บทที่ 2 แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design ; CRD) 2.1 กล่าวนา แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูร;ณ์CRD เหมาะกับงานทดลองที หน่่ วยทดลองที่ใช้ในการทดลองมีลักษณะเหมือน ๆ กัน 2.2 ลักษณะของ CRD ประกอบด้วยทรีตเมนต์จานวน t ทรีตเมนต์ แต่ละทรีตเมนต์มีการทาซ้าจานวน nj ซ้า หน่วยทดลองที่ใช้ในการทดลองมีลักษณะเหมือน ๆ กัน มีจานวนทั้งหมด N หน่วย โดย N = n1 + n2 + … + nt = nj ; กรณีจานวนซ้าไม่เท่ากัน N = n + n + … + n = nt ; กรณีจานวนซ้าเท่ากัน และเท่ากับ n ต้องมีการสุ่มจัดทรีตเมนต์ให้กับหน่วยทดลอง หมายเหตุ เพื่อความเหมาะสมของการจัดการทดลอง สะดวกต่อการวิเคราะห์ข้อมูล และเพื่อแก้ปัญหาข้อกาหนดบาง ประการ ควรใช้จานวนซ้าเท่ากัน 2.3 การสุ่มสาหรับ CRD โดยทั่วไปนิยมใช้วิธีจับฉลาก (พิจารณาจากตัวอย่าง ซึ่งเป็นเพียง 1 กรณีของการสุ่ม) ตัวอย่าง การทดลองหนึ่งใช้ CRD มี 4 ทรีตเมนต์ มีการทาซ้า 5 ซ้า เท่ากัน มีขั้นตอนดังนี้ 1. เขียนหมายเลข 1 – 20 กากับแต่ละหน่วยทดลอง (มี 4 x 5 = 20 หน่วยทดลอง) พร้อมเขียนฉลาก หมายเลข 1 – 20 ใส่กล่องใบที่ 1 2. เขียนฉลาก จานวน 20 ใบ ดังนี้ t1r1 แทนการใช้ทรีตเมนต์ที่ 1 และเป็นซ้าที่ 1 t1r2 แทนการใช้ทรีตเมนต์ที่ 1 และเป็นซ้าที่ 2 . .. t4r5 แทนการใช้ทรีตเมนต์ที่ 4 และเป็นซ้าที่ 5 ใส่กล่องใบที่ 2 3. ดาเนินการสุ่มหยิบฉลากจากกล่องใบที่ 1 และจากกล่องใบที่ 2 จับคู่กันจนครบ จะได้ว่าหน่วยทดลอง หมายเลขใดใช้กับทรีตเมนต์ใดและเป็นซ้าที่เท่าไร เช่น สุ่มหยิบฉลากใบแรก จากกล่องใบที่ 1 ได้ฉลาก หมายเลข 11 และหยิบ ฉลากใบแรกจากกล่องใบที่ 2 เป็น t1r3 แสดงว่า หน่วยทดลองหมายเลข 11 จะถูก ทดลองโดยใช้ทรีตเมนต์ที่ 1 และเป็นซ้าที่ 3 2 2.4 ผังการทดลอง ในงานทดลองบางลักษณะ เช่น การทดลองในแปลงทดลอง เมื่อทาการสุ่มจัดทรีตเมนต์ให้กับหน่วยทดลอง เรียบร้อยแล้ว ควรจัดทาผังการสุ่ม ซึ่งคือแผนผังแสดงให้ทราบว่าหน่วยทดลอง (แปลงทดลอง) แต่ละหน่วยใช้กับทรีต เมนต์ใดและเป็นซ้าที่เท่าไร เก็บไว้เป็นหลักฐานเพื่อนาไปใช้ในการอ้างอิง 2.5 ตารางค่าสังเกต และสัญลักษณ์ เมื่อทาการทดลองตามผังการทดลองเรียบร้อยแล้ว เพื่อนาไปประมวลผลและนาเสนอต่อไป ดังนี้ ซ้าที่ 1 2 2 X11 X 21 X12 X 22 … … 1 i Xi1 X i2 … … nj รวม ( T. j ) เฉลี่ย (X. j ) Xn j 1 T.1 X .1 Xn jt T.2 X .2 นาข้อมูลที่รวบรวมได้จากการทดลองจัดเตรียมใส่ตารางไว้ ทรีตเมนต์ j … X 1j … X2j … … … X ij … … … Xn j j … … … … … … … … … … … T. j X.j … T X 1t X 2t … … Xn jt T. t X .t เมื่อ Xij = ค่าสังเกตของทรีตเมนต์ที่ j ซ้าที่ i i = 1, 2, ... , nj , j = 