PREGNANCY, CHILDBIRTH, AND THE PUERPERIUM (ICD 10,ข้อ XV O00 - O99)
2.3.15.1 กลุ่มที่ 2
2.3.15.2 กลุ่มที่ 3
(1) breast infection associated with childbirth
(1) umbilical cord complication (e.g.,
(2) disorders of breast and lactation associated
prolapse cord, vasa previa)
with childbirth
(2) prolonged labor
(3) low risk pregnancy
(3) shoulder dystocia
(4) abortion
(4) ectopic pregnancy
(5) hyperemesis gravidarum
(5) multiple gestation
(6) normal delivery
(6) dead fetus in utero
(7) trauma to birth canal during delivery
(7) missed abortion
(8) septic abortion
(9) hydatidiform mole
(10) pregnancy with medical complications
(11) antepartum hemorrhage (e.g., placenta
previa, abruption placentae)
(12) hypertensive disorder in pregnancy
(13) malposition & malpresentation of the
fetus
(14) premature (prelabour) rupture of
membranes, chorio-amnionitis
(15) prolonged pregnancy
(16) puerperal infection
(17) postpartum hemorrhage
2.3.16 CERTAIN CONDITIONS ORIGINATING IN THE PERINATAL PERIO (ICD 10,ข้อXVI P00 - P95)
2.3.16.1 กลุ่มที่ 2
2.3.16.2 กลุ่มที่ 3
(1) birth asphyxia
(1) slow fetal growth and fetal malnutrition
(2) transitory metabolic disorders
(2) prematurity, low birth weight, pre-term
(e.g.,hypoglycemia, hypocalcemia,
infant
hypothermia, dehydration)
(3) post-term infant
(3) feeding problems of newborn
(4) respiratory distress in newborn
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
66
(4) birth trauma
(5) perinatal infections (hepatitis B virus)
(6) perinatal jaundice
(5) intrauterine and perinatal infections
(e.g.,rubella, syphilis, gonococcal
infection, tetanus neonatorum, sepsis,
HIV, chlamydial infection)
2.3.17 CONGENITAL MALFORMATIONS, DEFORMATIONS AND CHROMOSOMAL ABNORMALITIES
(ICD 10, ข้อ XVII Q00 - Q99)
2.3.17.1 กลุ่มที่ 2
2.3.17.2 กลุ่มที่ 3
(1) encephalocoele, hydrocephalus
(2) pre-auricular sinus, sinus, fistula and
(3) cyst of branchial cleft
(4) congenital malformation of heart
(5) cleft lip, cleft palate
(6) thyroglossal duct cyst
(7) laryngomalacia
(8) tracheo-esophageal fistula
(9) diaphragmatic hernia
(10) Hirschprung disease, imperforate anus,
volvulus
(11) omphalocoele, gastroschisis
(12) hypospadias, undescended testis
(13) ambiguous genitalia
(14) chromosomal abnormalities (e.g.,
Down’s syndrome, trisomy18, trisomy13)
(15) clubfoot
(16) congenital hip dislocation
2.3.18 INJURY, POISONING AND CONSEQUENCES OF EXTERNAL CAUSES (ICD10 ข้อ XIX S00 T98)
2.3.18.1 กลุ่มที่ 2
2.3.18.2 กลุ่มที่ 3
(1) wound
(1) chest injury
(2) compartment syndrome
(2) abdominal injury
(3) eye injury and foreign body on external eye
(3) genitourinary tract injury
(4) animal bites and stings
(4) head injury
(5) toxic effects of contact with venomous
(5) spinal cord and peripheral nerve injury
animals
(6) fracture
(7) dislocations
(8) muscle & tendon injuries (sprains & strains)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
67
(9) foreign body through orifices
(10) burns
(11) corrosions, heat stroke, electrical injury
(12) near-drowning
(13) poisoning & intoxication by drugs, substances,
toxins
(14) maltreatment syndrome (e.g.,child abuse,
sexual abuse, battered child)
2.3.19 EXTERNAL CAUSES OF MORBIDITY & MORTALITY (ICD 10, ข้อ XX V01 - Y98)
2.3.19.1 กลุ่มที่ 2
2.3.19.2 กลุ่มที่ 3
(1) nosocomial conditions
(2) transport accidents
(3) falls
(4) exposure to smoke, fire and flames,
electrocution
(5) exposure to biological hazard
(6) exposure to forces of nature (e.g., natural
heat or cold, sunlight, victim of lightning,
victim of earthquake, victim of flood)
(7) intention self-harm e.g., crashing of motor
vehicle, hanging and suffocation, handgun
discharge
(8) problems related to life-style e.g., tobacco
use, alcohol and biological substance use,
lack of physical exercise
(9) drugs, medicaments and biological
substances causing adverse effects in
therapeutic use
(10) medical devices associated with adverse
incidents in diagnostic and therapeutic use
(11) work-related conditions
(12) environmental-pollution-related conditions
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
68
หมวดที่ 3 ทักษะการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหัตถการที่จาเป็น (Technical and procedural skills)
มีความสามารถในการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การทาหัตถการและการใช้เครื่องมือต่างๆในการตรวจ
วินิจฉัยและรักษาผู้ปุวย โดยอธิบาย ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ขั้นตอนการ
ตรวจ สามารถทาได้ด้วยตนเอง และแปลผลได้อย่างถูกต้อง และเตรียมผู้ปุวยเพื่อการตรวจวินิจฉัยนั้นๆ ตามเกณฑ์ที่ระบุไว้
3.1 การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ มีความสามารถในการตรวจ การใช้เครื่องมือต่างๆ ในการ
ตรวจวินิจฉัย โดยอธิบาย ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ขั้นตอน
การตรวจ สามารถทาได้ด้วยตนเอง และแปลผลได้ถูกต้อง
3.1.1 Hematocrit
3.1.2 Blood smear: differential white blood cell count, red cell morphology, platelet
estimate and morphology
3.1.3 Malarial parasite
3.1.4 ABO blood group, Rh and cross matching
3.1.5 Venous clotting time, clot retraction, clot lysis
3.1.6 Urine analysis
3.1.7 Body fluid analysis, e.g., CSF, pleural
3.1.8 Stool examination, stool occult blood
3.1.9 Gram staining, acid fast staining
3.1.10 KOH smear, Tzanck’s smear, wet preparation
3.1.11 Tuberculin skin test
3.1.12 Electrocardiography
3.1.13 Growth and development assessment
3.1.14 Electronic fetal heart rate monitoring
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ และประเมิน ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่
เหมาะสม เตรียมผู้ปุวยสาหรับการตรวจ และแปลผลการตรวจได้ถูกต้อง
3.2.1 Chest x-ray
3.2.2 Plain abdomen
3.2.3 Plain KUB
3.2.4 Skull and sinuses
3.2.5 Bones and joints
3.2.6 Lateral soft tissue of neck
3.3 การตรวจอื่น ๆ สามารถบอกข้อบ่งชี้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ปุวยสาหรับการตรวจ
และหรือเก็บตัวอย่างตรวจ และแปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง
3.3.1 Hemoglobin, white blood cell count, platelet count
3.3.2 Red cell indices
3.3.3 Reticulocyte count
3.3.4 Inclusion bodies, Heinz bodies
3.3.5 Hemoglobin typing
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
69
3.3.6
3.3.7
3.3.8
3.3.9
3.3.10
3.3.11
3.3.12
3.3.13
3.3.14
3.3.15
3.3.16
3.3.17
3.3.18
3.3.19
3.3.20
3.3.21
3.3.22
3.3.23
3.3.24
3.3.25
3.3.26
3.3.27
3.3.28
3.3.29
3.3.30
3.3.31
Erythrocyte sedimentation rate
Coagulation study
Bleeding time
Culture from clinical specimens
Antimicrobial susceptibility testing
Cytology
Endocrinologic studies: plasma glucose, HbA1C, Oral glucose tolerance test
(OGTT), postprandial GTT, thyroid function test, serum cortisol
Liver profile
Kidney profile
Lipid profile
Cardiac markers
Forensic and toxicology trace evidence
HIV testing
Serologic studies
Arterial blood gas analysis
Spirometry, peak expiratory flow rate measurement
Audiometry
Computerized axial tomography scan
Magnetic resonance imaging
Mammography
Radionuclide study
Barium contrast GI studies
Intravascular contrast studies: arterial and venous studies
Echocardiography
Tumor markers
Bone mineral density
3.4 การทาหัตถการที่จาเป็นหรือมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาสุขภาพโดยแบ่งระดับหัตถการดังต่อไปนี้
ระดับที่ 1 หมายถึง หัตถการพื้นฐานทางคลินิก
เมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระทา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง ตรวจและ
ประเมิน ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม สามารถทาได้ด้วยตนเอง วินิจฉัยและดูแลบาบัดภาวะแทรกซ้อนได้
ระดับที่ 2 หมายถึง หัตถการที่มีความซับซ้อนกว่าหัตถการพื้นฐาน มีความสาคัญต่อการรักษาผู้ปุวย
เมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระทา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง ตรวจและ
ประเมิน ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม สามารถทาภายใต้การแนะนาได้ถูกต้อง และเมื่อผ่านการเพิ่มพูน
ทักษะแล้ว สามารถทาได้ด้วยตนเอง วินิจฉัยและดูแลบาบัดภาวะแทรกซ้อนได้
ระดับที่ 3 หมายถึง หัตถการที่มีความซับซ้อน และอาจทาในกรณีที่จาเป็น
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
70
เมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระทา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ได้ถูกต้อง เคยช่วยทา และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะ สามารถทาได้ภายใต้การแนะนา วินิจฉัย
ดูแลบาบัดภาวะแทรกซ้อนภายใต้การแนะนาได้ถูกต้อง
ระดับที่ 4 หมายถึง หัตถการที่มีความซับซ้อน และ/หรือ อาจเกิดอันตราย จาเป็นต้องอาศัยการฝึกฝน
เมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระทา ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ได้ถูกต้อง สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้ถูกต้อง และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะ
เคยเห็นหรือเคยช่วย
INDEX TO PROCEDURES
(xxxxxx, ลาดับที:่ ระดับหัตถการ)
Amniotomy
at time of delivery, 3: 1
to induce labor, 68: 3
Anesthesia
general, 74: 3
spinal, 94: 4
Appendectomy, 69: 3
Arthrocentesis
knee, 53: 2
other, 75: 3
Aspiration
bladder, 85: 3
bone marrow, 70: 3
bursa (elbow) (ankle), 6: 1
curettage (uterus), 54: 2
joint (knee), 53: 2
joint (others), 75: 3
skin, 6: 1
subcutaneous tissue, 6: 1
Biopsy
breast (needle) (percutaneous), 78: 3
cervix, 11: 1
pleural, 93: 4
punch, 11: 1
skin, 7: 1
subcutaneous tissue, 7: 1
superficial mass, 7: 1
Block
digital nerve, 25: 1
local infiltration, 25: 1
spinal, 94: 4
Blood
transfusion, 8: 1
Cardiac
massage (closed chest), 1: 1
massage (closed chest) (neonatal), 55: 2
Catheterization --see also Insertion and
Intubation
umbilical vein, 42: 1
urethra, 43: 1
Caesarean section
low cervical, 76: 3
Circumcision, 72: 3
Crede maneuver, 30: 1
Curettage
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
71
hordeolum (external), 51: 2
uterus (aspiration), 54: 2
uterus (with cervical dilation), 49: 2
Cutdown, venous, 67: 2
Debridement
excisional, 12: 1
nail (bed) (fold), 12: 1
nonexcisional, 46: 1
wound, 12: 1
Delivery
assisted (spontaneous) (Crede), 30: 1
breech (partial) (assisted), 71: 3
Caesarean section -- see Caesarean
section
forceps (low, with episiotomy), 91: 4
Destruction
cervix, 34: 1
skin, 15: 1
subcutaneous tissue, 15: 1
Dialysis
peritoneal, 92: 4
Dilation and curettage
uterus, 49: 2
Drainage
abdominal (percutaneous), 47: 2
chest, 52: 2
postural, 35: 1
skin, 21: 1
subcutaneous tissue, 21: 1
Dressing
burn, 46: 1
pressure, 40: 1
wound, 46: 1
Episiotomy(with subsequent episiorrhaphy), 14: 1
low forceps, 91: 4
Excision
cervix, 34: 1
skin, 15: 1
subcutaneous tissue, 15: 1
Exercise
breathing, 9: 1
musculoskeletal, 39: 1
Extraction
breech (partial), 71: 3
forceps (low), 91: 4
vacuum, 89: 3
Implantation
progesterone (subdermal), 50: 2
Incision
hordeolum (external), 51: 2
skin (with drainage), 21: 1
subcutaneous tissue
(with drainage), 21: 1
Induction
labor (amniotomy), 68: 3
Infusion
electrolytes, 24: 1
prophylactic substance, 22: 1
Injection (into) (hypodermically)(intramuscularly)
(intravenously) (acting locally or systemically)
electrolytes, 24: 1
nerve (peripheral), 25: 1
prophylactic substance, 22: 1
spinal (canal), 94: 4
Insertion --see also Catheterization and
Intubation
bladder (indwelling) (urinary) catheter, 43: 1
chest (intercostal) tube, 52: 2
contraceptive device (intrauterine), 23: 1
endotracheal tube, 13: 1
nasogastric tube, 29: 1
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
72
Intubation --see also Catheterization and
Insertion
nasogastric, 29: 1
trachea, 13: 1
Irrigation
nasogastric tube, 19: 1
wound (cleaning), 46: 1
Lavage
gastric, 20: 1
peritoneal, 79: 3
Ligation
fallopian tubes (bilateral)(division), 66: 2
Maneuver
Crede, 30: 1
Marsupialization
Bartholin’s cyst, 27: 1
Massage
cardiac (external) (manual) (closed), 1: 1
cardiac (external) (manual) (closed)
(neonatal), 55: 2
Measurement
central venous pressure, 28: 1
Monitoring
central venous pressure, 28: 1
Operation
low forceps, 91: 4
Pomeroy, 66: 2
Packing
nose, for epistaxis (anterior), 4: 1
nose, posterior (and anterior), 80: 3
vaginal, 44: 1
Paracentesis
abdominal (percutaneous), 47: 2
bladder, 85: 3
pleural thoracic, 58: 2
Phototherapy, 33: 1
Physical therapy -- see Therapy, physical
Physiotherapy
chest, 35: 1
Reduction
dislocation (of joint) (closed), 81: 3
fracture (bone) (closed), 73: 3
Removal
contraceptive drug, 50: 2
ectopic fetus (tubal) (salpingectomy), 84:3
foreign body from
conjunctiva, 59: 2
cornea, 82: 3
ear, 60: 2
nose, 61: 2
pharynx (throat), 62: 2
vagina (child), 63: 2
vagina (adult), 36: 1
intrauterine contraceptive device(IUD),23: 1
nail (bed) (fold), 64: 2
placenta (manual), 77: 3
Repair
laceration (obstetric) (current), 56: 2
tendon (suture) (hand), 83: 3
Replacement (tube) (large intestine), 38: 1
Resection (bilateral) (fallopian tubes), 66: 2
Resuscitation
cardiac (external massage), 1: 1
neonatal, 55: 2
Salpingectomy
with removal of tubal pregnancy, 84: 3
Stretching
Muscle, 39: 1
Suture
obstetric laceration(vulva) (perineum), 56: 2
skin and subcutaneous tissue, 41: 1
tendon (hand), 83: 3
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
73
Tap
abdominal, 47: 2
bladder, 85: 3
chest, 58: 2
joint (knee), 53, 2
joint (others), 75, 3
spinal, 26: 1
thorax, 58: 2
Therapy (physical), 39: 1
Thoracentesis, 58: 2
Tracheostomy (emergency) (temporary)(for
assistance in breathing), 86: 3
Traction
manual and mechanical, 90: 4
Ultrasonography
abdomen, 87: 3
gravid uterus, 88: 3
Urethral catheterization
indwelling, 43: 1
Ventilation
continuous mechanical, 48: 2
Tendon, 39: 1
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
74
ลาดับที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
หัตถการ
Advanced cardio-pulmonary resuscitation
99.60 Cardiopulmonary resuscitation, not otherwise specified
99.62 Other electric countershock of heart
99.63 Closed chest cardiac massage
93.93 Nonmechanical methods of resuscitation
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
∕
Aerosol bronchodilator therapy
93.94 Respiratory medication administered by nebulizer
∕
Amniotomy
73.09 Other artificial rupture of membranes, artificial rupture of membranes at
time of delivery
∕
Anterior nasal packing
21.01 Control of epistaxis by anterior nasal packing
∕
Arterial puncture
38.98 Other puncture of artery
∕
Aspiration of skin, subcutaneous tissue and bursa (elbow and ankle)
86.01 Aspiration of skin and subcutaneous tissue
83.94 Aspiration of bursa
∕
Biopsy of skin, superficial mass
86.11 Biopsy of skin and subcutaneous tissue
∕
Blood and blood component transfusion
99.0x Transfusion of blood and blood components
99.03 Other transfusion of whole blood
99.04 Transfusion of packed cells
99.05 Transfusion of platelets
99.06 Transfusion of coagulation factors
99.07 Transfusion of other serum
∕
Breathing exercise
93.18 Breathing exercise
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
∕
75
ลาดับที่
10
11
12
13
หัตถการ
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
Capillary puncture
38.99 Other puncture of vein, phlebotomy
∕
Cervical biopsy
67.12 Other cervical biopsy, punch biopsy of cervix NOS
∕
Debridement of wound
86.22 Excisional debridement of wound, infection, or burn
86.27 Debridement of nail, nail bed, or nail fold
86.28 Nonexcisional debridement of wound, infection or burn
Endotracheal intubation
96.04 Insertion of endotracheal tube
∕
∕
14
Episiotomy
73.6 Episiotomy, Episiotomy with subsequent episiorrhaphy
∕
15
Excision of benign tumor and cyst of skin and subcutaneous tissue
86.3 Other local excision or destruction of lesion or tissue of skin and
subcutaneous tissue
∕
16
17
18
19
20
21
External splinting
93.54 Application of splint
First aid management of injured patient
∕
∕
Gastric gavage
96.35 Gastric gavage
∕
Gastric irrigation
96.34 Other irrigation of (naso-)gastric tube
∕
Gastric lavage
96.33 Gastric lavage
∕
Incision and drainage
86.04 Other incision with drainage of skin and subcutaneous tissue
∕
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
76
ลาดับที่
22
23
หัตถการ
Injection: intradermal, subcutaneous, intramuscular, intravenous
99.1x Injection or infusion of therapeutic or prophylactic substance
99.2x Injection or infusion of other therapeutic or prophylactic substance
99.3x Prophylactic vaccination and inoculation against certain bacterial diseases
99.4x Prophylactic vaccination and inoculation against certain viral diseases
99.5x Other vaccination and inoculation
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
∕
Insertion and removal of intrauterine device
69.7 Insertion of intrauterine contraceptive device
97.71 Removal of intrauterine contraceptive device
∕
24
Intravenous fluid infusion
99.18 Injection or infusion of electrolytes
∕
25
Local infiltration and digital nerve block
04.81 Injection of anesthetic into peripheral nerve for analgesia
∕
26
Lumbar puncture
03.31 Spinal tap
∕
27
Marsupialization of Bartholin’s cyst
71.23 Marsupialization of Bartholin's gland (cyst)
∕
28
Measurement of central venous pressure
89.62 Central venous pressure monitoring
∕
29
Nasogastric intubation
96.07 Insertion of other (naso-)gastric tube
∕
30
Normal labor
73.59 Other manually assisted delivery, assisted spontaneous delivery, Crede
maneuver
Oxygen therapy
93.96 Other oxygen enrichment, oxygen therapy
31
32
PAP smear
91.46 Papanicolaou smear
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
∕
∕
∕
77
ลาดับที่
33
34
35
36
37
38
39
40
หัตถการ
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
Phototherapy
99.83 Other phototherapy, phototherapy of the newborn
∕
Polypectomy (cervical)
67.39 Other excision or destruction of lesion or tissue of cervix
∕
Postural drainage
93.99 Other respiratory procedures, postural drainage
∕
Removal of foreign body from vagina in adult
98.17 Removal of intraluminal foreign body from vagina without incision
∕
Skin traction
93.46 Other skin traction of limbs
∕
Stomal care
97.04 Replacement of tube or enterostomy device of large intestine
∕
Strengthening and stretching exercise
93.1x Physical therapy exercises
93.27 Stretching of muscle or tendon
∕
Stump bandaging
93.56 Application of pressure dressing
∕
Suture
86.59 Closure of skin and subcutaneous tissue of other sites
∕
42
Umbilical vein catheterization
38.92 Umbilical vein catheterization
∕
43
Urethral catheterization
57.94 Insertion of indwelling urinary catheter
∕
44
Vaginal packing
96.14 Vaginal packing
∕
45
Venipuncture
38.99 Other puncture of vein, phlebotomy
∕
41
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
78
ลาดับที่
46
หัตถการ
Wound dressing
86.28 Nonexcisional debridement of wound, infection or burn
96.59 Other irrigation of wound, wound cleaning NOS
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
∕
47
Abdominal paracentesis
54.91 Percutaneous abdominal drainage, paracentesis
∕
48
Basic mechanical ventilation
96.7x Other continuous mechanical ventilation
∕
49
Cervical dilatation and uterine curettage
69.0x Dilation and curettage of uterus
∕
50
Contraceptive drug implantation and removal
99.23 Injection of steroid, subdermal implantation of progesterone
∕
51
Incision and curettage (external hordeolum)
08.09 Other incision of eyelid, incision of hordeolum
∕
52
Intercostal drainage
34.04 Insertion of intercostal catheter for drainage, chest tube
∕
53
Joint aspiration, knee
81.91 Arthrocentesis, joint aspiration
∕
54
Manual vacuum aspiration
69.5x Aspiration curettage of uterus
∕
55
Neonatal resuscitation and transportation
99.60 Cardiopulmonary resuscitation, not otherwise specified
99.63 Closed chest cardiac massage
93.93 Nonmechanical methods of resuscitation
∕
Perineorrhaphy
75.69 Repair of other current obstetric laceration
71.71 Suture of laceration of vulva or perineum
∕
56
57
Plaster of Paris technique
93.53 Application of other cast
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
∕
79
ลาดับที่
58
59
60
61
62
63
หัตถการ
Pleural paracentesis
34.91 Thoracentesis
Removal of foreign body from conjunctiva
98.22 Removal of embedded foreign body from eyelid or conjunctiva without
incision
Removal of foreign body from ear
98.11 Removal of intraluminal foreign body from ear without incision
Removal of foreign body from nose
98.12 Removal of intraluminal foreign body from nose without incision
Removal of foreign body from throat
98.13 Removal of intraluminal foreign body from pharynx without
Incision
Removal of foreign body from vagina in child
98.17 Removal of intraluminal foreign body from vagina without incision
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
∕
∕
∕
∕
∕
∕
64
Removal of nail, nail bed, or nail fold
86.23 Removal of nail, nail bed, or nail fold
∕
65
Skeletal traction
93.43 Intermittent skeletal traction
93.44 Other skeletal traction
∕
66
Tubal ligation & resection
66.32 Other bilateral ligation and division of fallopian tubes, Pomeroy operation
∕
67
Venesection
38.94 Venous cutdown
∕
68
Amniotomy
73.01 Induction of labor by artificial rupture of membranes
Excludes: artificial rupture of membranes after onset of labor
∕
Appendectomy
47.09 Other appendectomy
∕
69
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
80
ลาดับที่
70
หัตถการ
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
Bone marrow aspiration
41.38 Other diagnostic procedures on bone marrow
∕
Breech assistance delivery
72.52 Other partial (assisted) breech extraction
∕
Circumcision
64.0 Circumcision
∕
Closed reduction of simple fractures
79.0x Closed reduction of fracture without internal fixation
∕
74
General anesthesia for uncomplicated patient for simple surgery
∕
75
Joint aspiration, others
81.91 Arthrocentesis, joint aspiration
∕
Low transverse cesarean section
74.1 Low cervical cesarean section
∕
Manual removal of placenta
75.4 Manual removal of retained placenta
∕
Needle biopsy of breast
85.11 Closed [percutaneous] [needle] biopsy of breast
∕
Peritoneal lavage
54.25 Peritoneal lavage
∕
Posterior nasal packing
21.02 Control of epistaxis by posterior (and anterior) packing
∕
Reduction of simple dislocations
79.7x Closed reduction of dislocation
∕
Removal of embedded foreign body from cornea without incision
98.21 Removal of superficial foreign body from eye without incision
∕
71
72
73
76
77
78
79
80
81
82
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
81
ลาดับที่
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
หัตถการ
ระดับหัตถการ
1 2 3 4
Repair of extensor tendon of hand
82.45 Other suture of other tendon of hand
∕
Salpingectomy
66.62 Salpingectomy with removal of tubal pregnancy
∕
Suprapubic tap
57.11 Percutaneous aspiration of bladder
∕
Tracheostomy
31.1 Temporary tracheostomy, Tracheotomy for assistance in breathing
∕
Ultrasonography, abdomen in traumatic condition
88.76 Diagnostic ultrasound of abdomen and retroperitoneum
∕
Ultrasonography, gravid uterus
88.78 Diagnostic ultrasound of gravid uterus
∕
Vacuum extraction
72.7x Vacuum extraction
∕
Cervical spine and pelvic traction
93.21 Manual and mechanical traction
∕
Low forceps extraction
72.1 Low forceps operation with episiotomy
∕
Peritoneal dialysis
54.98 Peritoneal dialysis
∕
Pleural biopsy
34.24 Pleural biopsy
∕
Spinal anesthesia
03.91 Injection of anesthetic into spinal canal for analgesia
∕
Vasectomy
63.73 Vasectomy
∕
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
82
ค. สุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ
ทั้งระดับบุคคล ชุมชน และประชาชน รวมทั้งกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ มีทักษะในการ
สื่อสารระหว่างกลุ่มต่างๆเรื่องสุขภาพ และบูรณาการความรู้ด้านสร้างเสริมสุขภาพ โดยคานึงสภาพแวดล้อมและบริบท
แวดล้อม เกิดความตระหนักรู้และมีจิตสานึกเรื่องสุขภาพ และการเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเองของประชาชน ให้มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี สามารถเป็นต้นแบบในเรื่องสร้างเสริมสุขภาพดังนี้
1. แนวความคิดพื้นฐาน (Fundamental concepts of health promotion)
1.1. ปรัชญาด้าน “สุขภาพ” ( Philosophy of health)
1.1.1. กรอบคานิยามใหม่ของสุขภาพ
1.1.2. แนวคิดของการสร้างเสริมสุขภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
1.1.3. ความแตกต่างระหว่างการสร้างเสริมสุขภาพ (health promotion) และการปูองกันโรค
(disease prevention)
1.1.4. ความเชื่อมโยงของสุขภาพระดับต่างๆ ตั้งแต่สุขภาพระดับบุคคล(individual health) ระดับ
ครอบครัว(family heath) ระดับชุมชน(community health) จนถึง ระดับประชากร
(population health)
1.2. หลักการของการสร้างเสริมสุขภาพ (Principles of health promotion)
1.2.1. ธรรมชาติของโรคและความเจ็บปุวย (Natural history of disease and illness) และการ
ปูองกันระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ จตุรภูมิ (primary, secondary, tertiary and
quarternary prevention)
1.2.2. คาจากัดความ หลักการ และกลยุทธ์ของการสร้างเสริมสุขภาพ (Definition, principles and
strategies of health promotion)
1.3. ความสัมพันธ์ระหว่าง การสร้างเสริมสุขภาพ, การปูองกันโรค, การให้สุขศึกษาและการคุ้มครอง/ปกปูอง
สุขภาพ (Contextual relation among health promotion, disease prevention, health
education and health protection)
1.4. ปัจจัยกาหนดสุขภาวะ( Health determinants) : ปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และ
ปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ (Individual, environment, health care delivery system)
2. การประเมินสภาวะสุขภาพ (measurement of health status) โดยใช้วิธีการทางระบาดวิทยา ตัววัดสุขภาวะ
(health indicators) พฤติกรรมสุขภาพ (health behavior) และ การให้คาแนะนาเพื่อปรับเปลี่ยนให้มีวิถีชีวิตที่มี
สุขภาพดี
3. การให้สุขศึกษา (Health education)
3.1. รูปแบบต่างๆและประสิทธิภาพ (Models, approaches and its effectiveness)
3.2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรับรู้ด้านสุขภาพและการเจ็บปุวย (Factors which influence the
perception of health and illness)
3.3. พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพส่วนบุคคล (Development and change of
individual health behavior)
3.4. เวชศาสตร์การกีฬาเบื้องต้น: ลักษณะการออกกาลังกายแบบต่างๆ ผลของสภาวะแวดล้อม อาหาร ยา
และโรคที่มีผลต่อการออกกาลังกายในรูปแบบต่างๆ การออกกาลังกายในผู้สูงอายุ เด็ก และสตรี ลักษณะ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
83
ของการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ผลกระทบที่เกิดจากการบาดเจ็บรวมทั้งเข้าใจแนวทางการรักษาการ
บาดเจ็บและการฟื้นฟูสภาพ
4. ระบบบริบาลสุขภาพของประเทศไทย (Thai health care system)
4.1. ความแตกต่างและความสาคัญของเวชปฏิบัติแบบต่างๆในระบบนิเวศของการบริบาลทางการแพทย์
(ecology of medical care ) ได้แก่ การบริบาลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ (primary, secondary
and tertiary care) รวมทั้งระบบการส่งต่อ (referral system)
4.2. สาธารณสุขมูลฐาน (Primary health care) ซึ่งเน้นถึง การดูแลสุขภาพตนเอง การเข้าถึงบริการสุขภาพ
อย่างเท่าเทียมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเอง
4.3. ระบบสุขภาพแห่งชาติ (National health system)
4.4. ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (National health security system)
4.5. ระบบบริการสุขภาพ (Health services system) ซึ่งประกอบด้วย
4.5.1. โครงสร้างของการบริการ (Structure of health services) และความสัมพันธ์ของเวชปฏิบัติ
ระดับต่างๆในระบบบริการทางการแพทย์
4.5.2. การให้บริการ (Health services delivery)
4.5.2.1. การปูองกันและควบคุมโรคในชุมชน (preventive health services and disease
control in community)
4.5.2.2. การให้สุขศึกษาและการสื่อสารสุขภาพ (health education/health
communication)
4.5.2.3. การดูแลรักษา ปูองกัน สร้างเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสภาพที่สถานพยาบาล
(comprehensive care at health service setting) รวมถึง การควบคุมโรคติดเชื้อ
(infectious disease control) การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (immunization) การ
ส่งเสริมโภชนาการ การอนามัยแม่และเด็ก การส่งเสริมและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การวางแผนครอบครัว การปูองกันการบาดเจ็บ (injury prevention)
4.5.2.4. การบริบาลสุขภาพที่บ้าน (home health care) ที่โรงเรียน (school health care)
และจากการประกอบอาชีพ (occupational health care) การอนามัยสิ่งแวดล้อม
(environmental health) การบริบาลแบบประคับประคอง (palliative care) การ
จัดการโรคหรือความเจ็บปุวยที่มีความรุนแรงและหายนะ (catastrophic illness)
4.5.3. การจัดการด้านสุขภาพ (Health management )
4.5.3.1. ระบบการปรึกษาระหว่างวิชาชีพ (consultative services)
4.5.3.2. การประเมินผลระบบบริการสุขภาพ (evaluation of health service system)
4.5.3.3. ระบบสารวจและประเมินสภาวะสุขภาพในชุมชน (health surveys and
assessment)
4.5.3.4. ระบบการเฝูาระวังและรายงานโรค (disease surveillance and reporting
systems)
4.5.3.5. หลักการเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้ปุวย (patient safety)
4.5.4. แหล่งทรัพยากรด้านสุขภาพ (Resources in health) :บุคลากร(man) , วัสดุอุปกรณ์
(material), เทคโนโลยีด้านการแพทย์ (medical technology)
4.5.5. การจัดการการเงินด้านสุขภาพ (Health finance)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
84
5. ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์คลินิกและเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (Clinical economics and health
economics) ที่นามาใช้ตัดสินใจ
6. กลยุทธ์ด้านสร้างเสริมสุขภาพในเรื่องการสร้างความเข้มแข็ง/การเสริมพลังทั้งในระดับบุคคลและสังคม การพิทักษ์
ประโยชน์ การสื่อสารด้านสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข (Strategies in health promotion :
empowerment at individual and social level, advocacy, health communication, public health
policy)
7. แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพแบ่งตามกลุ่มต่างๆ (Approaches of health promotion)
7.1. กลุ่มประชากร (population group) ได้แก่ อายุ (age), เพศ (gender), อาชีพ (occupation) , ความ
เสี่ยง (risk), ชนิดของโรคเรื้อรัง (chronic illness), กลุ่มผู้พิการและทุพพลภาพ (handicap and
disability) เป็นต้น
7.2. หัวข้อสุขภาพ (health issues) ได้แก่ อาหาร (nutrition), การออกกาลังกาย (exercise), สุขภาพจิต
(mental), เกี่ยวกับการเจริญพันธุ์ (reproductive), การใช้สารเสพติด (substance use) เป็นต้น
7.3. แหล่งที่ตั้ง (settings) ได้แก่ ครอบครัว (healthy family), โรงเรียน (health promoting school),
สถานที่ทางาน (health promoting workplace), ชุมชน (health promoting community), โรงเรียน
แพทย์ (health promoting medical school), เมือง (healthy city)
8. กฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ (Law and regulation on health promotion) ในส่วน จ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ข้อ 12
9. บทบาทของการแพทย์แบบเติมเต็มและการแพทย์ทางเลือกที่มีผลต่อสุขภาพ (Complementary and
Alternative Medicine)
10. บทบาทของสหวิชาชีพและสหสาขา (multi-professions and multidisciplinary) ในการสร้างเสริมสุขภาพ
11. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพในระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ (Regional and International health
promotion policy)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
85
ง. หมวดเวชจริยศาสตร์
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเวชจริยศาสตร์ สามารถระบุปัญหา วิเคราะห์ และให้แนวทาง
ปฏิบัติเชิงเวชจริยศาสตร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
หลักการของจริยธรรมทางการแพทย์ (principles of medical ethics)
ประมวลความประพฤติและมารยาท (codes of conduct and etiquette)
ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผู้ปุวย (doctor-patient relationship)
จริยธรรมเกี่ยวกับการสาธารณสุขและการสร้างเสริมสุขภาพ(ethics of public health and health promotion)
สิทธิผู้ปุวย (patient rights)
ความเที่ยงธรรม และความยุติธรรมทางสังคม(equity and social justice)
ความสัมพันธ์กับอุตสาหกรรมเภสัชภัณฑ์ (relationship with the pharmaceutical industry)
หลักการของจริยธรรมการวิจัยและการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย (principles of research ethics and research
publication)
9. ภาวะอิสระ/อัตตาณัติของผู้ปุวย (patient autonomy)
10. ความลับของผู้ปุวย (confidentiality)
11. การเปิดเผยความจริง (truth telling/disclosure)
12. การยินยอมหลังรับทราบมูล (informed consent)
13. ความประมาทเลินเล่อทางการแพทย์ (medical negligence)
14. ความประพฤติผิดทางวิชาชีพ (professional misconduct)
15. ประเด็นเกี่ยวกับการแปรรูปบริบาลสุขภาพของรัฐเป็นแบบเอกชน (issues related to the privatization of health care)
16. ประเด็นเชิงจริยธรรมเกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ (ethical issues related to reproductive health)
17. แง่มุมเชิงจริยธรรมในการดูแลรักษาผู้ปุวยติดเชื้อเอชไอวีหรือเป็นโรคเอดส์ (ethical aspects of treating patients with HIV/AIDS)
18. แง่มุมเชิงจริยธรรมในการดูแลรักษาผู้ปุวยที่มีปัญหาด้านจิตใจ (ethical aspects of treating the mentally ill)
19. ประเด็นเชิงจริยธรรมในการดูแลรักษาเด็ก (ethical issues in treating children)
20. ประเด็นเชิงจริยธรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อการแพทย์ระบบอื่น (ethical issues of dealing with other systems of medicine)
21. สถานการณ์ทางคลินิกอื่นๆ ที่จาเพาะในแต่ละภูมิภาค (any other specific regional clinical situations)
22. การตัดสินใจช่วงวาระสุดท้ายของชีวิต (end of life decisions)
23. การเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์ (disclosure of medical error)
24. จริยธรรมเกี่ยวกับการบริจาคหรือการปลูกถ่ายอวัยวะ (ethics of transplantation/organ donation)
25. การจัดสรรทรัพยากรในระบบบริบาลสุขภาพ (resource allocation in the health care system)
26. แง่มุมเชิงจริยธรรมเกี่ยวกับพันธุศาสตร์ (ethical aspects of genetics)
27. ภาวะยุ่งยากใจทางจริยธรรมที่นักศึกษาแพทย์ประสบ (ethical dilemmas facing medical students)
28. ความเป็นวิชาชีพ (professionalism)
หมายเหตุ ข้อ1-8 ระดับปรีคลินิก / ข้อ 9-21 ระดับคลินิก / ข้อ 22-25 ระดับแพทย์เวชปฏิบัติ / ข้อ 26-28 ทุกระดับตลอดหลักสูตร
จ. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
86
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้เรื่องกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถระบุปัญหา
วิเคราะห์ และให้แนวทางปฏิบัติที่มีประเด็นเกี่ยวข้องกับกฎหมายดังนี้
๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิหน้าที่ของปวงชนชาวไทย การแพทย์
และการสาธารณสุขของประเทศ ได้แก่
หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๔, ๕ และ ๖
หมวด ๓ สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป มาตรา ๒๘ และ ๒๙
ส่วนที่ ๒ ความเสมอภาค มาตรา ๓๐
ส่วนที ๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล มาตรา ๓๒