1, 2, ... , t T.j = ผลรวมของทรีตเมนต์ที่ j (รวมจาก nj ค่า) T X . j = ค่าเฉลี่ยของทรีตเมนต์ที่ j = . j , N = n1 n2 ... nt N T.. = ผลรวมของค่าสังเกตทั้งหมด (รวมจาก N ค่า) T X.. = ค่าเฉลี่ยของทั้งหมด = .. N 2.6 ตัวแบบเชิงเส้นและข้อสมมติเบื้องต้น 2.6.1 ตัวแบบเชิงเส้น (linear model) เป็นฟังก์ชั่นที่แสดงให้ทราบว่าสังเกตมีความสัมพันธ์กับค่าใดบ้าง โดยจะแสดง ความสัมพันธ์อยู่ในรูปสมการเชิงเส้น ดังนี้ ตัวแบบเชิงเส้นของ CRD คือ X ij j ij เมื่อ Xij = ค่าสังเกตของทรีตเมนต์ที่ j ซ้าที่ i , j = อิทธิพลของทรีตเมนต์ที่ j = j - , = ค่าเฉลี่ยของทั้งหมด (ประชากร) ij = ความคลาดเคลื่อนของหน่วยทดลองที่ ij 3 2.6.2 ข้อสมมติ/ข้อกาหนดเบื้องต้น (Assumptions) คือเงื่อนไขเกี่ยวกับการนาสูตรหรือทฤษฎีต่าง ๆ ทางสถิติไป ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพ ข้อสมมติเบื้องต้นของ CRD มีดังนี้คือ 1. ตัวอย่างถูกสุ่มจาก t ประชากรที่แตกต่างกัน และเป็นอิสระกัน 2. แต่ละประชากรมีการแจกแจงปกติ 3. แต่ละประชากรมีความแปรปรวนเท่ากัน 4. ข้อสมมติเชิงทฤษฏีเกี่ยวกับอิทธิพลของทรีตเมนต์ มี 2 ลักษณะ ถ้าอิทธิพลของทรีตเมนต์เป็นแบบกาหนด(Fixed effect model หรือ Model I) อิทธิพลของทรีตเมนต์(j) มีค่าคงที่ และ j = 0 ถ้าอิทธิพลของทรีตเมนต์เป็นแบบสุ่ม( Random effect Model หรือ Model II) อิทธิพลของทรีตเมนต์ (j)เป็นตัวแปรที่มีการแจกแจงปกติด้วยค่าเฉลี่ย 0 ความแปรปรวน 2 ; [ jN (0, 2 ) ] 2.7 อิทธิพลแบบกาหนดและแบบสุ่ม อิทธิพลของทรีตเมนต์ที่ใช้ในการทดลอง มี 2 ลักษณะ คือ 1. อิทธิพลแบบกาหนด (fixed effect model or model I) หมายถึงอิทธิพลที่เกิดจากทรีตเมนตที่ใช้ในการทดลองซึ่งถูกกาหนดโดยความต้องการของผู้ทดลองไว้ก่อน 2. อิทธิพลแบบสุ่ม (random effect model or model II) หมายถึงอิทธิพลที่เกิดจากทรีตเมนตที่ใช้ในการทดลองซึ่งถูกสุ่มจากประชากรทรีตเมนต์ที่มีอยู่ 2.8 สมมติฐานที่จะทดสอบ H0 : 1= 2 = ... = t = (ทุกทรีตเมนต์มีค่าเฉลี่ยไม่ต่างกัน ) H1 : ทรีตเมนต์ที่ต่างกัน t ทรีตเมนต์ มีอย่างน้อย 1 ทรีตเมนต์ มีค่าเฉลี่ยต่างจาก ทรีตเมนต์ อื่น ๆ หมายเหตุ การกาหนด H0 ตามลักษณะของอิทธิพลของทรีตเมนต์ กาหนดได้เป็นดังนี้ และ H0 : all j = 0 (1 = 2 = ... = t = 0) เมื่ออิทธิพลของทรีตเมนต์เป็นแบบกาหนด H0 : 2 = 0 (ความแปรปรวนของอิทธิพลของทรีตเมนต์ = 0 ; อิทธิพลของทรีตเมนต์มีค่าเท่ากัน และ=0) เมื่ออิทธิพลของทรีตเมนต์เป็นแบบสุ่ม 4 2.9 การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis Of Variance ; ANOVA, AOV) เมื่อตรวจสอบข้อมูลที่รวบรวมได้จากการทดลองว่าเป็นจริงตามข้อสมมติเบื้องต้นแล้ว