ส่วนที่ ๔ บทบาทในกระบวนการยุติธรรม มาตรา ๓๙
ส่วนที่ ๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ มาตรา ๕๑
ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน มาตรา ๕๖-๖๒
ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม มาตรา ๖๔
หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ส่วนที่ ๔ แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา ๘๐
๒. หลักกฎหมายทั่วไป ได้แก่
๒.๑ ความหมายและที่มาของกฎหมาย
๒.๒ วิวัฒนาการของกฎหมาย
๒.๓ ประเภทและศักดิ์ของกฎหมายไทย และ
๒.๔ สุภาษิตกฎหมายที่สาคัญ
๓. ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค ๑ บทบัญญัติทั่วไป ได้แก่
๓.๑ นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โดยทุจริต ใช้กาลังประทุษร้าย อาวุธ เอกสาร (มาตรา ๑)
๓.๒ การใช้กฎหมาย การตีความและการอุดช่องว่างในกฎหมาย (มาตรา ๒ ประกอบ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔)
๓.๓ ขอบเขตที่กฎหมายใช้บังคับ(มาตรา ๔)
๓.๔ โทษทางอาญา (มาตรา ๑๘) วิธีการเพื่อความปลอดภัย (มาตรา ๓๙)
๓.๕ ความรับผิดทางอาญาจากการกระทาโดยเจตนา ไม่เจตนา หรือโดยประมาท (มาตรา ๕๙ ) สาคัญผิด
(มาตรา ๖๑-๖๒) การรับโทษหนักขึ้นต้องเกิดจากผลธรรมดา (มาตรา ๖๓)
๓.๖ ความจาเป็นที่ต้องรู้กฎหมาย (มาตรา (๖๔)
๓.๗ เหตุยกเว้นโทษเนื่องจากวิกลจริต (มาตรา ๖๕) มึนเมา (มาตรา ๖๖) การกระทาความผิดด้วยความ
จาเป็น (มาตรา ๖๗) และเหตุบรรเทาโทษ (มาตรา ๗๘)
๓.๘ การพยายามกระทาความผิด (มาตรา ๘๐-๘๒)
๓.๙
ตัวการและผู้สนับสนุน (มาตรา ๘๓-๘๘)
๓.๑๐ อายุความ (มาตรา ๙๕-๙๖)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
87
๓.๑๑ บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ (มาตรา ๑๐๒-๑๐๖)
ภาค ๒ ความผิด ได้แก่
๓.๑๒ การแสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา ๑๔๕)
๓.๑๓ ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ (มาตรา ๑๔๘-๑๕๐, ๑๕๗-๑๕๙, ๑๖๑-๑๖๒)
๓.๑๔ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๖๘-๑๗๑, ๑๗๗-๑๗๙)
๓.๑๕ ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร (มาตรา ๒๖๔-๒๖๕, ๒๖๘-๒๖๙)
๓.๑๖ ความผิดเกี่ยวกับเพศ (มาตรา ๒๗๖-๒๘๑)
๓.๑๗ ความผิดต่อชีวิต (มาตรา ๒๘๘, ๒๙๐-๒๙๑)
๓.๑๘ ความผิดต่อร่างกาย (มาตรา ๒๙๕, ๒๙๗ และ ๓๐๐)
๓.๑๙ ความผิดฐานทาให้แท้งลูก (มาตรา ๓๐๑-๓๐๕) ประกอบข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การ
ปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์
๓.๒๐ ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนปุวย หรือคนชรา (มาตรา ๓๐๗ และ ๓๐๘)
๓.๒๑ ความผิดต่อเสรีภาพ (มาตรา ๓๐๙-๓๑๐)
๓.๒๒ ความผิดฐานเปิดเผยความลับ (มาตรา ๓๒๓) ประกอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. ๒๕๔๐
(มาตรา ๑๕, ๒๔-๒๕)
๓.๒๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท (มาตรา ๓๒๖)
ภาค ๓ ลหุโทษ ได้แก่
๓.๒๔ ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนปุวย หรือคนชรา (มาตรา ๓๗๓)
๓.๒๕ การไม่ช่วยผู้ตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต (มาตรา ๓๗๔)
๓.๒๖ ความผิดต่อร่างกาย (มาตรา ๓๙๐)
๔. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้แก่
๔.๑ สภาพบุคคล (มาตรา ๑๕) นิติบุคคล (มาตรา ๖๕)
๔.๒ ความสามารถของบุคคล ได้แก่ ผู้เยาว์ บุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ
และคนเสมือนไร้ความสามารถ (มาตรา ๑๙-๒๕, ๒๘-๓๐, ๓๒-๓๔)
๔.๓ นิติกรรม (มาตรา ๑๔๙-๑๕๓) โมฆะกรรม โมฆียะกรรม (มาตรา ๑๗๒-๑๗๓, ๑๗๕-๑๗๖)
และการแสดงเจตนาอันเป็นโมฆะ หรือโมฆียะ (มาตรา ๑๕๔, ๑๕๖-๑๕๗, ๑๕๙, ๑๖๒, ๑๖๔ และ ๑๖๗)
๔.๔ การก่อให้เกิดสัญญา การตีความ และผลแห่งสัญญาที่ทาความตกลงไว้ล่วงหน้าเพื่อยกเว้นความรับ
ผิดอันเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (มาตรา ๓๖๘, ๓๗๓)
๔.๕ ความรับผิดเพื่อละเมิด (มาตรา ๔๒๐, ๔๒๕-๔๒๖, ๔๓๒) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด
(มาตรา ๔๓๘, ๔๔๓-๔๔๖) นิรโทษกรรม (มาตรา ๔๔๙) ประกอบพระราชบัญญัติความรับผิดทาง
ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ (มาตรา ๕-๘)
๔.๖ เอกเทศสัญญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (มาตรา ๕๘๗-๕๙๒, ๖๐๗)
๔.๗ บทบาทของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการสมรส ได้แก่ เงื่อนไขแห่งการสมรส (มาตรา ๑๔๔๙, ๑๔๕๓)
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยามาตรา (มาตรา ๑๔๖๒-๑๔๖๔)
การสิ้นสุดแห่งการสมรส
(มาตรา ๑๕๐๑, ๑๕๑๖)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
88
๔.๘ บทบาทของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบิดา มารดา กับบุตร (มาตรา ๑๕๔๕, ๑๕๕๕)
๔.๙ บทบาทของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการเรื่องมรดก ได้แก่ การเป็นทายาท (มาตรา ๑๖๐๔) พินัยกรรม
(มาตรา ๑๖๕๔, ๑๖๕๖, ๑๖๖๕, ๑๖๖๘, ๑๗๐๔)
๕. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้แก่
๕.๑ ลักษณะ ๒ การสอบสวน หมวด ๑ การสอบสวนสามัญ (มาตรา ๑๓๒)
๕.๒ ลักษณะ ๒ การสอบสวน หมวด ๒ การชันสูตรพลิกศพ (มาตรา ๑๔๘-๑๕๖) พระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปร่วมชันสูตรพลิกศพตามมาตรา ๑๔๘(๓)(๔)
และ (๕) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๕๕๐ และพระราชกฤษฎีกาขยาย
ระยะเวลาบังคับใช้มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา(ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๐
๖. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้แก่ การมาศาลของ
พยานและการซักถามพยาน (มาตรา ๑๐๖, ๑๐๙-๑๑๔, ๑๑๖-๑๑๙ และ ๑๒๑)
๗. พระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ การรายงานคนเกิดและคนตาย (มาตรา ๑๘, ๒๑ และ ๒๓)
๘. คาประกาศสิทธิของผู้ปุวย สิทธิเด็ก สิทธิของผู้พิการหรือทุพพลภาพ และสิทธิมนุษยชน
๙. พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ ข้อบังคับหรือประกาศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ข้อบังคับแพทย
สภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกาศแพทยสภา ฉบับที่ ๗/๒๕๕๔ เรื่อง
หลักเกณฑ์และวิธีการวินิจฉัยสมองตาย
๑๐. กฎหมายสาธารณสุข ประกาศและกฎกระทรวง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและปูองกันโรค ได้แก่
 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๒๓
 พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. ๒๕๒๕ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๘
 พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. ๒๕๓๕
๑๑. กฎหมายสาธารณสุขในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการคุ้มครองอนามัย การกาหนดประเภท
การควบคุมการผลิต การนาเข้า การขึ้นทะเบียน การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง การส่งออก การนาผ่าน
และการโฆษณา ตามพระราชบัญญัติต่อไปนี้
 พระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๑๘ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๒๒ ฉบับที่ ๔ พ.ศ.
๒๕๒๗ ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๓๐
 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒
 พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ. ๒๕๓๕
 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๘ ฉบับที่ ๓
พ.ศ. ๒๕๓๐ ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๔๓ ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๔๕
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
89
 พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๘ ฉบับที่ ๓ พ.ศ.
๒๕๓๐ ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๔๓
 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๘ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ฉบับที่ ๓ พ.ศ.
๒๕๕๑
๑๒. กฎหมายสาธารณสุขในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและสถานบริการสาธารณสุข ได้แก่
 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๐
 พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๗
 พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๓. กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรสาธารณสุข ในส่วนของความหมาย คาจากัดความ ข้อจากัดและ
เงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพฯ ได้แก่
 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๐
 พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗
 พระราชบัญญัติวิชาชีพทันตกรรม พ.ศ. ๒๕๓๗
 พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๗
 พระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์พ.ศ. ๒๕๔๗
 พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบาบัด พ.ศ. ๒๕๔๗
๑๔. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการและการคุ้มครองสิทธิของบุคคลกลุ่มต่างๆ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม ได้แก่
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๒๒ ฉบับที่ ๒ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๑
 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ฉบับที ๒ พ.ศ. ๒๕๓๗ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๒
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับที่ ๓ พ.ศ.
๒๕๔๐ ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๐ ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๑พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที ๒ พ.ศ. ๒๕๒๒ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๒๙ ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๓๕ ฉบับที่ ๕ พ.ศ.
๒๕๓๘ ฉบับที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๕๐
 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๓
 พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
 พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑
 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑) ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๕๓ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
๑๕. หลักสากล และกฎบัตรที่สาคัญเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่
 Hippocratic Oath,
 International Codes of Medical Ethics
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
90



Declaration of Geneva อย่างเคร่งครัด และ
Ottawa Charter
Bangkok Charter
จึงขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน
ประกาศ ณ วันที่ 24 มกราคม 2555
(นายแพทย์อานาจ กุสลานันท์)
นายกแพทยสภา
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
91
รายนามคณะอนุกรรมการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ของแพทยสภา พ.ศ. 2555
1. นายแพทย์สมศักดิ์
คณะอนุกรรมการ
2. แพทย์หญิงประสบศรี
3. แพทย์หญิงอนงค์
4. นายแพทย์สมศักดิ์
5. นายแพทย์สุรพล
6. แพทย์หญิงปรียานุช
7. นายแพทย์ธัญญพงษ์
8. แพทย์หญิงนันทนา
9. นายแพทย์มาโนช
10. แพทย์หญิงสุปรียา
11. แพทย์หญิง ม.ร.ว จันทรนิวัทธ์
12. แพทย์หญิงสายพิณ
13. นายแพทย์วินัย
14. นายแพทย์สมพล
15. แพทย์หญิงสฤกพรรณ
16. นายแพทย์พิศาล
17. แพทย์หญิงรัตนวดี
18. แพทย์หญิงผกากรอง
19. แพทย์หญิงปรียาพันธ์
20. แพทย์หญิงวัลลี
21. นายแพทย์โยธี
22. นายแพทย์สรรัตน์
23. นายแพทย์ศุภกร
24. นายแพทย์สมรัตน์
25. นายแพทย์สมชาย
เลขานุการ
โล่หเ์ ลขา
ประธาน
อึ้งถาวร
อนุกรรมการ
เพียรกิจกรรม
อนุกรรมการ
เจริญชัยปิยกุล
อนุกรรมการ
กอบวรรธนะกุล
อนุกรรมการ
แย้มวงษ์
อนุกรรมการ
ณ นคร
อนุกรรมการ
ศิริทรัพย์
อนุกรรมการ
โชคแจ่มใส
อนุกรรมการ
วงษ์ตระหง่าน
อนุกรรมการ
เกษมสันต์
อนุกรรมการ
หัตถีรัตน์
อนุกรรมการ
วนานุกูล
อนุกรรมการ
พงศ์ไทย
อนุกรรมการ
วิไลลักษณ์
อนุกรรมการ
ไม้เรียง
อนุกรรมการ
ณ นคร
อนุกรรมการ
ลุมพิกานนท์
อนุกรรมการ
แสงอรุณ
อนุกรรมการ
สัตยาศัย
อนุกรรมการ
ทองเป็นใหญ่
อนุกรรมการ
เลอมานุวรรัตน์
อนุกรรมการ
โรจนนินทร์
อนุกรรมการ
จารุลักษรานันท์ อนุกรรมการ
สุนทรโลหะนะกูล
อนุกรรมการและ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
92
รายนามคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
หมวดความรู้ความสามารถทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน
1. นายแพทย์สมศักดิ์
2. แพทย์หญิงประสบศรี
3. แพทย์หญิงนันทนา
4. นายแพทย์พงษ์ศักดิ์
5. นายแพทย์โยธี
6. แพทย์หญิงนิศารัตน์
7. นายแพทย์อานุภาพ
8. นายแพทย์สมชาย
9. นายแพทย์ดนัย
โล่ห์เลขา
อึ้งถาวร
ศิรทิ รัพย์
วรรณไกรโรจน์
ทองเป็นใหญ่
โอภาสเกียรติกลุ
เลขะกุล
สุนทรโลหะนะกูล
วังสตุรค
ประธานคณะอนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการและเลขานุการ
อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
93
วัตถุประสงค์ทั่วไปของวิชาอายุรศาสตร์
เมื่อผ่านการศึกษาวิชาอายุรศาสตร์ทุกชั้นปี ซึ่งเริ่มตั้งแต่วิชาบทนาทางคลินิกในปลายปีที่ 3 ภาคทฤษฎี และ
ภาคปฏิบัติต่อเนื่องกันในปีที่ 4 เป็นเวลา 10 สัปดาห์ ในปีที่ 5 เป็นเวลา 6 สัปดาห์ และ ในปีที่ 6 อีก 8
สัปดาห์แล้ว บัณฑิตแพทย์สามารถ
1. ระบุปัญหาสุขภาพและลาดับความสาคัญของปัญหาการเจ็บป่วยทางอายุรศาสตร์ของประชากรไทยได้
2. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย แปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วินิจฉัยปัญหาและวินิจฉัยแยกโรคที่พบ
บ่อยได้ตามเกณฑ์ที่แพทยสภากาหนด
และอธิบายแนวทางการรักษาที่ถูกต้อง รวมทั้งแนวทางการ
บาบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพและป้องกันโรคได้
3. มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้งระดับพื้นฐานและระดับคลินิก
สามารถค้นคว้า
เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนาไปประยุกต์ในการตรวจวินิจฉัยและบาบัดรักษาผู้ป่วย ตลอดจน
วางแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยได้อย่างถูกต้อง
4. มีความสามารถในการทาหัตถการและใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย โดยรู้ข้อ
บ่งชี้ในการตรวจ เข้าใจวิธีการตรวจ สามารถทาได้ด้วยตนเอง และแปลผลได้อย่างถูกต้อง และรู้จักการ
เตรียมผู้ป่วยเพื่อการตรวจวินิจฉัยนั้น ๆ
5. ให้การวินิจฉัยภาวะฉุกเฉินทางอายุรศาสตร์ สามารถให้การรักษาเบื้องต้นได้
6. ส่งเสริมและบารุงรักษาสุขภาพ ป้องกันโรค แนะนาการดูแลการเจ็บป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ตลอดจนแนะ
แนวทางในการแก้ไขความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพของประชากรไทยได้ โดยเน้นการมองปัญหาผู้ป่วย
แบบองค์รวม
7. ตระหนักความสาคัญ และสามารถสร้างสัมพันธภาพ ตลอดจนสื่อสารกับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และ
ผู้ร่วมงาน ด้วยทักษะการติดต่อสื่อสารพื้นฐาน และการสื่อสารเฉพาะเรื่องได้เหมาะสม
8. นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานและจิตเวชศาสตร์มาใช้ควบคู่กับการดูแลรักษาโรคทางกาย
สามารถให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติได้
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
94
9. ตระหนักความสาคัญของการให้บริการสาธารณสุขเชิงรุกทั้งในสถานพยาบาลและในชุมชน เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและชุมชน
10.ศึกษาหาความรู้จากวิทยาการใหม่ๆ ด้วยตนเองอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ
อย่างต่อเนื่องและนาไปปรับปรุงการให้บริการทางการแพทย์
11.มีวินัย ความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย
12.ประเมินและยอมรับข้อบกพร่องของตนเองและปรับปรุงแก้ไข
13.ตระหนักในการประเมินขีดความสามารถตนเองและสถานพยาบาลที่ตนเองปฏิบัติงาน
ผู้ป่วยให้ผู้เชี่ยวชาญได้อย่างเหมาะสม
เพื่อที่จะส่งต่อ
14.ปฏิบัติวิชาชีพได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายและจรรยาแพทย์
15.ตระหนักความสาคัญของพฤตินิสัย เจตคติ คุณธรรมและจริยธรรมต่อวิชาชีพ
16.แสดงเจตคติ มีค่านิยม จรรยาบรรณ และมารยาทที่เหมาะสมแห่งวิชาชีพโดย
o
o
o
o
o
o
o
o
ประยุกต์ความรู้ทางวิชาชีพ พฤติกรรมศาสตร์ หลักเศรษฐศาสตร์ ในการดูแลและให้บริการ
ด้านสุขภาพต่อผู้ป่วย
แสดงเจตคติที่ดีต่อการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมแก่ประชาชนทุกระดับ
แสดงออกซึ่งความรับผิดชอบและความสามารถในการตัดสินใจ
ยอมรับข้อผิดพลาดของตนเองและพยายามแก้ไข
ทางานร่วมกับผู้อื่นในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้
มีเจตคติในการพัฒนาคุณภาพงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติตามข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม
ซื่อสัตย์สุจริต ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
95
วัตถุประสงค์ของรายวิชาอายุรศาสตร์ 601
เมื่อสิ้นสุดการศึกษาในชั้นปีที่ 6 แล้ว นักศึกษาแพทย์สามารถ
1. ระบุปัญหาสุขภาพและ ลาดับความสาคัญของปัญหาการเจ็บป่วยทางอายุรศาสตร์ของประชากรไทยใน
เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนใต้ได้
2. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย แปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วินิจฉัยปัญหาและวินิจฉัยแยกโรคที่พบ
บ่อยได้ตามเกณฑ์ที่แพทยสภากาหนด และอธิบายแนวทางการรักษาที่ถูกต้องรวมทั้งแนวทางการ
บาบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพและป้องกันโรคได้
3. ให้การวินิจฉัยภาวะฉุกเฉินทางอายุรศาสตร์ สามารถให้การรักษาเบื้องต้นได้
4. ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจ ตรวจวินิจฉัยและบาบัดรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และ
ทันท่วงที
5. ส่งเสริมและบารุงรักษาสุขภาพ ป้องกันโรค แนะนาการดูแลการเจ็บป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ตลอดจนแนะ
แนวทางในการแก้ไขความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพของประชากรไทยได้ โดยเน้นการมองปัญหาผู้ป่วย
แบบองค์รวม
6. ตระหนักความสาคัญของการให้บริการสาธารณสุขเชิงรุกทั้งในสถานพยาบาลและในชุมชน เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและชุมชน
7. ตระหนักความสาคัญ และสร้างสัมพันธภาพ ตลอดจนสื่อสารกับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และผู้ร่วมงาน ด้วย
ทักษะการติดต่อสื่อสารพื้นฐาน และการสื่อสารเฉพาะเรื่องได้เหมาะสม
8. ศึกษาหาความรู้จากวิทยาการใหม่ๆ ด้วยตนเองอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ
อย่างต่อเนื่องและนาไปปรับปรุงการให้บริการทางการแพทย์
9. ตระหนักในการประเมินขีดความสามารถตนเองและสถานพยาบาลที่ตนเองปฏิบัติงาน เพื่อที่จะ ส่งต่อ
ผู้ป่วยให้ผู้เชี่ยวชาญได้อย่างเหมาะสม
10. ประยุกต์ความรู้ทางวิชาชีพ พฤติกรรมศาสตร์ หลักเศรษฐศาสตร์ ในการดูแลและให้บริการด้าน
สุขภาพต่อผู้ป่วย และมีเจตคติในการพัฒนาคุณภาพงานอย่างมีประสิทธิภา
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
96
11. ปฏิบัติวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามกฎหมายและจรรยาแพทย์
o การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต มาตรา 157
o ความผิดฐานเปิดเผยความลับผู้ป่วย มาตรา 323 ประกอบพระราชบัญญัติข้อมู ]ข่าวสาร
ของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 15, 24 และ 25
12. ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยตระหนักถึง คาประกาศสิทธิผู้ป่วย คาประกาศสิทธิผู้พิการหรือทุพพล
ภาพ และปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
13. มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติวิชาชีพได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.