ในการนาข้อมูลไป วิเคราะห์เพื่อหาค่าสถิติทดสอบสาหรับทดสอบสมมติฐานดังกล่าวข้างต้น จะใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน ซึ่งจะให้ ค่าสถิติทดสอบเป็นค่าของตัวแปร F ดังนี้ 2.9.1 การแบ่งแยกผลรวมกาลังสองและการคานวณ จะได้ SST = SSTr + SSE ***** เมื่อ SST = ผลรวมของส่วนเบี่ยงเบนกาลังสองทั้งหมด (Sum of Squares of Total) = ( X ij X .. ) 2 = X ij2 C.T. SSTr = ผลรวมของส่วนเบี่ยงเบนกาลังสองของทรีตเมนต์ (Sum of Squares of Treatment) T. 2j = n j ( X . j X .. ) = - C.T. nj 2 SSE = ผลรวมของส่วนเบี่ยงเบนกาลังสองของความคลาดเคลื่อน(Sum of Squares of Error) = ( X ij X . j ) 2 = SST - SSTr T..2 และ C.T. (Correction Term) = (หรือ C.F. ; Correction Factor) N 2.9.2 กาลังสองเฉลี่ยและค่าคาดหวังของกาลังสองเฉลี่ย [ Mean Squares and Expected Mean Squares ] กาลังสองเฉลี่ย (Mean Square ; MS) หรือส่วนเบี่ยงเบนกาลังสองเฉลี่ย คือค่าความแปรปรวน คานวณได้ จากการหารผลรวมกาลังสอง (SS) ด้วยระดับขั้นความเป็นอิสระ (d.f.) Sum of square Mean squares = deg ree of freedom การคิดค่า d.f. ของส่วนใด ๆ ยกเว้นของส่วนความคลาดเคลื่อน ใช้วิธีนับจานวนค่าทั้งหมดของส่วนนั้น ๆ แล้ว ลบด้วย 1 สาหรับ d.f. ของส่วนความคลาดเคลื่อน จะคิดได้ในลักษณะเดียวกับการคานวณค่าผลรวมกาลังสองของ ความคลาดเคลื่อน สาหรับ CRD จะมี d.f. Total = N - 1 , d.f. Treatment = t – 1 และ d.f Error = N -t ค่าคาดหวังของกาลังสองเฉลี่ย [ Expected Mean Squares ; E(MS) ] คือ ค่าความแปรปรวนที่แสดงใน ลักษณะค่าพารามิเตอร์ (Parameters) ที่เป็นค่าของประชากร ซึ่งค่า E(MS) ของส่วนต่างๆ เป็นดังนี้ 2 N n2j / N n j j 2 2 2 Model I ; E(MSTr) = , Model II ; E(MSTr) = n0 เมื่อ n 0 = t 1 t 1 2 E(MSE) = จะได้ค่า MSTr เป็นค่าประมาณของ E(MSTr) และ MSE เป็นค่าประมาณของ E(MSE) 5 2.9.3 ค่าสถิติทดสอบ (Test Statistics) จาก หรือ H0 : 1= 2 = ... = t = (ทุกทรีตเมนต์มีค่าเฉลี่ยไม่ต่างกัน ) H0 : all j = 0 1 = 2 = ... = t = 0 ; Model I 2 MSTr n ถ้า all j = 0 จะได้ E(MSTr) = j j = 2 = E(MSE) F , d.f. = t –1 , N - t t 1 MSE 2 ถ้า MSTr > MSE อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ j อย่างน้อย 1 ค่า 0 ทรีตเมนต์ที่ต่างกัน t ทรีตเมนต์ มีอย่างน้อย 1 ทรีตเมนต์ มีค่าเฉลี่ยต่างจาก ทรีตเมนต์ อื่น ๆ (หรือค่าเฉลี่ยของทรีตเมนต์อย่างน้อย2 ค่ามีค่าแตกต่างกัน) MSTr > MSE อย่างมีนัยสาคัญ ปฏิเสธ H0 เมื่อ F คานวณ> F ตาราง อีกนัยหนึ่ง คือ อาณาเขตวิกฤต คือ F > F,( t 1, Nt ) ****** 2.9.4 ตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวน จากค่าต่าง ๆ ที่กล่าวแล้ว สรุปเป็นตารางวิเคราะห์ความแปรปรวน เพื่อทดสอบสมมติฐาน H0 ได้ดังนี้ ตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวนสาหรับ CRD Source of Variation d.f. SS MS F ทรีตเมนต์ (Treatment) [ระหว่างกลุ่ม (Among groups)] t-1 SSTr MSTr ความคลาดเคลื่อน (Error) N-t SSE MSE [ภายในกลุ่ม (Within group) ] Total N-1 SST F EMS 2 MSTr n j j 2 MSE t 1 ; (I) 2 n0 2 ; (II) 2 2.9.5 สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน (C.V.) ในการแสดงความน่าเชื่อถือของการทดลอง แสดงด้วยค่าสัมประสิทธิ์ ความแปรผัน ; C.V. = MSE X.. x 100 % ตัวอย่างที่ 2.1 ทดลองใช้วิธีสกัดสารที่ต่างกัน 4 วิธี ในการสกัดสารชนิดหนึ่งจากยอดลาไย การทดลองทาโดยสุ่มยอด ลาไยขนาดเดียวกันจากต้นลาไยต้นหนึ่ง มาจานวน 20 ยอด สุ่มแต่ละยอดนาไปใช้วิธีสกัดสารวิธีต่าง ๆ วิธีละ 5 ยอด ปริมาณสารที่สกัดได้มีหน่วยเป็นไมโครกรัม แสดงดังตาราง ซ้าที่ 1 2 3 4 5 รวม วิธีที่ 1 12.4 11.3 11.8 12.5 12.0 60.0 วิธีที่ 2 9.8 10.1 9.7 9.9 10.5 50.0 วิธีที่ 3 9.5 9.7 9.4 8.7 9.2 46.5 วิธีที่ 4 10.3 11.2 10.3 11.7 10.5 54.0 6 จงวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานว่า วิธีสกัดสารที่ต่างกัน 4 วิธี ให้ผลต่างกันหรือไม่ ใช้ระดับนัยสาคัญ 0.05 และ 0.01 กาหนดว่าปริมาณสารที่สกัดได้ด้วยวิธีที่ต่างกัน 4 วิธี มีการแจกแจงปกติด้วยความแปรปรวนเท่ากัน การทดลองนี้มีวิธีสกัดสารแต่ละวิธี เป็นทรีตเมนต์ กระทากับยอดลาไยแต่ละยอด ซึ่งคือหน่วยทดลอง ยอดลาไย ที่ใช้มีทั้งหมด 20 ยอด แต่ละยอดควรจะมีอายุของยอด (ความแก่อ่อน) พอ ๆ กัน หรือเหมือน ๆ กัน การใช้วิธีสกัดแต่ละ วิธีกระทากับยอดลาไย จานวนวิธีละ 5 ยอด แสดงว่ามีการทาซ้า 5 ซ้า แผนการทดลองที่เหมาะสม คือ แผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ ในการทดลองต้องการเปรียบเทียบว่าวิธีที่ต่างวิธี 4 วิธี จะให้ผลต่างกันหรือไม่ โดยผู้ทดลองใช้ค่าสังเกตคือ ปริมาณสารที่สกัดได้เป็นค่าที่นามาเปรียบเทียบกัน ซึ่งวิธีการทางสถิติที่นามาใช้ในขบวนการหาคาตอบ คือวิธีการ วิเคราะห์ความแปรปรวน ดังนี้ กาหนดสมมติฐานทางสถิติที่จะทดสอบ H0 : การใช้วิธีสกัดที่ต่างกัน 4 วิธี ให้ผล (ค่าเฉลี่ยของปริมาณสารที่สกัดได้ ) ไม่ต่างกัน H1 : การใช้วิธีสกัดที่ต่างกัน 4 วิธี (มีอย่างน้อย 2 วิธี) ให้ผลต่างกัน กาหนดระดับนัยสาคัญที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ระดับนัยสาคัญ () = 0.05 และ 0.01 วิเคราะห์ความแปรปรวนเพื่อหาค่าสถิติทดสอบ คานวณค่า SS C.T. = ( 60 . 