2523
กฎกระทรวงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้แก่ การรายงานโรค การควบคุมและ
ป้องกันโรค
14. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2530
15. ปฏิบัติวิชาชีพเวชกรรมโดยยึดหลัก คาปฏิญาณของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม Hippocratic Oaths,
International Codes of Medical Ethics และ Declaration of Geneva โดยเคร่งครัด
16. แสดงเจตคติ คุณธรรม และจริยธรรมแห่งวิชาชีพโดย
o พฤตินิสัยในการทางาน (work habits) และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ
 ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อการนัดหมาย
 รับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย
 รู้ขีดจากัดความสามารถของตน
 ยอมรับข้อผิดพลาดของตนเองและพยายามแก้ไข
 ทางานร่วมกับผู้อื่นในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้
o เคารพในสิทธิของผู้ป่วย
o แสดงเจตคติที่ดีต่อการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมแก่ประชาชนทุกระดับ
o มีคุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสมต่อการประกอบวิชาชีพแพทย์
o ซื่อสัตย์สุจริตในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
97
วัตถุประสงค์รายวิชาอายุรศาสตร์ 602
เมื่อสิ้นสุดการศึกษาในชั้นปีที่ 6 นักศึกษาแพทย์ต้องสามารถ
1. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย แปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วินิจฉัยปัญหาและวินิจฉัยแยกโรคที่พบ
บ่อยได้ตามเกณฑ์ที่แพทยสภากาหนด
และอธิบายแนวทางการรักษาที่ถูกต้องรวมทั้งแนวทางการ
บาบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพและป้องกันโรคได้
2. บอกข้อบ่งชี้ ขั้นตอนวิธีการทา บอกภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น และสามารถทาได้ด้วยตนเอง
ดังต่อไปนี้


Endotracheal intubation
Advanced cardio-pulmonary resuscitation
3. บอกข้อบ่งชี้ ขั้นตอนวิธีการทา บอกภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง สามารถทาภายใต้การ
แนะนาได้ถูกต้อง และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะแล้วต้องสามารถทาได้ด้วยตนเอง



Venesection
Intercostal drainage
Joint aspiration
4. บอกข้อบ่งชี้ หลักการ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้ถูกต้อง
ดังต่อไปนี้





Diagnostic liver percutaneous biopsy
Diagnostic kidney percutaneous biopsy
Pleural biopsy
Peritoneal dialysis
Bone marrow aspiration
5. บอกข้อบ่งชี้ หลักการ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด สามารถให้คาแนะนาเพื่อเป็นแนวทางในการส่งต่อ
ผู้ป่วยต่อไปได้อย่างเหมาะสม และสาหรับให้คาแนะนา ปรึกษาแก่ผู้ป่วย






Hemodialysis
Gastrointestinal endoscopy
Bronchoscopy
Paracenthesis : pericardium
Bone marrow biopsy
Organ transplantation
6. ให้การวินิจฉัยภาวะฉุกเฉินทางอายุรศาสตร์
สามารถให้การรักษาเบื้องต้นได้ ใช้วิจารณญาณในการ
ตัดสินใจ ตรวจวินิจฉัยและบาบัดรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และทันท่วงที
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
98
7. ส่งเสริมและบารุงรักษาสุขภาพ ป้องกันโรค แนะนาการดูแลการเจ็บป่วยต่อเนื่องที่บ้าน ตลอดจนแนะ
แนวทางในการแก้ไขความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพของประชากรไทยได้ โดยเน้นการมองปัญหาผู้ป่วย
แบบองค์รวม
8. ตระหนักความสาคัญของการให้บริการสาธารณสุขเชิงรุกทั้งในสถานพยาบาลและในชุมชน เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและชุมชน
9. ตระหนักความสาคัญ และสร้างสัมพันธภาพ ตลอดจนสื่อสารกับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และผู้ร่วมงาน ด้วย
ทักษะการติดต่อสื่อสารพื้นฐาน และการสื่อสารเฉพาะเรื่องได้เหมาะสม
10. ตระหนักในการประเมินขีดความสามารถตนเองและสถานพยาบาลที่ตนเองปฏิบัติงาน เพื่อที่จะ ส่งต่อ
ผู้ป่วยให้ผู้เชี่ยวชาญได้อย่างเหมาะสม
11. ประยุกต์ความรู้ทางวิชาชีพ พฤติกรรมศาสตร์ หลักเศรษฐศาสตร์ ในการดูแลและให้บริการด้าน
สุขภาพต่อผู้ป่วย และมีเจตคติในการพัฒนาคุณภาพงานอย่างมีประสิทธิภาพ
12. ปฏิบัติวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามกฎหมายและจรรยาแพทย์
o การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต มาตรา 157
o ความผิดฐานเปิดเผยความลับผู้ป่วย มาตรา 323 ประกอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 15, 24 และ 25
13. ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยตระหนักถึง คาประกาศสิทธิผู้ป่วย คาประกาศสิทธิผู้พิการหรือทุพพลภาพ
และปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
14. มีความรู้ความเข้าใจแนวทางบันทึกเวชระเบียนสาหรับแพทย์
15. ปฏิบัติวิชาชีพเวชกรรมโดยยึดหลัก คาปฏิญาณของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม Hippocratic Oaths,
International Codes of Medical Ethics และ Declaration of Geneva โดยเคร่งครัด
16. แสดงเจตคติ คุณธรรม และจริยธรรมแห่งวิชาชีพโดย
o พฤตินิสัยในการทางาน (work habits) และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ





o
o
o
o
ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อการนัดหมาย
รับผิดชอบต่อผู้ป่วยและงานที่ได้รับมอบหมาย
รู้ขีดจากัดความสามารถของตน
ยอมรับข้อผิดพลาดของตนเองและพยายามแก้ไข
ทางานร่วมกับผู้อื่นในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้
เคารพในสิทธิของผู้ป่วย
แสดงเจตคติที่ดีต่อการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมแก่ประชาชนทุกระดับ
มีคุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสมต่อการประกอบวิชาชีพแพทย์
ซื่อสัตย์สุจริตในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
99
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ปฐมนิเทศ
สถานที่
: ห้องประชุมธัญญเศรษฐ์ ชั้น 8 อาคาร 8 ชั้น
วัน / เวลา : วันแรกของการขึ้นปฏิบัติงานที่ภาควิชาอายุรศาสตร์ ตั้งแต่เวลา 08.00 น.
วัตถุประสงค์ :
 แจ้งวัตถุประสงค์สาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6
 แจ้งการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย
 แจ้งวัตถุประสงค์การตรวจคลินิกผู้ป่วยนอก
 แจ้งวัตถุประสงค์การอยู่เวร
 แจ้งกระบวนการประเมินผล
หัวข้อการเรียนรู้
เนื้อหาวิชาตามเกณฑ์มาตรฐานแพทยสภาวิชาอายุรศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6
ตารางการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงาน
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
100
การจัดการเรียนรู้ และการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ
Service round
จุดมุ่งหมาย : เพื่อนักศึกษาจะได้ฝึกทักษะการติดต่อสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย ฝึกการ
รวบรวมข้อมูลจากประวัติ การตรวจร่างกาย การส่งตรวจเพิ่มเติม การวินิจฉัยโรค การดูแลรักษาและการให้
คาแนะนาผู้ป่วย
วิธีการ : ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยอายุรกรรมโดยนักศึกษาจะถูกจัดแบ่งร่วมกับนักศึกษาแพทย์ปีที่ 6 จากรพ.
รามาธิบดี โดยแบ่งเป็น 9 สาย โดยอยู่ในความดูแลของอาจารย์แพทย์, แพทย์ประจาบ้าน, แพทย์พี่เลี้ยง
หรือแพทย์เพิ่มพูนทักษะ
เวลา : เริ่ม ward round ตั้งแต่เวลา 6.30 น โดยขึ้นมาดูผู้ป่วยก่อน นักศึกษาแพทย์ปี 6 จะต้องนาเสนอ
รายงานผู้ป่วย การเปลี่ยนแปลงทางคลินิกของผู้ป่วย ประเมินอาการผู้ป่วย และวางแผนการรักษา ภายใต้
การกากับดูแลของแพทย์ประจาบ้าน, แพทย์พี่เลี้ยง หรือแพทย์เพิ่มพูนทักษะ โดยอาจารย์ประจาสายเป็น
ผู้ให้คาแนะนาเพิ่มเติม
การประเมินผล
ประเมินเจตคติ( MD 6-1)
ทักษะการติดต่อสื่อสาร( MD 6-2)
การปฏิบัติงานและContinuous Internal Assessment ( MD 6-4 )
Morning report
จุดมุ่งหมาย : เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแพทย์ทุกระดับ โดยนักศึกแพทย์เป็นผู้นาเสนอข้อมูลผู้ป่วยที่
รับไว้ในโรงพยาบาลในช่วงอยู่เวร มาอภิปรายเพื่อเป็นแนวทางเรียนรู้การวินิจฉัย และวางแผนการรักษา
วิธีการ : นศพ.ปี 6 ที่อยู่เวรนาเสนอผู้ป่วยที่รับไว้ในขณะปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 2 ราย โดยนาเสนอ
ประวัติ ตรวจร่างกาย สรุปปัญหา approach ปัญหา ให้การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค การส่งตรวจที่
จาเป็น แนวทางการรักษาเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย โดยมีแพทย์ประจาบ้านและอาจารย์ร่วมอภิปรายด้วย
เวลา : ทุกวันราชการ เริ่ม 10.00 น. – 11.00 น.
การประเมินผล
ประเมินทักษะการแก้ปัญหาผู้ป่วย (MD 6-7)
Continuous Internal Assessment
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
101
Ward work
จุดมุ่งหมาย : เพื่อฝึกทักษะการติดต่อสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย การดูแลรักษา การให้
คาแนะนาผู้ป่วย การส่งปรึกษาผู้ป่วย การปฏิบัติหัตถการ และการทางานเป็นทีมร่วมกับบุคคลากรอื่นๆ ใน
หอผู้ป่วย
วิธีการ : หลังเสร็จ Morning report นักศึกษาอยู่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย ทาหัตถการต่างๆ ภายใต้การ
ดูแลของแพทย์ประจาบ้านและอาจารย์ ติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการทางคลินิก ส่งปรึกษาผู้ป่วย ให้
คาแนะนาผู้ป่วยและญาติ กาหนดวันนัดติดตามอาการผู้ป่วย สรุปรายงานผู้ป่วยและเวชระเบียน
 หัตถการสาหรับนักศึกษาแพทย์ปี 6 ดูใน ภาคผนวก และ log book
 นักศึกษาควรได้ปฏิบัติอย่างน้อยตามเกณฑ์มาตรฐานของแพทยสภา
 ควรศึกษาวิธีการทาหัตถการด้วยตนเองก่อนจากหนังสือคู่มือหัตถการ
และปรึกษาแพทย์ประจาบ้านและอาจารย์ก่อนทาหัตถการทุกครั้ง
การประเมินผล
ประเมิน Manual skills โดยใช้แบบประเมิน (MD 6-9, 6-10 และ 6-11)
การสอบปากเปล่า โดยหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์
การสอบ long case (ตามมาตรฐานของแพทยสภา) โดยใช้แบบประเมิน (MD 6-8)
ประเมินจาก Log book (MD 6-6)
Continuous Internal Assessment
Consultation round
จุดมุ่งหมาย : เพื่อให้นักศึกษาแพทย์ได้มีทักษะในการนาเสนอข้อมูลผู้ป่วย ระบุปัญหา อภิปรายปัญหา
และประเด็นปรึกษา กับอาจารย์แพทย์ในแต่ละสาขา
วิธีการ : ในระหว่างปฏิบัติงาน เมื่อผู้ป่วยในสายมีความจาเป็นต้องส่งปรึกษาอาจารย์แพทย์เฉพาะ
ทางด้านต่างๆ ทั้งในและนอกแผนก นักศึกษาจะต้องเตรียมรายงานอาจารย์ในประเด็นที่ส่งปรึกษา
การประเมินผล :
ภาคทฤษฎี
Problem solving skills
Continuous Internal Assessment
Communication skill (MD 6-2)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
102
Interesting cases
จุดมุ่งหมาย : เพื่อให้นักศึกษาแพทย์ได้ฝึกทักษะการนาเสนอข้อมูลกรณีผู้ป่วยที่น่าสนใจโดย slide
presentation ศึกษาค้นคว้าจากตารา และ group disscussion
วิธีการ : นักศึกษาแพทย์แบ่งกลุ่มหมุนเวียนกันนาเสนอผู้ป่วยที่น่าสนใจที่ตนรับไว้ในความดูแล โดยทั้งกลุ่ม
ร่วมกัน อภิปรายในรายละเอียด โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษา
การประเมินผล :
Communication skill ( MD 6-12 )
Grand round
จุดมุ่งหมาย : เพื่อให้นักศึกษาแพทย์มีความรู้ทางอายุรศาสตร์ก้าวหน้าเชิงลึก ในแขนงต่างๆ
วิธีการ : อาจารย์แพทย์ในแต่ละสาขาจะเป็นผู้เตรียมหัวข้อบรรยายซึ่งอาจมีตัวอย่างผู้ป่วยประกอบและ
นาเข้าสู่การอภิปราย/ บรรยายทุกวันศุกร์เวลา 14.00-15.30 น.
การประเมินผล :
โดยการสอบภาคทฤษฎี
Interdepartmental conferences
จุดมุ่งหมาย : เป็นการเรียนการสอนแบบผสมผสานร่วมกับอาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลายแผนกเช่น
ศัลยกรรม และรังสี เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วย
วิธีการ :นาเสนอประวัติผู้ป่วยที่น่าสนใจและร่วมกันอภิปราย
GI Medical – Surgical conference
ทุกพุธที่ 1 ของเดือน เวลา 14.00-15.00 น.
GI - X – Ray conference
ทุกพุธที่ 2 ของเดือน เวลา 13.30-15.00 น.
Chest - X – Ray conference และ Neuro- X – Ray conference
* เวลาอาจมีการปรับเปลี่ยนให้ติดตามดูเมื่อขึ้นปฏิบัติงานในภาควิชา
การประเมินผล :
การสอบภาคทฤษฎี
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
103
Interesting case (Intern & Resident)
จุดมุ่งหมาย : เพื่อการพัฒนาความรู้ทางวิชาการสาหรับแพทย์เพิ่มพูนทักษะและแพทย์ประจาบ้าน โดย
การนาเสนอปัญหาและอภิปรายผู้ป่วย และทบทวนบทความทางวิชาการเกี่ยวกับประเด็นที่น่าสนใจ
เวลา : ทุกวันอังคาร 10.30-12.00 น.
(นักศึกษาแพทย์ที่สนใจเข้าร่วมฟังได้หลังจากปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย)
Mortality conferences
จุดมุ่งหมาย : อภิปรายกรณีผู้ป่วย การวินิจฉัย การรักษาและผลการตรวจชันสูตร เพื่อพัฒนาความรู้ทาง
วิชาการและประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย สาหรับแพทย์เพิ่มพูนทักษะ และแพทย์ประจาบ้าน
วิธีการ : อาจารย์ภาควิชาพยาธิกายวิภาคเข้าร่วม อภิปรายผลชันสูตรจากการทา autopsy หรือ
Necropsy
เวลา : กาหนดการจะมีแจ้งเมื่อปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย
(นักศึกษาแพทย์ที่สนใจเข้าร่วมฟังได้หลังจากปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย)
Faculty hour (Hospital activity)
จุดมุ่งหมาย : เพื่อให้นักศึกษาแพทย์และแพทย์ประจาบ้าน ได้มีความรู้ทางเวชปฏิบัติก้าวหน้าในสาขา
ต่างๆและความรู้ทั่วไปในการดารงชีวิต
วิธีการ : กิจกรรมที่ฝ่ายวิชาการโรงพยาบาลจัดโดยมีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากทั้งใน
โรงพยาบาลและสถานศึกษาต่างๆ
เวลา : วันพฤหัส เวลา 13.30-16.00 น.
การประเมินผล :
ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับอายุรศาสตร์ โดยการสอบภาคทฤษฎี
OPD อายุรกรรม
จุดมุ่งหมาย : ฝึกทักษะการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย และฝึก
การเขียนบันทึก OPD card
วิธีการ : นักศึกษาออกตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอกตามตารางที่กาหนด ฝึกทักษะการซักประวัติ ตรวจร่างกาย
วินิจฉัยโรค สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย วางแผนการรักษาและบันทึก OPD card โดยมีอาจารย์แพทย์ให้
คาแนะนา
เวลา : วันจันทร์, พุธ และศุกร์ เวลา
การประเมินผล :
10.30 - 12.00 น.
ประเมินการปฏิบัติงานและเจตคติ (MD 6-3)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
104
OPD โรคผิวหนัง
จุดมุ่งหมาย :เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคผิวหนังที่พบบ่อย
เวลา : วันพุธ สัปดาห์ที่ 3 และ 6 เวลา 13.00 – 14.30 น.ที่ห้องตรวจโรคผิวหนังแผนกผู้ป่วยนอก
การประเมินผล :ประเมินการปฏิบัติงานและเจตคติ (MD 6-3)
การอยู่เวร
จุดมุ่งหมาย :
1. เพื่อฝึกเจตคติ พฤตินิสัยและมรรยาททางวิชาชีพของการเป็นแพทย์ที่จะต้องรับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วย
ทั้งในและนอกเวลาราชการ
2. เพื่อฝึกปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการเร่งด่วน การวิเคราะห์ปัญหาผู้ป่วย และให้การรักษาเบื้องต้นภายใต้
การดูแลของแพทย์เพิ่มพูนทักษะ แพทย์ประจาบ้านและอาจารย์แพทย์
3. ฝึกหัตถการพื้นฐานทางที่เร่งด่วนและจาเป็น ในขณะอยู่เวร
4. Patient-oriented learning and Self-directed learning
วิธีการ :
1. อยู่เวรนอกเวลาราชการบนหอผู้ป่วยที่กาหนด โดยมีแพทย์เพิ่มพูนทักษะ แพทย์ประจาบ้านและอาจารย์
แพทย์คอยให้คาแนะนาปรึกษา
2. เริ่มรับเวรที่หอผู้ป่วยหนัก ICU 7 ซ้าย
3. รับส่งต่อการดูแลผู้ป่วยหนักและผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าติดตามอาการจากแพทย์ประจาสาย
4. การรับผู้ป่วยใหม่ต้องบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน และสั่งการรักษาโดยมีแพทย์เพิ่มพูนทักษะหรือแพทย์
ประจาบ้านคอยกากับ
5. อาจารย์แพทย์ที่อยู่เวรจะนัดหมาย ward round เวลาประมาณ 20.00 น.
6. เตรียมอภิปรายผู้ป่วย 2 รายใน Morning Report เช้าวันรุ่งขึ้นโดยปรึกษาแพทย์ประจาบ้านที่อยู่เวร
เวลา :
วันธรรมดา
วันหยุดราชการ
15.30 – 08.00 น. ของวันรุ่งขึ้น
09.30 – 08.00 น. ของวันรุ่งขึ้น
หมายเหตุ :
ในกรณีที่อยู่เวรไม่อนุญาตให้นักศึกษาแพทย์ลงเวรในตอนเช้า โดยให้อยู่ปฏิบัติงานต่อ แล้วให้ลง ward ใน
เวลาพักเที่ยง.
การประเมินผล :
ประเมินการปฏิบัติงานโดยอาจารย์และแพทย์ประจาบ้านที่อยู่เวร (MD 6-5)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
105
การสอนเจตคติ
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้นักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ด้านเจตคติตามเกณฑ์แพทยสภา
วิธีการ
สอนเจตคติสอดแทรกในภาคปฏิบัติ
การประเมินผล
Continuous Internal Assessment ประเมินเจตคติ( MD 6-1)
การสอนทักษะการติดต่อสื่อสาร
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้นักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ตามเกณฑ์แพทยสภาข้อ
วิธีการ
สอดแทรกในการปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยและ OPD
จัดชั่วโมงสอนทักษะการติดต่อสื่อสารและฝึกปฏิบัติเรื่อง
“การขอชันสูตรศพผู้ป่วย”
การประเมินผล
Continuous Internal Assessment
ประเมินทักษะการติดต่อสื่อสาร
( MD 6-2)
7, 8
การสอนจริยธรรม
จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้นักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ด้านพฤตินิสัย เจตคติ คุณธรรม
และ จริยธรรมแห่งวิชาชีพ
วิธีการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาผู้ป่วย
(ดูตารางเรียนและแผนการศึกษาจริยธรรม)
การประเมินผล
Continuous Internal Assessment ประเมินเจตคติ( MD 6-1)
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
106
แผนการศึกษา
เรื่อง ปัญหาจริยธรรมทางการแพทย์
ผู้รับผิดชอบ
นพ.สมชาย อินทรศิริพงษ์ และ นพ. ชัยวิวัฒน์ ตุงคะเสรีรักษ์
ผู้ศึกษา นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่
6
วันเวลา
สัปดาห์ที่ 2 ของการปฏิบัติงาน
สถานที่ ห้องประชุมธัญญะเศรษฐ์
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อเสร็จสิ้นการศึกษาชั่วโมงนี้แล้ว นักศึกษาสามารถ
1. วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีตัวอย่างทั้งในด้านบวกและด้านลบ
2. ประยุกต์แนวทางปฏิบัติเชิงเวชจริยศาสตร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3. ปฏิบัติตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม
4. มีคุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสมต่อการประกอบวิชาชีพแพทย์
5. ซื่อสัตย์สุจริตในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การจัดการเรียนการสอน
1.
2.
3.
4.
ตัวอย่างกรณีผู้ป่วยเชิงเวชจริยศาสตร์
ตัวอย่างกรณีแพทย์ตัวอย่างในการประกอบอาชีพ
ให้นักศึกษาอภิปรายปัญหาผู้ป่วยทั้งในด้านบวกและด้านลบ
ซักถามและสรุป
อุปกรณ์การสอน
1. Power point slide
2. Computer and LCD projector
3. เอกสารประกอบการสอน
หนังสืออ่านประกอบ
1. พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 และข้อบังคับแพทยสภา. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์; 2544
2. สุขิต เผ่าสวัสดิ์, สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล, เยื้อน ตันนิรันดร, ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ์, เฮนรี่ ไวลด์,
บรรณาธิการ. จริยธรรมในเวชปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์; 2545
3. บรรลุ ศิริพานิช. หมอกับคนไข้.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน; 2536
การประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การซักถาม การตอบคาถามของนักศึกษาระหว่างชั่วโมง
2. Continuous internal assessment ระหว่างภาคปฎิบัติ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
107
แผนการศึกษา
เรื่อง
ทักษะการติดต่อสื่อสาร (Communication skill)
“การขอชันสูตรศพผู้ป่วย(Autopsy)”
ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ประจาจากภาควิชาเวชศาสตร์สังคม
ผู้ศึกษา นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่
6
วันเวลา
สัปดาห์ที่ 5 ของการปฏิบัติงาน
สถานที่ ห้องเรียน อาคารศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ
1. ตระหนักถึงความสาคัญในการสร้างสัมพันธภาพ ตลอดจนการสื่อสารกับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วยและผู้ร่วมงาน
โดยใช้ทักษะการติดต่อสื่อสารขั้นพื้นฐาน ได้อย่างเหมาะสม
2. ประยุกต์ใช้ทักษะการติดต่อสื่อสารขั้นพื้นฐาน เพื่อขออนุญาตทาการชันสูตรศพผู้ป่วย (Autopsy) จากฐา
ติของผู้ป่วยที่เสียชีวิตได้อย่างเหมาะสม
3. นาพื้นฐานความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด้านจิตเวชศาสตร์ และด้านมนุษยวิทยาขสังคมวิทยา
มาใช้ควบคู่ในการดูแลรักษาผู้ป่วยและญาติได้อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Approach)
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ให้นักศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเข้าสู่เนื้อหาของบทเรียน (Pre-test) ประมาณ 5 นาที
2. ให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนวคิด และแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกตัวอย่างกรณีศึกษา
(Discussion in Case Study) ในประเด็นที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทั้ง 3 ข้อ ประมาณ 35 นาที
3. บรรยาย (Lecture) เนื้อหาดังนี้ (ประมาณ 10 นาที)
3.1 ทักษะการสื่อสารขั้นเบื้องต้น (Basic Communication Skills)
3.2 การยึดผู้ป่วยและญาติเป็นศูนย์กลาง (Patient & their Family Centered Approach)
3.2.1 Doctor’ s Agenda.
3.2.2 Patient’ s Agenda.
4. แนวทางการขอชันสูตรศพ (Autopsy)
4.1 ตอบข้อซักถามเพิ่มเติม ในประเด็นที่นักศึกษาซักถาม ประมาณ 5 นาที
4.2 ให้นักศึกษาทาแบบทดสอบหลังการเรียนรู้ (Post-test) ประมาณ 5 นาที
5. ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน และศึกษาเพิ่มเติมจากตาราที่ใช้อ้างอิง
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
108
สื่อการสอน
1. Slide PowerPoint
2. LCD Computer
3. เครื่องฉายทึบแสง
4. Microphone & เครื่องเสียง
5. เอกสารประกอบการสอน(Integrated Communication Skill/ Autopsy)
6. แบบทดสอบก่อนเข้าสู่เนื้อหา (Pre-test; Autopsy)
7. แบบทดสอบหลังการเรียนรู้ภาคทฤษฎี (Post-test; Autopsy)
ประเมินผล
1. องค์ประกอบพื้นฐานด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving Skills)
ความสามารถเฉพาะตน (Interpersonal Skills) และทัศนคติ (Attitude) จากการสังเกตการณ์การมีส่วน
ร่วม การเอาใจใส่ต่อกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนของนักศึกษาแพทย์ ผ่าน Discussion in Case Study
2. เก็บคะแนนสะสมจาก Pre-test, Post-test
เอกสารอ้างอิง/เอกสารอ่านประกอบ
1. ชัชวาล ศิลปกิจ. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการให้คาปรึกษา Consultation) สาขาเวชศาสตร์
ครอบครัว. คณะแพทยศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ ห้องประชุม 120 ที่นั่ง 22-23 สิงหาคม 2545.
2. พรทิพย์ โรจนสุนันท์. การชันสูตรศพ. หน้า 21-36.
3. วราวุธ สุมาวงศ์ และชัชวาลย์ ศิลปกิจ. การสื่อสารพื้นฐานและการประยุกต์ในการซักประวัติ, เอกสาร
ประกอบการเรียนรู้ Communication Skills. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี.
2545.
4. สมจิตร พฤกษะริตานนท์. แนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว. พิมพ์ครั้งที่ 5 แก้ไขครั้งที่ 1 กรรุงเทพฯ: รักษ์การ
พิมพ์, 2546.
5. สายพิณ หัตถีรัตน์. คู่มือหมอครอบครัว; เครื่องมือในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวอย่างง่าย. พิมพ์ครั้งที่ 1
กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน, มกราคม 2545.
6. Carson N, Findlay D. Communication Skills student Handbook. Melbourne: Monash
University, Department of Community Medicine, 1986:31.
7. Ian R. McWhinney. A TEXTBOOK OF FAMILY MEDICINE. Second Edition: University of Western
Ontario Canada, 1998.
8. John Murtagh. GENERAL PRACTICE. Third Edition: Monash University, Melbourne Australia,
2003.
9. Philip D. Sloane. ESSENTIALS OF Family Medicine. Third Edition. University of North Carolina
at Chapel Hill, North Carolina USA, 1998.
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
109
สื่อการเรียนการสอน






ผู้ป่วย
ห้องปฏิบัติการ
Slides
เอกสารประกอบการสอน
ตารา เอกสารอ้างอิง วารสารจากห้องสมุด CD ROM วิชาการ
Computer ห้องสมุดอายุรกรรม ห้องสมุดรพ. และข้อมูลอายุรศาสตร์บนเวบไซด์
ตาราประกอบการศึกษา
 Kasper DL, Braunwald E, Fauci AS, Hauser SL, Longo DL, Jameson JL,
editors. Harrison’s Principle of Internal Medicine. 16th ed. New
York:McGraw-Hill; 2005.
 Ahya SN, Flood K, Paranjothi S. The Washington Manual of Medical
Therapeutics. 30th ed. Philadelphia:Lippincott Williams & Wilkins; 2001
 วิทยา ศรีดามา, บรรณาธิการ. Evidence-Based Clinical Practice Guideline
ทางอายุรกรรม 2548. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย; 2548
 วิทยา ศรีดามา, บรรณาธิการ. หัตถการทางการแพทย์ ทางด้านอายุรศาสตร์. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ยูนิตี้พับลิเคชั่น; 2547
 เอกสารประกอบการเรียนการสอนอายุรศาสตร์ฉุกเฉิน ภาควิชาอายุรศาสตร์
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
110
การประเมินผล
วิชา นมอย.601
Factual Knowledge
MEQ
CRQ
Problem Solving Skill
Long Case ครั้งที่ 1
Long Case ครั้งที่ 2
Morning Report
Interesting Case
35%
35%
10%
10%
5%
5%
วิชา นมอย.602
Problem Solving Skill
การอยู่เวร
CPR
ORAL
Technical / Manual Skill
Ward Work
Log Book
OPD
Attitude
Communication Skill
15%
10%
5%
10%
30%
5%
5%
15%
5%
** ศึกษาจากแบบประเมินท้ายเล่ม **
111
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
การจัดการสอบ
วิชา
วันที่สอบ
เวลา
ประเมินระหว่างการปฏิบัติงาน
พุธสัปดาห์ที่ 6
นมอย. 601
ของการปฏิบัติงาน
พุธสัปดาห์ที่ 8
ของการปฏิบัติงาน
เครื่องมือประเมินผล
Morning report
09.00-12.00 น.
MEQ และ CRQ
09.00-12.00 น.