0 50 . 0 46 . 5 54 . 0 ) 2 20 = 210 . 50 2 20 = 2,215.51 SST = 12 .4 2 ... 10 .5 2 - 2,215.51 = 23.62 SSTr (วิธีสกัด) = 60 . 0 2 54 . 0 2 ... 5 5 - 2,215.51 = 20.14 SSE = 23.62 – 20.14 = 3.48 ตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA table) Source d.f. SS F-table MS F-ratio ** วิธีสกัด 3 20.14 6.71 Error Total 16 19 3.48 23.62 0.22 30.86 0.05 0.01 3.24 5.29 สรุปผลการทดสอบ เพราะว่า ค่าสถิติทดสอบ F = 30.86 > F0.01,(3,6) = 5.29 ดังนั้น ปฏิเสธ H0 แสดงว่า การใช้วิธีสกัดที่ ต่างกัน 4 วิธี ให้ผลต่างกันต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง (จะต้องมีการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยต่อไปว่า ค่าเฉลี่ยจากวิธี สกัดวิธีที่ให้ผลดีที่สุด) การทดลองนี้ มีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผัน (C.V.) ร้อยละ = 0 . 22 x 100 210 . 50 / 20 = 4.43 7 ตัวอย่างที่ 2.2 ทดลองใช้ยากาจัดแมลงศัตรูพืชที่ต่างกัน 3 ชนิด ในการปลูกข้าวพันธุ์ ก. การทดลองทาโดยการปลูก ข้าวพันธุ์ ก. ในแปลงทดลองขนาดเท่า ๆ กัน จานวน 15 แปลง สุ่มใช้ยาแต่ละชนิดพ่นกาจัดแมลงศัตรูพืชเป็นระยะๆ ระหว่างการทดลองแปลงทดลองถูกวัวหลุดเข้าไปทาลายเสียหายจานวน 3 แปลง เมื่อเสร็จการทดลองเก็บผลผลิตข้าว แต่ละแปลง (กิโลกรัม) ได้ค่าดังตาราง แปลง 1 2 3 4 5 รวม ชนิด 1. 36 33 ชนิด 2. 57 53 43 54 48 255 48 117 ชนิด 3. 50 41 47 42 180 จงสรุปผลการทดลอง กาหนดระดับนัยสาคัญ 0.05 และ 0.01 (กาหนดว่าผลผลิตข้าวพันธุ์ ก . ที่ใช้ยาแต่ละ ชนิดมีการแจกแจงปกติด้วยความแปรปรวนเท่ากัน ) การทดลองนี้มียากาจัดแมลงศัตรูพืชแต่ละชนิด เป็นทรีตเมนต์ ใช้กับข้าวพันธ์ ก . ในแต่ละแปลง ซึ่งคือหน่วย ทดลอง มีจานวนทั้งหมด 15 แปลง ในการปลูกข้าวพันธุ์ ก . แต่ละแปลงควรกระทาเหมือน ๆ กัน และแปลงทดลองแต่ ละแปลงควรมีสภาพต่าง ๆ เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดินเหมือน ๆ กัน ใช้ยากาจัดแมลงศัตรูพืชแต่ละชนิดกับข้าวพันธุ์ ก. ชนิดละ 5 แปลง คือมีจานวนซ้าในตอนเริ่มต้นเท่ากัน แต่ระหว่างทดลองข้าวในแปลงทดลองเกิดความเสียหาย เป็น ผลทาให้เกิดจานวนซ้าที่ไม่เท่ากัน แผนการทดลองที่เหมาะสม คือ แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ในการทดลองต้องการเปรียบเทียบว่ายากาจัดแมลงศัตรูพืชที่ต่างกัน 3 ชนิด จะให้ผลต่างกันหรือไม่ โดยผู้ ทดลองใช้ค่าสังเกตคือผลผลิตข้าวพันธุ์ ก .