MCQ
สัปดาห์ที่ 3 และ 6 ของการปฏิบัติงาน/เมื่อพร้อม
Long case
Ward work/Attitude/
ระหว่างปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย
Communication skills/
การอยู่เวร/OPD
นมอย. 602
สัปดาห์ที่ 6-8 ของการปฏิบัติงาน
Technical/Manual skills
ORAL, CPR
112
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
สิทธิเพื่อการประเมิน
นักศึกษาต้องมี Attendance > 80 % จึงจะได้สิทธิเพื่อการประเมิน
ถ้าน้อยกว่า 80 % ให้สัญลักษณ์ I หรือ W (ในกรณีที่นักศึกษามาขอ drop )
รูปแบบการประเมินผล
Formative Evaluation
(การประเมินผลความก้าวหน้า ) เป็นการประเมินผลระหว่างปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้นักศึกษา
ทราบความก้าวหน้าของการเรียนรู้ทั้งความรู้ทักษะและพฤติกรรม จะได้มีโอกาสปรับปรุงตนเอง จาก
การ feedback ของอาจารย์
Summative Evaluation
(การประเมินผลรวม) การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน
 อายุรศาสตร์ 601
 สัปดาห์ที่ 6 สอบ MEQ และ CRQ
 สัปดาห์ที่ 8 สอบ MCQ
 สอบ Problem solving skill โดยใช้ Long case และรวมผล
คะแนนจากการวัดผลอย่างต่อเนื่องใน Morning report
 อายุรศาสตร์ 602
 สัปดาห์ที่ 6-8 สอบ Technical skills
 รวมผลคะแนนจากการวัดผลมาอย่างต่อเนื่องในภาคปฏิบัติเพื่อ
ตัดสินผลการศึกษา
มาตรฐานในการวัดผล
หลักสูตรอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาใช้มาตรฐานการวัดผล 2 แบบคือ

แบบอิงกลุ่ม ( Relative or Norm-referenced )
o เป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักศึกษาแต่ละคนกับความสามารถของกลุ่ม
o โดยการตัดเกรดรวมทุกกลุ่มในปลายภาคการศึกษา
o ลักษณะของคะแนนชนิดนี้จะบอกเพียงว่ามีความสามารถมากน้อยเพียงไรเมื่อเทียบ
กับกลุ่ม

แบบอิงเกณฑ์ ( Absolute or Criterion-referenced )
o เป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักศึกษาแต่ละคนกับเกณฑ์มาตรฐาน
o โดยการกาหนดเกณฑ์ความสามารถขั้นต่า ( Minimal Passing Level = MPL ) ใน
แต่ละแบบทดสอบ และคะแนนรวมของการสอบไม่ต่ากว่า 70 % จึงมีสิทธิ์ผ่าน
113
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
หลักการประเมินผลนักศึกษาแพทย์
ความรู้ทางทฤษฎี ( Factual Knowledge )
การทดสอบความรู้พื้นฐานในด้านความจา ความเข้าใจ ในการวินิจฉัยโรค การวางแผนแก้ปัญหาผู้ป่วย
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
ความสามารถทางคลินิก ( Clinical Competence )
ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคลินิก ( Problem-solving Skill ) ความสามารถในการรวบรวม
ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากการซักประวัติตรวจร่างกาย
การส่งตรวจและแปลผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการและรังสีวิทยา การประมวลปัญหาผู้ป่วย การวางแผน การวินิจฉัย การแก้ปัญหา การ
บันทึกรายงานผู้ป่วย และการใช้เหตุผลในการตัดสินใจแก้ปัญหา
ความสามารถทางหัตถการ
( Manual / Technical Skill ) ความสามารถ ในการทาการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ความสามารถ
และ เทคนิคที่เหมาะสมในการปฏิบัติตน ความสามารถในการทาหัตถการต่างๆ
เจตคติ ค่านิยม และมารยาทวิชาชีพ (Professional Attitude & Etiquette)
พฤติกรรมที่เหมาะสมสาหรับการเป็นแพทย์ที่ดี ได้แก่ความสนใจในปัญหาของผู้ป่วยทั้งด้านเศรษฐกิจ
และสังคม ตลอดจนครอบครัวและชุมชน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความสนใจในผู้ป่วยและงานที่
ได้รับมอบหมาย มีความใฝ่รู้ทางวิชาการ มีน้าใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ
ส่วนรวม มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ในกรณีที่นักศึกษาไม่ผ่านการประเมินด้าน
เจคติจะถูกตัดสิทธิ์ประเมินการสอบภาคทฎษฎีและปฏิบัติทั้งหมดด้วย
ความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย ญาติ และเพื่อนร่วมงาน
Interpersonal Skill การ Approach ผู้ป่วยและญาติที่เหมาะสม รวมทั้งการติดต่อสื่อสารและมี
สัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนนักศึกษา อาจารย์ และผู้ร่วมงาน
การตัดเกรด
การตัดเกรดโดยการอิงกลุ่มทั้งวิชาอายุรศาสตร์ 6 และอายุรศาสตร์ 7 โดยมีเครื่องมือในการวัดผลหลาย
อย่าง โดยการแบ่งน้าหนักคะแนนในแต่ละส่วนตามความสาคัญที่กาหนดไว้
การตัดเกรดโดยนาคะแนนดิบในแต่ละเครื่องมือการวัด แปลงเป็นคะแนนมาตรฐาน คือ คะแนนซี ( Zscore ) และคะแนนที ( T-score ) เมื่อได้คะแนนมาตรฐานแล้ว นามาคูณด้วยน้าหนักคะแนนในแต่ละ
เครื่องมือการวัด และรวมคะแนนทั้งหมดก่อนตัดเกรด โดยใช้ค่า Median และ SD ของ T-score มา
พิจารณาแบ่งเกรด
114
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
หลักเกณฑ์การให้คะแนน
หลักสูตรอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จะกาหนดผลที่ได้จากการวัดและการประเมิน
เป็นความหมายที่แน่ชัดโดยใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรหรือเกรดดังนี้
A
B
C
D
=
=
=
=
4
3
2
1
B+
C+
D+
F
=
=
=
=
3.5
2.5
1.5
<1
การตัดสินผล
นักศึกษาจะได้รับการตัดสินหลังการประเมินผลดังนี้
1. ผ่าน (คือได้สัญลักษณ์ A หรือ B+ หรือ B หรือ C+ หรือ C หรือ D+) เมื่อ
1.1 ผ่านในหมวดทฤษฎี นมอย 601
1.2 ผ่านในหมวดเจตคติและหมวดปฏิบัติ นมอย 602
2. ต้องรับการประเมินใหม่
2.1 ถ้าคะแนน นมอย 601 ได้รับสัญลักษณ์ D (ไม่ผ่าน) หรือต่ากว่าจะต้อง
2.1.1 สอบแก้ตัวทฤษฎี 1 ครั้ง ถ้าไม่ผ่านต้องปฏิบัติข้อ 2.1.2
2.1.2 ต้องปฏิบัติงานใหม่ 4 สัปดาห์ (อยู่ในดุลพินิจของอาจารย์ในภาควิชา)
และต้องรับการประเมินใหม่อีกครั้ง
2.2 ถ้าคะแนน นมอย 602 ได้รับสัญลักษณ์ D (ไม่ผ่าน) หรือต่ากว่าจะต้อง
ปฏิบัติงานใหม่ 4 สัปดาห์และต้องรับการประเมินใหม่อีกครั้ง
3. ต้องปฏิบัติงานเพิ่มเติมใหม่ 8 สัปดาห์ และต้องรับการประเมินใหม่อีกครั้งถ้า
หมวดเจตคติไม่ผ่าน (ได้รับสัญลักษณ์ I ) ทั้งนี้อยู่ในดุลพินิจของอาจารย์ในภาควิชา
4. ต้องซ้้าการศึกษา (ลงทะเบียนใหม่) ตลอดหลักสูตรวิชาอายุรศาสตร์ 601
อายุรศาสตร์ 602 เมื่อ
4.1 กรณีที่การปฏิบัติงานเพิ่มเติมตามหัวข้อ 2 ข้อ 3 ไม่ผ่าน (ได้สัญลักษณ์ D คง
เดิมหรือต่ากว่า)
4.2 ได้รับสัญลักษณ์ F หรือ W หรือ I
การรายงานผลสอบ
ภาควิชาอายุรศาสตร์จะประชุมตัดสินผลขั้นต้น จากนั้นจึงนาผลการตัดสินคะแนนเข้าที่ประชุม
คณะกรรมการประเมินผลศูนย์แพทยศาสตร์เพื่อพิจารณา ซึ่งในกรณีที่มีปัญหา ก่อนการรายงานผลสอบ
โดยศูนย์แพทยศาสตรศึกษาจะเป็นผู้ทารายงานผลสอบส่งให้นักศึกษา
115
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ระเบียบศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ว่าด้วยการประเมินผลการศึกษาของนักศึกษาของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก
พ.ศ. 2551
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้มอบหมายให้โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาร่วมผลิตแพทย์กับ
มหาวิทยาลัยมหิดล ตามโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท โดยให้โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาจัดการเรียน
การสอนนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคปลาย ถึงชั้นปีที่ 6 เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการ ประเมินผลให้มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จึงขอออกระเบียบการประเมินผลการศึกษาของ นักศึกษา
ของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก ตามความเห็นของคณะกรรมการประเมินผลดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกฯ ว่าด้วยการประเมินผลการศึกษา
ของนักศึกษาของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก พ.ศ. 2551”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับสาหรับนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไปหรือจนกว่าจะมีการแก้ไข
เปลี่ยนแปลง
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ว่าด้วยการประเมินผลการศึกษาของนักศึกษาของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก พ.ศ. 2549
ข้อ 4 สิทธิเพื่อการประเมินผลการศึกษาของนักศึกษา
4.1 นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดจึงจะมีสิทธิ์สอบ
4.2 นักศึกษาที่มีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด จะไม่มีสิทธิ์สอบ
4.3 นักศึกษาที่ไม่ส่ง Logbook หรือไม่ส่งรายงานรวมถึงส่งรายงานไม่ครบก่อนสอบ จะไม่มีสิทธิ์สอบ
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของภาควิชา
4.4 นักศึกษาต้องผ่านโดยได้สัญลักษณ์ S ในหมวดเจตคติและทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ
จึงจะมีสิทธิ์สอบ หากได้สัญลักษณ์ U ในหมวดนี้จะต้องเรียนซ้า
4.5 นักศึกษาต้องผ่านข้อกาหนดเพื่อการประเมินของภาควิชา
116
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
4.6 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จะสามารถขึ้นเรียนชั้นปีที่ 2 ได้ จะต้องมีแต้มเฉลี่ยสะสมในชั้นปีที่ 1 ไม่ต่า
กว่า 2.00 และไม่มีรายวิชาใดได้ F
4.7 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จะสามารถขึ้นเรียนชั้นปีที่ 3 ได้ จะต้องมี แต้มเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึง
2 ไม่ต่ากว่า 2.00 และไม่มีรายวิชาใดที่เรียนในชั้นปีที่ 1 ได้ต่ากว่า D และในชั้นปีที่ 2 และ
3 ภาคการศึกษาต้น ได้ต่ากว่า D+
4.8 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จะสามารถข้ามไปศึกษาต่อที่ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก ตามประกาศ
ไว้ จะต้องได้แต้มเฉลี่ยสะสม ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึง 3 ภาคการศึกษาต้น ไม่ต่ากว่า 2.00 และไม่มี
รายวิชาใดที่เรียนในชั้นปีที่ 2 และ 3 ได้ต่ากว่า D+
4.9 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย ถึงชั้นปีที่ 6 ต้องไม่มีรายวิชาใดที่เรียนที่ศูนย์
แพทยศาสตร-ศึกษาชั้นคลินิก ที่ได้เกรดต่ากว่า C หรือได้สัญลักษณ์ U
ข้อ 5 ระเบียบและสิ่งควรรู้สาหรับนักศึกษา
5.1 การลงโทษนักศึกษาที่ทุจริตในการสอบเป็นอานาจภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงาน
ประเมินผลและ/หรือคณะกรรมการบริหารศูนย์แพทย ศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โดยพิจารณา
ตามสมควรแก่กรณี ดังต่อไปนี้
5.1.1 พิจารณาให้ได้ F ในรายวิชาที่พยายามทุจริต โดยนาเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือใดๆ ที่
ไม่ได้รับอนุญาตเข้าห้องสอบ กรณีนี้ให้หมายรวมถึงนักศึกษาที่กระทาการหรือดาเนินการใดๆ
ให้นักศึกษาผู้อื่นคัดลอกข้อมูลด้วย
5.1.2 พิจารณาให้ได้ F ทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้น เมื่อทุจริตในการสอบ
โดยกระทาการคัดลอกหรือทาวิธีอย่างใดๆ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลเนื้อหาในการสอบ หรือจาก
นักศึกษาผู้อื่น หรือกระทาการด้วยวิธีอย่างใดๆ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลเนื้อหาในเนื้อหาข้อสอบ ของ
ตนเองด้วย
5.1.3 พิจารณาให้ได้ F ทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้น และให้พักการศึกษาใน
ภาคการศึกษาถัดไปไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา เมื่อนักศึกษากระทาการหรือดาเนินการ
ใดๆ ให้ได้มาซึ่งเนื้อหา ข้อมูลในการสอบหรือเกี่ยวข้องกับเนื้อหาในการสอบ ซึ่งความผิด
ดังกล่าวให้เป็นไปตามที่ภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงานประเมินผลและ/หรือ
คณะกรรมการบริหารศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก พิจารณาว่าเป็นความผิดหรือเป็น
ความผิดทางกฎหมายหรือระเบียบอื่นใดกาหนดไว้ โดยนักศึกษาจะถูกดาเนินคดีตาม
กฎหมายด้วย
5.1.4 รายงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดลเมื่อเห็นสมควรให้นักศึกษาที่ทุจริตในการสอบ พ้น
จากสภาพการเป็นนักศึกษา เมื่อนักศึกษากระทาการทุจริตหรือพยายามกระทาการทุจริตซ้า
หลังจากเคยได้รับการตักเตือนแล้ว
117
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ
ภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงานประเมินผลและ/หรือ
คณะกรรมการบริหารศูนย์แพทย ศาสตรศึกษาชั้นคลินิก
5.2 การลาและการขาดเรียน
5.2.1 การลาป่วย เมื่อนักศึกษาป่วยไม่สามารถปฏิบัติงานได้ให้ปฏิบัติดังนี้
5.2.1.1 แจ้งหรือให้เพื่อนนักศึกษาแจ้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบประจาสายโดยเร็วที่สุด
5.2.1.2 ส่งใบลาป่วยพร้อมแจ้งสาเหตุที่หัวหน้าภาควิชา และแจ้งนักวิชาการภาควิชา
ทราบ
5.2.1.3 นักศึกษาที่เจ็บป่วยไม่สามารถปฏิบัติงานนานกว่า 3 วันติดต่อกัน
ต้องมีใบรับรองแพทย์
5.2.2 การลากิจ นักศึกษาจะต้องปฏิบัติดังนี้
5.2.2.1 แจ้งให้อาจารย์ประจาสายทราบล่วงหน้า
5.2.2.2 ส่งใบลากิจที่หัวหน้าภาควิชาล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วันทาการ เพื่อพิจารณาว่า
ควรให้ลาหรือไม่
5.2.2.3 นักศึกษาสามารถลาได้เมื่อรับอนุมัติจากหัวหน้าภาคแล้วเท่านั้น
5.2.2.4 ถ้าวันที่ลาตรงกับวันที่นักศึกษาอยู่เวรนักศึกษาจะต้องแลกเวรล่วงหน้าให้
เรียบร้อยก่อน
5.3 การลงทะเบียนเรียนซ้า
5.3.1 ในรายวิชาที่ได้สัญลักษณ์ F หรือ W หรือได้สัญลักษณ์ U หรือคณะกรรมการประจา
คณะ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการประจาคณะเห็นว่าควรเรียนซ้า นักศึกษา
ต้องลงทะเบียนเรียนซ้า ถ้ารายวิชานั้นเป็นรายวิชาเลือกอาจเลือกลงทะเบียนเรียน
รายวิชาอื่นแทนก็ได้
5.3.2 นักศึกษาอาจขอ ลงทะเบียนเรียนซ้า ในรายวิชาที่เรียนแล้วเพื่อให้แต้มเฉลี่ยสูงขึ้น แต่
ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ
5.3.3 นักศึกษาอาจขอลงทะเบียนเรียนซ้าในแต่ละรายวิชา นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนซ้าแต่
ซ้าได้ไม่เกิน 2 ครั้ง (นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนแต่ละรายวิชาได้เพียง 3 ครั้ง หรือ
ครั้งสุดท้ายจะต้องได้รับการประเมินผลว่า “ผ่าน” มิฉะนั้นจะสิ้นสภาพการเป็น
นักศึกษาโดยไม่ต้องพิจารณาหรือคานึงถึงแต้มเฉลี่ยสะสม ) ยกเว้นกรณีที่นักศึกษาได้รับ
อนุญาตให้ลาพักการศึกษา ตามข้อ 5.4.1.1 5.1.1.2 และ 5.1.1.3
5.4 การลาพักการศึกษา
5.4.1 นักศึกษาอาจยื่นคาร้องขอลาพักการลาพักการศึกษา ในกรณีดังต่อไปนี้
5.4.1.1 ถูกเกณฑ์ หรือระดมรับราชการทหารกองประจาการ
118
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
5.4.1.2 ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ หรือทุนอื่นใด ซึ่ง คณะกรรมการ
ประจาคณะเห็นว่าสมควรสนับสนุน
5.4.1.3 เมื่อนักศึกษามีความจาเป็นส่วนตัว อาจยื่นคาขอลาพักการศึกษาได้ แต่ต้องมี
แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00
การลาพักการศึกษาตามข้อ 5.4.1 นี้ ให้นักศึกษายื่นคาร้องต่อผู้อานวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก และ/หรือคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมาย และ/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้พิจารณา
5.4.2 เมื่อนักศึกษามีเหตุสุดวิสัยจาต้องลาพักการศึกษา ด้วยเหตุผลนอกเหนือจากที่ระบุไว้ใน
ข้อ 5.4.1.1 ให้ยื่นคาร้องลาพักการศึกษาโดยเร็วที่สุด และให้คณะกรรมการประจาคณะ
หรือผู้ที่คณะกรรมการประจาคณะมอบหมายเป็นผู้พิจารณา
5.4.3 การลาพักการศึกษาตามข้อ 5.4.1.1 และ 5.4.1.2 ให้อนุมัติได้ครั้งละไม่เกิน 2 ภาค
การศึกษาปกติ ถ้ามีความจาเป็นต้องลาพักการศึกษาต่อไปอีก ให้ยื่น
คาร้องลาพัก
การศึกษาใหม่
5.4.4 ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา ให้นับเวลาที่ลาพักอยู่ในระยะเวลา
การศึกษาด้วย ยกเว้นนักศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา ตามข้อ 5.4.1.1 และ
5.4.1.2
5.4.5 ระหว่างที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา นักศึกษาจะต้องรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา
โดยชาระค่าธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย มิฉะนั้นจะถูกจาหน่ายชื่อออกจาก
มหาวิทยาลัยมหิดล
5.4.6 นักศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา เมื่อกลับเข้าศึกษาจะต้องยื่นคาร้องขอกลับ
เข้าศึกษาต่อผู้อานวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก และ/หรือคณะกรรมการที่
ได้รับมอบหมาย และ/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ก่อนกาหนดวันชาระค่าธรรมเนียม
การศึกษา ไม่น้อยกว่า 1 สัปดาห์
5.5 การลงทะเบียนเรียน
นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนตามรายวิชาและจานวนหน่วยกิตที่กาหนด
5.6 การขอเพิ่ม ขอลด และขอถอนรายวิชา
5.6.1 นักศึกษาจะขอเพิ่ม ขอลด และขอถอนรายวิชาได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์
ที่ปรึกษา และ/หรือภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงานประเมินผล โดยถือเกณฑ์การ
พิจารณาดังต่อไปนี้
5.6.1.1 การขอเพิ่มรายวิชา จะต้องกระทาภายใน 2 สัปดาห์ นับจากวันเปิดภาคการศึกษา
นั้นๆ หรือภายในสัปดาห์แรกจากวันเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน
5.6.1.2 การขอลดรายวิชา จะต้องกระทาภายใน 2 สัปดาห์ นับจากวันเปิดภาค การศึกษา
ปกติ หรือภายในสัปดาห์แรกนับจากวันเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อนหรือภายใน
119
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
5.6.1.3 สัปดาห์แรกนับจากวันเริ่มการศึกษารายวิชาซึ่งมิได้เปิดสอนพร้อมกับการเปิดภาค
การศึกษา และไม่บันทึกรายวิชาที่ขอลดลงในใบแสดงผลการศึกษา
5.6.1.4 การขอถอนรายวิชา จะกระทาได้เมื่อพ้นสัปดาห์ที่ 2 นับจากวันเปิดภาคการศึกษา
ปกติ หรือเมื่อพ้นสัปดาห์แรกจากวันเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน หรือเมื่อพ้นสัปดาห์
แรกนับจากวันเริ่มการศึกษารายวิชาซึ่งมิได้เปิดสอนพร้อมกับ การเปิดภาค
การศึกษา จนถึงหนึ่งสัปดาห์ก่อนสอบสิ้นสุดรายวิชานั้น และจะบันทึกรายวิชาที่ขอ
ถอนลงในใบแสดงผลการศึกษา เป็นสัญลักษณ์ W
ข้อ 6 การกาหนดเกณฑ์พิจารณาผลการศึกษา
นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย ถึงชั้นปีที่ 6 ถ้ามีรายวิชาใดที่เรียนที่ศูนย์
แพทยศาสตร-ศึกษาชั้นคลินิก ได้เกรดต่ากว่า C ให้พิจารณาตามเกณฑ์ดังนี้
6.1 กรณีนักศึกษาได้ผลการประเมินเบื้องต้นเป็น D หรือ D+ ให้พิจารณาดังนี้
6.1.1 นักศึกษาที่ได้คะแนนดิบมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 หรือ MEAN-1SD หรือเกณฑ์ขั้นต่า
ที่ภาควิชากาหนด (MPL) และให้อยู่ในดุลยพินิจของภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงาน
ประเมินผลว่า
- จะพิจารณาปรับเกรดของนักศึกษาให้เป็น C โดยไม่ต้องสอบแก้ตัวหรือ
- ให้คงเป็น D หรือ D+ ตามเดิม ซึ่งนักศึกษาจะต้องสอบแก้ตัวให้ผ่าน จึงจะปรับเป็น C
6.1.2 นักศึกษาที่ได้คะแนนดิบน้อยกว่าร้อยละ 70 และน้อยกว่า MEAN-1SD และน้อยกว่า
เกณฑ์ขั้นต่าที่ภาควิชากาหนด MPL)ให้
(
นักศึกษาสอบแก้ตัวให้ผ่าน จึงจะปรับเป็น C
6.2 กรณีนักศึกษาได้ผลการประเมินเบื้องต้นเป็น F ให้พิจารณาดังนี้
6.2.1 นักศึกษาที่ได้คะแนนดิบมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 หรือ M EAN-1SD หรือเกณฑ์
ขั้นต่าที่ภาควิชากาหนด MPL)
( ให้อยู่ในดุลยพินิจของภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงาน
ประเมินผลว่า
- จะพิจารณาปรับเกรดของนักศึกษาให้เป็น C โดยไม่ต้องสอบแก้ตัว
- จะพิจารณาปรับเกรดของนักศึกษาให้เป็น D หรือ D+ โดยจะต้องสอบแก้ตัวให้ผ่าน
ฃจึงจะปรับเป็น C
- หรือให้คงเป็น F ตามเดิม แล้วให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้า
6.2.2 นักศึกษาที่ได้คะแนนดิบมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 หรือ MEAN-2SD หรือเกณฑ์
ขั้นต่าที่ภาควิชากาหนด ( MPL) ให้อยู่ในดุลยพินิจของภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการ
งานประเมินผลว่า
- จะพิจารณาปรับเกรดของนักศึกษาให้เป็น D หรือ D+ โดยจะต้องสอบแก้ตัวให้ผ่าน
จึงจะปรับเป็น C หรือ
- ให้คงเป็น F ตามเดิม แล้วให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้า
120
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
6.2.3 นักศึกษาที่ได้คะแนนดิบน้อยกว่าร้อยละ 60 และ MEAN-2SD และเกณฑ์ขั้นต่าที่ภาควิชา
กาหนด (MPL) พิจารณาให้คงเป็น F ตามเดิม แล้วให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้า
ทั้งนี้การปรับเกรดในข้อ 6 ให้พิจารณาร่วมกับข้อบังคับข้ออื่นๆ ต่อไปนี้ โดยภาควิชาจะพิจารณา
ร่วมกับคณะกรรมการงานประเมินผล
ข้อ 7 การสอบแก้ตัว สอบซ่อม และลงทะเบียนเรียนซ้า
7.1 นักศึกษาที่ได้ผลการประเมินเป็น D หรือ D+ ให้สอบแก้ตัว 1 ครั้ง หรือขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ
ภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงานประเมินผลถ้ายังไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ประกาศเกรดเป็นD หรือ D+
คงเดิม และจะต้องลงทะเบียนเรียนซ้าในช่วงปิดภาคการศึกษา และกรณีที่ลงทะเบียนเรียนซ้า
ช่วงปิดภาคการศึกษาแล้วยังได้เกรดต่ากว่า C จะต้องลงทะเบียนเรียนซ้าในภาคการศึกษาปกติ
พร้อมนักศึกษารุ่นถัดไป
7.2 นักศึกษาที่ได้ผลการประเมินเป็น F จะต้องลงทะเบียนเรียนซ้าในช่วงปิดภาคการศึกษา ถ้า
ลงทะเบียนซ้าในช่วงปิดภาคการศึกษาแล้วยังได้เกรดต่ากว่า C จะต้องลงทะเบียนเรียนซ้าใน
ภาคการศึกษาปกติพร้อมนักศึกษารุ่นถัดไป
ข้อ 8 การพิจารณาปรับเกรด
8.1 นักศึกษาที่มีแต้มเฉลี่ยน้อยกว่า 2.00 คณะกรรมการงานประเมินผลจะเรียกพบนักศึกษา
เตือนให้ทราบถึงผลการเรียน และหาแนวทางการช่วยเหลือเพื่อปรับปรุงการเรียนให้ดีขึ้น
8.2 นักศึกษาที่ได้ผลการประเมินเป็นเกรด D หรือ D+ และต้องสอบแก้ตัว หรือขึ้นปฏิบัติงาน
เพิ่มศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก จะรายงานผลการสอบแก้ตัวเป็น I แม้ว่าจะสอบแก้ตัว
หรือขึ้นปฏิบัติงาน ผ่านแล้ว แต่จะยังไม่ปรับเกรดให้ ต้องรอผลจากการพิจารณาแต้มเฉลี่ย
เบื้องต้นประจาปี ซึ่งต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 1.80
8.3 นักศึกษาที่มีแต้มเฉลี่ยเบื้องต้นตลอดหลักสูตรต่ากว่า 2.00 หรือตลอดปีการศึกษาต่ากว่า 1.80 หรือ
ภาคการศึกษาใดภาคการศึกษาหนึ่งต่ากว่า 1.80 จะต้องลงทะเบียนเรียนซ้าในภาคปกติ ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของภาควิชาร่วมกับคณะกรรมการงานประเมินผล
ข้อ 9 การจาแนกสภาพนักศึกษา จะกระทาเมื่อสิ้นภาคการศึกษาปกติแต่ละภาคการศึกษา หรือเมื่อสิ้นปี
การศึกษา ทั้งนี้ยกเว้นนักศึกษาที่เข้าศึกษาเป็นปีแรกซึ่งการจาแนกสภาพนักศึกษา จะกระทาเมื่อสิ้นภาคการศึกษาที่
สอง
9.1 นักศึกษาสภาพปกติ ได้แก่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเป็นภาคการศึกษาแรกหรือนักศึกษาที่สอบ
ได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00
121
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
9.2 นักศึกษาสภาพวิทยาทัณฑ์ ได้แก่ นักศึกษาที่สอบได้แต้มเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.50 แต่ไม่ถึง 2.00
จาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 นักศึกษาที่สอบได้แต้มเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.50 แต่ไม่ถึง 1.80
ประเภทที่ 2 นักศึกษาที่สอบได้แต้มเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.80 แต่ไม่ถึง 2.00
9.3 การพ้นสภาพนักศึกษา
9.3.1 ศึกษาครบตามหลักสูตร และได้รับอนุมัติให้ได้รับปริญญา
9.3.2 ได้รับอนุมัติให้ลาออก
9.3.3 ได้รับพิจารณาให้พ้นจากสภาพการเป็นนักศึกษา เนื่องจากมีแต้มเฉลี่ยสะสมต่ากว่1.50
า
9.3.4 นักศึกษาสภาพวิทยาทัณฑ์ ประเภทที่ 1 ที่มีแต้มเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 1.80 สามภาค
การศึกษาติดต่อกันจะพ้นสภาพนักศึกษา
9.3.5 นักศึกษาสภาพวิทยาทัณฑ์ ประเภทที่ 2 ที่มีแต้มเฉลี่ยสะสม 1.81ถึง 2.00 ห้าภาค
การศึกษาติดต่อกันจะพ้นสภาพนักศึกษา
9.3.6 ลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาเกิน 2 ครั้ง (นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนแต่ละรายวิชา
ได้เพียง 3 ครั้ง หรือครั้งสุดท้ายจะต้องได้รับการประเมินผลว่า “ผ่าน” มิฉะนั้นจะสิ้น
สภาพการเป็นนักศึกษาโดยไม่ต้องพิจารณาหรือคานึงถึงแต้มเฉลี่ยสะสม) ตามข้อ 5.3.3
9.3.7 มีเวลาเรียนเกินสองเท่าของเวลาที่กาหนดในหลักสูตร
9.3.8 เมื่อพ้นกาหนดเวลา 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาแล้วยังไม่ลงทะเบียนเรียน หรือ
ไม่รักษาสภาพการเป็นนักศึกษาโดยมีเหตุผลไม่สมควร
9.3.9 ตาย
ข้อ 10 การให้ปริญญา
การพิจารณาให้ได้ปริญญา นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้
10.1 สอบผ่านรายวิชาและเกณฑ์อื่นๆ ครบตามหลักสูตร
10.2 ได้แต้มเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ากว่า 2.00
10.3 เป็นผู้มีความประพฤติดีเหมาะสมแก่ศักดิ์ศรีแห่งปริญญานั้น
ข้อ 11 เกณฑ์อื่นๆ ของการให้ปริญญา คณะฯ ตามที่ระบุไว้ในข้อ 10.1 ระเบียบศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกฯ ดังนี้
11.1 ต้องสอบผ่านการสอบรวบยอดทั้ง 3 ขั้นตอน ของสถาบัน
ขั้นตอนที่ 1: ประเมินความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน
ขั้นตอนที่ 2: ประเมินความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
ขั้นตอนที่ 3: ประเมินความรู้ทางด้านหัตถการและหัตถการทางคลินิก
11.2 ไม่มีบุคลิกภาพ และ/หรือ มีพฤตินิสัยเจตคติที่ขัดต่อการเป็นแพทย์ที่ดี ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา
122
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ข้อ 12 การให้ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยม
นักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต จะได้รับการพิจารณาให้ได้รับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต
เกียรตินิยมอันดับ 1 เมื่อสอบได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.50 และให้ได้รับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรติ
นิยมอันดับ 2 เมื่อสอบได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.25 และต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
12.1 สอบผ่านการสอบรวบยอดทั้ง 3 ขั้นตอน โดยไม่สอบแก้ตัว
12.2 มีเวลาเรียนไม่เกินจานวนภาคการศึกษา หรือจานวนปีการศึกษาน้อยที่สุดที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
12.3 มีคุณสมบัติครบถ้วน ตามข้อ 10 และ 11
12.4 ไม่เคยลงทะเบียนเรียนซ้า หรือลงทะเบียนรายวิชาอื่นแทนหรือสอบแก้ตัวหรือปฏิบัติงานแก้ตัว
ในรายวิชาใดเลยตลอดหลักสูตร
ข้อ 13 กรณีที่นักศึกษาได้เข้าศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต แต่มีอุปสรรคไม่สามารถศึกษาต่อจน
สาเร็จ นักศึกษาสามารถขอรับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์) หากมีจานวนหน่วยกิต
สะสมที่ได้ศึกษาเพียงพอตามเกณฑ์การรับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต
จากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
จึงกาหนดให้ทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ประกาศ ณ วันที่
พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
(นายสมชัย นิจพานิช)
ผู้อานวยการโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
123
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
หัตถการสาหรับนักศึกษาแพทย์ปี 6 ภาควิชาอายุรศาสตร์
หัตถการ
Complete blood count, Malarial film
Urinalysis
Stool examination
ย้อมสี Gram, AFB & modified AFB
เจาะเลือด
ฉีดยา IV, IM , Sc
ใส่ NG tube & Gastric lavage
ใส่ Senstaken-Blakemore tube
ตรวจและแปลผล
- Cerebrospinal fluid
- Ascites
- Pleural fluid
- Joint fluid
หลักการ ICD
Respiratory care
การใช้ Oxygen therapy
การให้ Artificial respirator
Cardiopulmonary resuscitation ( Basic )
Cardiopulmonary resuscitation( Advanced )
การวัด CVP
Cutdown
Intubation
การเจาะ
- Abdominal paracenthesis
- Bone marrow aspiration
- Lumbar puncture
- Thoracocenthesis
- Joint aspiration
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
124
- Liver aspiration
- Pericardiocenthesis
- Peritoneal dialysis
Intracardiac injection
นักศึกษาแพทย์ควรรู้
ขณะปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยอายุรกรรม
การออกตรวจผู้ป่วยนอก
o
o
o
o
ตรงต่อเวลา
ควรประสานงานกับเจ้าหน้าที่หน้าห้องตรวจ ในการเรียกผู้ป่วยเข้าห้องตรวจ
ควรได้ประสบการณ์ตรวจทั้งผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยที่มา follow up
ควรได้ตรวจผู้ป่วยครั้งละ 2-3 คน (ใน 1 ชม. 30 นาที)
การออกตรวจผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน
o ตรงต่อเวลา
o ไม่ควรส่งคนไข้ที่มีอาการหนัก เข้าห้องสังเกตอาการ
o เมื่อพบว่าผู้ป่วยรายใดสมควรได้รับการรักษาจากแผนกอื่น ให้ส่งปรึกษาแผนกนั้นๆ เลยไม่ควรรับ
ผู้ป่วยเข้ามาสังเกตอาการในหอผู้ป่วยกลุ่มงานอายุรกรรม แล้วส่งปรึกษากลุ่มงานอื่นทีหลัง เพราะ
อาจทาให้การรักษาที่จาเป็นล่าช้าและมีผลเสียต่อผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยห้องพิเศษ และไอ.ซี.ยู.อายุรกรรม
o การย้ายผู้ป่วยเข้าห้องพิเศษหรือหอผู้ป่วยหนัก ต้องอยู่ในดุลพินิจของอาจารย์แพทย์
เวชระเบียน
o เขียนรับผู้ป่วยใหม่ทุกราย และบันทึกความก้าวหน้าในใบ order ช่อง progress note ทุกราย
ตามความเหมาะสม เช่น
o กรณีที่ทาหัตถการ หรือเมื่อผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงอาการที่สาคัญ
o หลังรับผู้ป่วยใหม่ทุกรายให้เซ็นต์ชื่อผู้ให้ข้อมูลทางการแพทย์ในใบยินยอมให้รับการรักษาด้วยทุก
ครั้ง
o เมื่ออนุญาติให้ผู้ป่วยกลับบ้าน เขียน Final diagnosis หลังคาว่า discharge ทุกครั้ง
o สรุปประวัติตามแบบฟอร์มของภาควิชาอายุรศาสตร์ และรพ .มหาราช สรุปทะเบียนผู้ป่วยตาม
หลัก ICD 10 และลงรายละเอียดการทาหัตถการทุกอย่างให้ครบ
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
125
o ให้อาจารย์ประจาสายเซ็นต์ชื่อรับรองทุกฉบับ
o สรุปประวัติอย่างช้าภายใน 5 วัน
o นัดติดตามการรักษาที่จาเป็น
o ควรนัดให้ตรงวันที่แพทย์ประจาสายออกตรวจ (แพทย์เพิ่มพูนทักษะ แพทย์ประจาบ้าน
หรืออาจารย์แพทย์)
o นัดเข้าคลินิกพิเศษกรณีผู้ป่วยมีปัญหาซับซ้อนจาเป็นต้องติดตามอาการกับแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เคยได้รับปรึกษาผู้ป่วย
o ระบุการส่งตรวจที่จาเป็นก่อนพบแพทย์ให้ชัดเจน
o เขียนยาที่ผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับต่อเมื่อกลับบ้าน หรือส่งกลับให้ชัดเจน ระบุจานวนด้วย
o ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติทุกครั้งก่อนกลับบ้าน หรือส่งต่อผู้ป่วย
o ตอบใบส่งตัวคนไข้ทุกครั้งในกรณีที่ผู้ป่วยถูกส่งตัวมารักษาต่อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
o ห้องปฏิบัติการแผนกอายุรกรรม มีอุปกรณ์และน้ายา ซึ่งนักศึกษาแพทย์สามารถใช้ตรวจชันสูตร
เบื้องต้น เลือด ปัสสาวะ อุจจาระ และสารคัดหลั่ง ควรศึกษาวิธีการตรวจก่อนขึ้นปฏิบัติงาน
o นักศึกษาแพทย์ควรช่วยกันดูแลความสะอาด ความเรียบร้อยของอุปกรณ์ และน้ายา ถ้าต้องการ
เพิ่มเติมให้เขียนแจ้งบนบอร์ดในห้องตรวจระบุวันที่ที่ขาดหรือติดต่อเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรง
o กล้องจุลทรรศน์ ถ้ามีการชารุดเกิดขึ้นรีบแจ้งให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทราบ เพื่อจัดหาทดแทน
การส่งตรวจทางรังสีวิทยา และการส่งตรวจอื่นๆ
o ระบุการส่งตรวจ และเหตุผลให้ชัดเจน
o ในกรณีที่ต้องการตรวจวิธีพิเศษที่ไม่มีในรพ. หรือเร่งด่วน
แพทย์หรือแพทย์ประจาบ้าน
o ติดตามผลการส่งตรวจทุกครั้ง
ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์
การปรึกษาผู้ป่วยระหว่างกลุ่มงาน
o การส่งปรึกษากลุ่มงานอื่น อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์แพทย์ สาหรับนอกเวลาให้แพทย์เวร
เป็นผู้รับผิดชอบ และปฏิบัติตามระเบียบการปรึกษาผู้ป่วยของกลุ่มงานนั้นๆ
o การรับปรึกษาจากกลุ่มงานอื่นนอกเวลา ให้แพทย์เวรเป็นผู้รับผิดชอบ
o ควรปรึกษาเฉพาะผู้ป่วยที่พิจารณาแล้วว่าฉุกเฉินเท่านั้น
การส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลอื่นๆ
o ในกรณีที่ผู้ป่วยอาการคงที่ เมื่อแพทย์ประจาสายพิจารณว่าสามารถกลับไปดูแลต่อยังรพ.
ชุมชนได้ ให้ติดต่อที่ศูนย์ส่งต่อผู้ป่วย
กรณีผู้ป่วยเสียชีวิต
o ควรขอตรวจศพในกรณีที่ไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้แน่ชัด เสียชีวิตผิดธรรมชาติ หรือก่อน
มาถึงโรงพยาบาล
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
126
o ให้ญาติผู้ป่วยเซ็นต์ยินยอมในใบอนุญาต ให้ตรวจศพชันสูตรศพก่อนทุกครั้ง
o แพทย์ประจาสาย/ แพทย์เวรเป็นผู้เขียนใบมรณะบัตร และใบรับรองต่างๆ
การลา
o ลาป่วย/ลากิจ ส่งใบลาทุกครั้งรวมทั้งวันหยุดราชการ
o การลาทุกครั้ง ต้องได้รับอนุญาตจากอาจารย์แพทย์ที่ดูแลก่อน
o ระหว่างลา ควรมอบหมายงานให้ผู้หนึ่งผู้ใดแทนถ้าสามารถทาได้
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
127
ฐานข้อมูลทางการแพทย์สาขาอายุรศาสตร์
www.ncbi.nlm.nih.gov/PubMed/
www.nature.com
www.mdconsult.com
www.amjmed.org/
www.annals.org/
www.bmj.com/
www.stfm.org/
www.jama.ama_assn.org
www.postgradmed.com/journal.htm
PubMed ( National library of medicine )
เป็นแหล่งข้อมูลเริ่มต้นที่ดี สามารถค้นหา web site อื่นๆทาง
การแพทย์ได้มากมาย และยังมี case discussion และ
medical headline ต่างๆของแต่ละสาขาวิชา
เป็น web site ทางการขององค์การอนามัยโลก มีบทความใน
ลักษณะ review ของโรคต่างๆมาก
web site ที่รวม activity ต่างๆ ทางวิชาการหลายอย่าง
web site ของ American college of physician (ACP)
New England Journal of Medicine เป็น web site ของ
วารสารทางการแพทย์ที่น่าเชื่อถือ
web site ของวารสารทางการแพทย์ที่น่าเชื่อถือ
web site ของวารสารทางวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อ มีเรื่องทาง
การแพทย์อยู่เช่นกัน
Medicine consult
American J of Medicine
Annuals of Internal Medicine
British Medical Journal
Family Medicine
JAMA
Postgraduate Medicine
www.mat.or.th
www.rcpt.org
www.moph.go.th
Journal of The Medical Association of Thailand
web site ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
ข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข
www.medscape.com
www.who.ch/
www.netmedicine.com/
www.acponline.org/index.html
www.nejm.org/
www.thelancet.com
ทั้งนี้บาง web site เป็น free online ส่วนบาง web site สามารถเข้าถึงได้โดยผ่านบรรณารักษ์
ห้องสมุดโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
คู่มือนักศึกษาแพทย์ ประจาปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
126
roo6q
LLUU SsLrlu{nrin1J1Ul\vrUtU!, 6
.i
ua r n't: d:1.i drJYiu 5n 11{
to
ufivr
r4o
to
zu!:ultJu
lUvl
n1:!it6.r1u O o:!
O
Pr 6-7
rirlx u
ln1rsr.3'tu
'ru (J alna
atJru
1U
O
'tu
trnlnutriar
2tu
nguuuvtt0
v A,
14? lt ovllJ:vtLtu
n. lonna
,
(r{ O fisiornr:)
J ,-*
lJuunua.:'lun5!0?u
1
9n i91011a1
?
''o
n!o'10'l:u
l.]n1:!:nulyn {1t1n1: v: 0!5nu1ufu1rl tu.iluvr'hLo5!r.J0!ur]1u
.
3 lirmu ltavuo!;ldolnv{iorriolsrutol
ondla
4
biil
tob tJiutJyntat'n
rffi
1
n
1
0
1
2
3
0
1
2
3
0
1
2
0
7
;
1
nttthtnta uavnq6nttudul)
(SDL)
i!fi oto!riorirjru ltacuufftriilll]o!14!'ru
o
rJfr
ffi nunX:;rfi
ur.Lrloi aufl
t.
uauT5nrlu'ru1a!!t'15'ltuet::lter.J1
nvttllu1lll n. = 20 nvuuu
fl1561:1{la
1
a
V'lU5n11',1
0
!:.r 1n 1:1u fi8 0',]0'l: u
2 n1r!l!na 0r.r!'ru ttauQ'rel
,^-., ":
3 n15!lusr0orv'{ouunflnu1
4
r' f,
n1:UlU919r0[Ll1vlU?UYI
5
n1:!l1J0n0ra1 ulvlou
1
0
7
-i
0
viJ
0
1
0
T
ovLtlJl-t1ztt . = 5 nsuuu
ovuuullu n. = 25 nvuuu
n1iiliv lfruditfluntwtau hVufleitniawun
15n15
Outstandlnq
Good
Average
Below average
Poor
ronnfi
1
0
4
auLruu
! 1lu5n1r4
4
3
2
1
0
4
P1
5
?r-
3
ttastld'h
uaoroon6rnrtuax{v1n?l idxuouLo{oeitalto
.
tr -)
d
: 1l or ou n 1: fl u1 tll1.r tgrtJvto 10',]5 u olJvt,l1U
zu
2
0
Satisfied
o
o
o
o
Unsatisfied
Outstanding
a.ttou!lstrJu
Satisfoctory
Morginal
UnsotisJoctory
lun ffii,trind
l4u1utvel :
nwi w on nl l rJi Lluq
indoa't{iut tiiSnil
)
lu Hol tl ll,
1
I
v1 a lN R
lunl
1u 13
alun
tu
L
n
no
n
iun naouiarittu uaidfunnrJszr.ffuaafiu r \ufu ti
4
3
ruu! :vrfiufndnur uvrvrdt'utlfi 6 : vr-nuvnr:fioriof,oar:
.i
to
Pr 6-2
raorir-hu
1-t6v1
'ruv!lum r1u
ta h!:vL u
Atv
aettuuYt to
14?tO fir.J:vrfiu
1 !naflvl'tvr
(':.r
tLav;]'DU1vr
O
dfra.rnr:)
0
1
2
3
2
n1:d:l.:al]flunnlYr
0
L
2
3
3
n1: Lrnlnl:]!a1ur1jo 1jaluuo
0
7
2
3
0
1
2
3
4 fl1i:1rt{
ttJlllu
5
nr: rl uu nr : udttnr rrl riurlrlor #rjru
o
1
2
3
6
frlsvlxun?l! uavnl:a5
i;
7
2
3
1
nr:avfr'ounrrrLif; n v6ofl
0
1
2
3
8
i
)c,
- t
yInuun'r: L nl rlusu']2!?u tnu't nu
L:nvtu]
i;
1
2
3
n?1
rur,rrfr
douotirorfir-hu
ovttllufx 24
qvuuu
ote{uouuv
n1iiliv lfiudt{luntwtau hwildtniotuu'tu
Q
o
o
o
't5n1lI a!LtuI
3
2
1
0
Good
Average
Below avera8e
Poor
4
outstonding
a{totJll:uLx.tu
Satisfoctory
Marginol
Unsotisfoctory
.y 4.a
ru!!!:cu.luun6nulttYlvulru
vt 6
do uo*
t0
.:
n1:u1.rsr':'ruvr ttrJufl
,,.
611J'l
uuo n
xuvllJ0!0{'ru
Pr 6-3
r,t1j5YtLlu
q,v.i.o,
u?taflu:u[]Ju
flvttuu
t9l
1 ronn6
a
n1:9r:{FOt1a1
-
:.rPl11 aUL0
l.i
-
dll
rJfr
!
1fi '15't
un',l'l! n:
u r) 0
010'l:
vm 0
io:1l00
no n
5:l]
3
3
u
r-i6rlorjr.Jro uavrpr6oeirlu,rrrvar
- !rrann1
2
trA
3
3
[141.]1CA
a?1ild1il1:nil1{nefin
15
(udu
nrruin:ru rdrloufior fru nr:i'nrJ:gi6 nr:o:':rjr.rnru nr:}ir'irrruvdruriritlrur,ravrgrfi)
nvuuul1lt 30 nvuuu
llalduauuv
a{to !:uLtlu
nvuuu
vr Lo
LL!!l
J
tO
: v rfi
ufinfi nur unvr dtyutJfi 6 : nT iUfr t6
{T
udraa
{th ulu
Pr 6-4
raofrriru
ufiY,l
ta u!:uLtlu
'tuYrlJllJ9r.i'ru
oz g d.
irw
FrgLtuuvtLo
a
14?flOVlu:UttJU
1
rlfrffilruariruaro
ttaca]r.ieior?a1 (Round
(x O
iuraqo:rtn1i lA!5lluml rr1i1naou ttau[?i)
2 nrrlaur:nlun1:o[aritlxu
e,)
2.1.
d{n:?o uauuiatiarl{1iolrJfr {6nr:
nr:x1.irrzuu
uavnt:fiint5outa:nut
2.4 nruaur:nlunr:6'oiulor,uilttuurlanrvudr
3
n1:d1rauoi1u.r'ru0idxu16uv Service Round
4 nr:r-iufi
n:rumu{iliu uaval rlx:utiuu{rhu
5
ox1r.r6Mr01un1:rlfr tGrinonr:rirI1
6
n11 AMln LUn159lOrl0a0a1:fl !i'u?u ry1fl
1
nx
)
l
a'rr.r
1
r
-
e"
-
J
[Lav[v10u:']:..1
{"lu
01un1:'[#rir uuvdr{rJr t'r ua vrgr6
nv
!
? ?
0
7
2
3
4
o
1
2
3
4
0
I
2
3
4
0
L
2
3
4
0
1
2
3
4
0
1
2
3
4
0
1
2
3
4
0
i'
2
;
4
1
2
111111111J
o
40 nvUUU
110[du0uuv
n1rilxs lfrud7{\un1wfl
I
i6nr:1fiaruuu
4
3
2
4
U
n'r:iiaa"u tuv'l uacinl:[lduultljaiolnlltitlxu
2.2 nr: L6ofl
2.3
fifrornr:)
Excetlence
Good
Averaqe
l Betow Averaqe
o Poor
o
o
o
o
il
hTaileitniawutu
y'
)
aldarirj:vrfiu
Outstonding
Sotisfactory
Morginal
Unsotisfactory
-:3
i
6z d,;
ttuuu:uLlruunfi nulLLvrvtutuljvl 6 : n1lu0u9l.i'luu0n[?4151tn15
'uo
ilofihu
u6fl
to tJ!:uLIu
Pr 6-5
Oed'u Oniln
?uvrlJf um{1u
.hr
oCUUUvl tO
o.,q.ri.o
(e.r
14?t OVtu:U[tJU
il01{
q1n
tLr 9l
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.O
1.0
1.5
2.0
2.5
J.U
3.5
4.0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
1.0
1.5
2.O
2.5
J.U
3.s
4.0
51n1Un11!A1',l5fltO{mUl0{
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
nr:lalr.lrnruirfiruGr
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.s
4.0
o
.r:0vr't{nafin
- nr:if, od'utley,rr ravLLUaiiarl{#onJfr
t6nr:
- n1:11.lttfuu uaea{n15:nu']
- n?1!.r4M:nlunr:d'ofi
u1o uri1tfl
n15UU nt',lu.l1utJu?U
3 filuvnonl:
u
- o n'-l
4 0'run150l
0 d oa1:
- lrquo #uvr"udfi!(th u
-
ddo.rnr:)
00u
1 n?1 d1
2
O
rJ:111{1U
LLA U U
r,ra v
Ll.i ft UU 6Ut
ruultaaluvil
cgr6
l
5 Ionn9t
- n11!:Ltr.JOtOU 0l:{9t01?61
ovuuulxtl 40 qvuuu
ltoldu0uuv
a{6ofrlrcnu
[L1J1J!lsu]uUnrln19rttfl
to
.y -.)
yrutulv
6 : li,4orning Report
uflYr
'tuvtu'rLdua
ta tJ!ivtx]u
v't1]aulLaua
Pr 6-7
c,rri.o
U??JAilU:Ut8JU
1
Aco
a3ttuuvtto
(r.:
O
fi6'o.rnrr)
0
1
2
5
0
1
2
3
0
1
2
3
0
1
;
3
3 nr:a:rlflruur
0
t
2
4 i6
0
1
;
3
0
1
2
5
9E{9r0txa1 tto{nluAn1Yl
2 nrrrLaur:o'lun1:dl[auo:'ru{'ufr!']u
2I llsi6
n1:n:xni1{niu (n:!6i?ufi{ Positive & Negative
2.2
5
io
(n:ornqr Ludrufrdrn'ry uavfloo'urf;ur)
Findings)
Approach oiilru ua;nr:ifroacl
n'r:11.ittiJun1:a{05't0 ttava{fl150lta5nu1t !a.i0]u
n8u1J1J12tJ
24
nzUUU
lqlduau v
altotJllSUL1JU
?5n1:!1lAJLlUU
3
2
1
0
Good
Average
Below average
Poor
uurl:s
t0
!,
rfi
-.; 6 : Lruu rstfi ui.ruu1?
"
urina nururvrdnnilfr
Pr 6-8
?uva0!
ufl?,r
'tuoau L:n
10 rJn aou
iru
nv[tuuvtto
(rr O fido.:nr:)
o,rtl,tlta
[!t
14??J0Vtu:Ur8JU
o
Llro
uold
o
20o/o
40o/o
60o/o
80o/o
100o/o
E
D
c
B
A
4
5
1fl
401{u.:
t
rona6irrifl [ra;nl:doa1:
0
z
dr.rfio dou uas radrsr:aopitlau
0
2
1
4
0.6
7.2
1.8
2.4
3
1
2
3
4
5
0.8
7.2
L.6
t.2
1.8
2.4
3
2
3
4
5
L.6
3.2
4.8
6.4
B
7.6
3.2
AO
6.4
B
o/l
0.8
1.2
t.6
2
2.0
J.U
4.0
5
3 n1:{n
3.t
5s?91
uas n1i0t5't0i1{n1u
nr:dnrj:ai6
-
1fi
n15qfl!:v10
- tuo fi'r10{!:v?T
01n1:6',ra6u
!5v'lsln1:r{uu?u!n0!u
1J:v10 n15 [0ulJ']
u
00n
r-J:vi6n:ornrir
rj:vi6riru6'r
ua
v dlv15a'ia
n15YllJ111U9r11rMU
-
r
nfln rrav o1llJa1 1in'lun1:,il'nrj:vffi
3.2 n1:m:xoll.inlu
- n15ulusrsr0zu!'lu
-'t5
-
4 n1t{n
n1
: m:'l
?ifl'ti
0
:
1
i n1u
Fr:lJfl?ut1l u:v!u (:xrvl"{ Vital Signs)
tll n ufin 1:9r5't n 51{ n 1u ( :?1.rv.r n r:'[{q
rJ
n: nln r: o:r o )
l.;
Io;
li
lJ10t uav n'l59ll?o:1{n1u
4.1 ruanr:t-nrl:vi6
Key Points
4.2
,J
A n
1: A:10 51{
n
1U
Key Points
5 nr:rirrauorJ:sifi uasnr:n:rodrsnrs
6
n155?U51rltJlstfiutj6uvlnl:'tuoouttgn t:nuaunlsulunlSao
afl1.1r1lurl4gl
O.l
d
[uu
a
nr::'lu:rlrj:vt6ufl6ufi1 (Probtem List)
Key Points
...
1
Acv
nvrluuvrto
(x O
O)'.,4J,A
14??JOVIU:UL8JU
fifro.rnr:)
ur6
vralt
fl
0,l1fl
20o/o
40o/o
6Oo/o
8Oo/o
7O0o/o
E
D
c
B
A
t.6
3.2
4.8
6.4
B
L.6
3.2
4.8
6.4
B
1
2.0
3.0
4.0
5
1
2
3
4
5
5
4
5
2
3
4
5
3.2
4.8
6.4
I
4
5
ur9
.i
au1.tu{
6.2 nliifroa'oliPr
Key Points
6.J
..
n1:?U00UUUnt:n
Key Points ........
7 nr:q:ro rwlo.:il4{6n1i
7.1 nlr16on?i.wrixov'r{1io{lntfrnli travnlrdrarl{fi16rs
Key Points
7.2 n1:rrlarJanlia:?orr{#o.ilAffinr:orn
Specimen
Key Points
7.3 n1ittlarJanlier:?oyn.i#o.iliri6nr:6u1
travaran:'!ofirfiu
I
Key Points
8
Final Dignosis
1
9. n'r511{rrrJun't:otta:nu1 ua3fl1:[un?1 :unatulu
9.1 fl1ti1.i[rrJunl:;nu1
1
6
9.2 n1:t#rilrLuurir uavtrinruiririru lrrurirdrao!uaq{nivuxunl:dxu
1
2
,)
nvtLl.lulxrJ 100 ftvuuu
N2UJLl4ULWJTFIIJ
ar6ol'irl:vriu
,.Janrril:uffiu o'rrn =
6 = 807o = rmnfln i6nr:
rot{
=
600lo
= rvrflfin
= tvtnfin i6nr: uac/v6o riouafidruauoondo.lvts.ivtto
e
a"
ruav/v6o riaqafiriruauoqn6'olai':urrn
100o/o
!
;"
i6nr: uav/via da4afrlirrauannd'o.l 500/o
tri6 = 400/o = rvnfin i6nr: uac/v6o rioqafiriruaua qn6'o.:airufioa
tri6otirrd.: =
2oo/o
= tvrnfirr
i6nr: uac/v6o rio4afirirrauotriqnolo'lrfialrf.rralo
LL!!u:u
rfr
. & d.;
u#nfinu1 uxvdrluilfr
o, Lum
r P un ctu re
Pr 6-9
lUvlvlvonnl:
t0 ufia
to
ba
tJ!:vLr]u
Atv
nguuu ta
n,yd,o.
14?1'OVlu:UttJU
('r.r
O
fido.:nr:)
drl6'
vr'rl6'
lririr
rusitrinn
?io"l{
0
1
2
3
0
1
2
3
iovirrilrgrv rva!
0
t
Z
3
4
ur
0
1
2
3
5
m:ror6nu{r uas Stytet
0
1
2
3
6
Position Ltau Dlrection
0
7
2
3
/
9n10a0!x1 cSl-
0
1
2
3
0
1
2
3
0
1
2
3
0
1
2
3
-,&,
I !anrau{t
2
Lun15v1u00n1: to
Lrtorafu1J.)u noun1lv,114onn1:
oir ur,trirfr ro r va nfro.r
8 nr:ionrudu
9 nr:riu
t
Lo
CSF
.a
1r0.i[1j1.]fin
Llta
CSF
dw:ro
o 1#r1o4a {rh ar,la'r nr:rirfrn
n
nr:
nvtLllulltl
i0
nsuuu
floLduouuv
a.:torJlJSuL U
vl''t
too
.& -.)
Lruu!:u Liufinfinul LLrAydrlutjfr o :
J
to
uflvt
ta
rJ!:uLlru
Thoracoce ntesis
Pl 6-10
'tuvyI'r14flnn1:
ihr
nsuuuvt to
",r,i,o
14?UOVtu:UtilU
(r.r
O
fifro.rnr:)
t'rl6'
t'rt6'
lririr
ua lu0n
vra"l{
-,3,
1 !ontou{ttun1lvl1uo0n15to
0
I
2
3
z tri'dorafirJruriounr:drfi'monr:td
0
1
2
3
3
o"ovirrir-hurvlrvar:
0
2
3
4
tFl'rs14't:vo1Jto{u'r
0
t
I
2
3
5
naf ilml
0
1
2
a
6 ro:u a1u0o tLavnltuvLn!frl:ul
0
1
2
3
7
0
1
2
3
8 rorv'l unlttfiu{flna'r ti uavooar:riT
9 nr:16l P[eura[ fluid dro:ro
0
1
2
3
0
1
2
3
10 Lvrararu!1uva.1n11fl
0
7
2
3
ttuu.1vlovto'ru
ai
SteriLe technique
'114fl
nn't:
nvuuu1ztJ 30 flvuuu
IJOLdUAUUv
a
i%atJ!:utx]u
vt't
[oo
ttll!
,
x -.;
:s Lr.lUUnflnulhLflYIUtUlYl 6
J
to urill
AbdominaI Paracentesis
PI 6-TT
lUvlvl'tvsrofl't:
%o tJll: vLlJu
ot gt.i,
dre
nguuuvl to
a,
14?uOVtu:UUJU
(r.l
O
dfia.rnr:)
u'rlfr
m'r1d
lrivri
urililgn
?rotd
vt'l too
0
1
2
1
0
7
2
3
Ll411UXU!aA1?unOU
0
7
2
3
0
1
2
3
5
i'orvirrir}uua!rcal.l
,J
" ttl4udvlt0'l
v
tfil u u 10't
0
1
2
3
6
Sterite technique utavnr:fiourtr
0
7
1
tLll.lrljutll1 Lu{0nv!0
i uauooul
0
7
2
3
8
nourirnofiuzuauru 3 - 5 urfi
0
1
2
2
0
1
2
3
0
7
2
3
r
uandor.ilfflunr:lirra'n
o
nr:td'
z llidorafiriruriounr:rirr.ifl
3
c
4
9 nr:r6r
t
y.,
,
.
Ascite fluid
o 1#doraairh
uraa-r n r
onr:'[d
!
d{flixo
:lirfrnnnr:
nsLLll\J11N
30
3
qyUUU
llolduouuv
a.:no,.u:vLl.tu
.&
-,i
Lr!! ivrfrufnfinuluilrrhluilfr
J
to
o:
Interesting Case
Pr 6-12
't10vu1tau0
urjvr
1lo i.J!:vLIu
lUTtUltAUO
ltu
ag[uuvl to
(,:r
lriniru
o.,Lr.ara
aou
tuo
O
fifrarnr:)
nold
o
o3J'tn
14??JOVlu:UtllU
lir.lru
io.r
rrriodor
Lr rLri'l6iu
i-1,.U1!
0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
0
1.0
1.5
2.0
2.5
J.U
3.5
4.0
+ n:rlf oxlltdi'tolutu0l.t111U1LA!0
0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
5 nruirfiotor.r / m:lriorrar
0
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
1
n111]0nm0.r
[1r!
tLa u n1''11.r
2 nruaur:nluni:ofi
a
nr:r6on'lddo
/
x-ao
1e a
1.]
fl o.r Lu 014'r
:'rU
/ oilnin:rfionr:riruaua
osltll\-t1lN 20 flvUUU
!aLduouuv
a.:tarJu:urlJu
Download