ที่เก็บเกี่ยวได้เป็นค่าที่นามาเปรียบเทียบกัน วิธีการทางสถิติที่นามาใช้ในการ หาคาตอบ คือวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน กาหนดสมมติฐานทางสถิติที่จะทดสอบ H0 : การใช้ยากาจัดแมลงศัตรูพืชที่ต่างกัน 3 ชนิด ให้ผล (ค่าเฉลี่ยของผลผลิตข้าว) ไม่ต่างกัน H1 : การใช้ยากาจัดแมลงศัตรูพืชที่ต่างกัน 3 ชนิด (มีอย่างน้อย 1 ชนิด) ให้ผลต่างกัน (จากชนิดอื่น ๆ ) กาหนดระดับนัยสาคัญที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ระดับนัยสาคัญ () = 0.05 และ 0.01 วิเคราะห์ความแปรปรวนเพื่อหาค่าสถิติทดสอบ คานวณค่า SS C.T. = (117 255 180 ) 2 12 = 552 2 12 = 25,392.00 SST = 36 2 ... 42 2 - 25,392.00 = 578.00 SSTr (ยา) = 117 3 2 255 2 180 5 4 SSE = 578.00 – 276.00 = 302.00 2 - 25,392.00 = 276.00 8 ตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA table) Source d.f. SS MS วิธีสกัด 2 276.00 138.00 Error Total 9 11 302.00 578.00 33.56 F-ratio 4.11 ns F-table 0.05 0.01 4.26 8.02 สรุปผลการทดสอบ เพราะว่า ค่าสถิติทดสอบ F = 4.11 < F0.05,(2,9) = 4.26 ดังนั้น ยอมรับ H0 แสดงว่า การใช้ยากาจัด แมลงศัตรูพืชที่ต่างกัน 3 ชนิด ให้ผลไม่ต่างกัน (หรือต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญ ) การทดลองนี้ มีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผัน (C.V.) ร้อยละ = 33 . 56 x 100 552 / 12 = 12.59 2.10 การประมาณค่าเฉลี่ยของทรีตเมนต์ ในการประมาณค่าเฉลี่ยของทรีตเมนต์ที่ j ใด ๆ ที่ต้องการ จะได้ค่าเฉลี่ยของตัวอย่างของทรีตเมนต์ที่ j ( X . j ) เป็นค่าประมาณแบบค่าเดียวสาหรับค่าเฉลี่ยของทรีตเมนต์ที่ j (. j ) และค่าประมาณของ . j ที่ช่วงความเชื่อมั่น (1 ) x 100 % จะมีค่าอยู่ระหว่าง X. j t / 2, x MSE nj ; . = d.f. ของ error ตัวอย่างที่ 2.3 จากตัวอย่างที่ 2.1 จงประมาณค่าเฉลี่ยของปริมาณสารที่สกัดได้จากยอดลาไยด้วยวิธีสกัดวิธีที่ 2 กาหนดช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ค่าเฉลี่ยของปริมาณสารที่สกัดได้จากยอดลาไยด้วยวิธีสกัดวิธีที่ 2 จากการทดลอง คือ X.2 = 50 . 0 5 = 10.00 ไมโครกรัม ที่ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จะได้ค่าประมาณของ . 2 มีค่าอยู่ระหว่าง 10 . 0 2 . 120 x 0 . 22 5 = 10.0 0.20 ไมโครกรัม = 9.80 และ 10.20 ไมโครกรัม 2.11 ความสัมพันธ์ระหว่างการทดสอบแบบทีและการทดสอบแบบเอฟ ในการทดลองที่ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ และมี 2 ทรีตเมนต์ นอกจากการใช้วิธีวิเคราะห์ความ แปรปรวนในการหาค่าสถิติทดสอบ F แล้ว อาจใช้วิธีการทดสอบแบบที (t – test) ที่ใช้สาหรับการทดสอบเกี่ยวกับ ผลต่างของค่าเฉลี่ย 2 ประชากรที่เป็นอิสระกัน ในกรณีที่ความแปรปรวนของประชากรมีค่าเท่ากัน (12 22 2 ) ดังนี้ 9 จากการทดสอบแบบที ในกรณีที่ประชากร 2 กลุ่ม มีค่าความแปรปรวนเท่ากัน จะได้ค่าสถิติทดสอบ คือ X1 X 2 t = ; d.f. = n1 + n2 – 2 1 2 1 sp ( ) n2 n2 โดย s 2 p (n1 1)s12 (n2 1)s 22 = n1 n2 2 และเมื่อใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน ซึ่งมีข้อสมมติว่าประชากรทั้ง 2 กลุ่ม มีค่าความแปรปรวนเท่ากัน (12 22 2 ) จะได้ค่าสถิติทดสอบ คือ MSTr F = ; d.f.= 1, n1 + n2 – 2 MSE ( X1 X 2 )2 MSTr 2 ซึ่งจะได้ว่า t F 1 1 MSE s p2 ( ) n2 n2 ตัวอย่างที่ 2.4 ในการทดลอง1เพื่อศึกษาวิธีการเก็บรักษาผลกระทกรกฝรั่งที่ต่างกัน 2 วิธี หน่วยทดลองคือผลกระทกรก ฝรั่งที่แก่เต็มที่ มีสีเหลืองและยังแข็งอยู่ โดยเลือกผลที่ร่วงจากต้นภายใน 1 วัน มีขนาดและน้าหนักเท่า ๆ กัน ไม่มี ร่องรอยการเข้าทาลายของโรคและแมลง วิธีที่ใช้ในการเก็บรักษา ได้แก่ วิธีที่ 1 นาผลกระทกรกฝรั่งใส่ถุงพลาสติกที่เจาะรูไว้ 24 รู เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง วิธีที่ 2 นาผลกระทกรกฝรั่งชุบสารเคลือบ2 (semperfresh) โดยการใช้สาลีจุ่มสารเคลือบทาผิวของผลให้ทั่ว ผึ่ง ลมให้แห้งประมาณ 2 – 3 นาที แล้วใส่ถุงพลาสติก มัดปากถุงเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์มีจานวน 5 ซ้าเท่ากัน หลังจากทดลองเก็บรักษาไว้เป็นเวลา 5 วัน นาผลกระทกรก ฝรั่งมาชั่งน้าหนัก (กรัม) ได้ค่าเป็นดังนี้ วิธีที่ 1 : วิธีที่ 2 : 56.7, 55.2, 56.3, 54.1, 58.6, 53.4, 56.9, 54.5, 57.1 52.8 กาหนดว่าน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่เก็บรักษาด้วยแต่ละวิธีมีการแจกแจงปกติ จงทดสอบว่าค่าเฉลี่ยของน้าหนัก ผลกระทกรกฝรั่งที่เก็บรักษาด้วยวิธีที่ต่างกัน 2 วิธีนี้มีค่าต่างกันหรือไม่ กาหนดระดับนัยสาคัญ 0.05 และ 0.01 หมายเหตุ 1. ดัดแปลงจากปัญหาพิเศษ เรื่อง วิธีการต่าง ๆ ในการเก็บรักษาผลกระทกรกฝรั่ง ของนายทรงศักดิ์ แซ่ตั้น สาขาไม้ผล ภาควิชาเทคโนโลยีทางพืช คณะผลิตกรรมการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่ 2531 2. ใช้สารเคลือบ 20 กรัม ผสมน้าอุ่น 200 ลบ.ซม. คนให้เข้ากันประมาณ 15 นาที แล้วเติมด้วยน้าอีก 800 ลบ.ซม. (สารเคลือบ 20 กรัม ต่อน้า 1 ลิตร) 10 การทดลองนี้มีวิธีเก็บรักษาแต่ละวิธีเป็นทรีตเมนต์ มีจานวน 2 ทรีตเมนต์ และใช้ CRD ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปผลการทดลองว่าวิธีเก็บรักษาที่ต่างกัน 2 วิธี จะให้ผลต่างกันหรือไม่ โดยการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของน้าหนักผล กระทกรกฝรั่งที่เหลืออยู่หลังการทดลองว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน ในเบื้องต้นต้องตรวจสอบการเท่ากันของความ แปรปรวนของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือก่อน แล้วจึงทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยต่อไป ดังนี้ ก. ตรวจสอบการเท่ากันของความแปรปรวนของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือ กาหนดสมมติฐานทางสถิติที่จะทดสอบ H0 : การใช้วิธีเก็บรักษาวิธีที่ 1 และ 2 ให้ค่าความแปรปรวนของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือไม่ต่างกัน H1 : การใช้วิธีเก็บรักษาวิธีที่ 1 และ 2 ให้ค่าความแปรปรวนของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่ง ที่คงเหลือต่างกัน กาหนดระดับนัยสาคัญ () = 0.05 (โดยทั่วไปนิยมใช้ 0.05) คานวณค่าสถิติทดสอบ คานวณค่าสถิติต่าง ๆ ได้เป็นดังนี้ X 1 = 285.6 , X1 2 = 16,316.56 . X 1 = 57.12 , S 12 = 0.7720 X 2 = 270.0 * , X2 2 = 14,583.50 . X 2 = 54.00 , S 22 = 0.8750 คานวณค่าสถิติทดสอบ F (F –Test ) F= 0 . 7720 0 . 8750 = 0.88 ; d.f. = 4, 4 * (หมายเหตุ การทดสอบทาได้หลายวิธี ) สรุปผลการทดสอบ อาณาเขตวิกฤต คือ F < F0.975,(4,4) = 0.104 และ F > F0.025,(4,4) = 9.60 เพราะว่า ค่าสถิติทดสอบ F = 0.88 มีค่าอยู่ระหว่าง F0.975,(4,4) = 0.104 และ F0.025,(4,4) = 9.60 ดังนั้น ยอมรับ H0 แสดงว่า การใช้วิธีเก็บรักษาวิธีที่ 1 และ 2 ให้ค่าความแปรปรวนของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่ คงเหลือไม่ต่างกัน ข. เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือ กาหนดสมมติฐานทางสถิติที่จะทดสอบ H0 : การใช้วิธีเก็บรักษาวิธีที่ 1 และ 2 ให้ค่าเฉลี่ยของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือไม่ต่างกัน H1 : การใช้วิธีเก็บรักษาวิธีที่ 1 และ 2 ให้ค่าเฉลี่ยของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือต่างกัน กาหนดระดับนัยสาคัญที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ระดับนัยสาคัญ () = 0.05 และ 0.01 11 คานวณค่าสถิติทดสอบและสรุปผลการทดสอบ 1. วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน คานวณค่า SS C.T. = ( 285 . 6 270 . 0 ) 2 10 = 555 . 6 2 10 = 30,869.14 SST = 56 .7 2 ... 52 .8 2 - 30,869.14 = 30.92 SSTr (ยา) = 285 . 6 2 270 . 0 2 5 5 - 30,869.14 = 24.33 SSE = 30.92 – 24.33 = 6.59 ตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA table) Source d.f. SS MS วิธีเก็บรักษา 1 24.33 24.33 Error Total 8 9 6.59 30.92 0.82 F-ratio 29.67 ** F-table 0.05 0.01 5.32 11.26 เพราะว่า ค่าสถิติทดสอบ F = 29.67 > F0.01,(2,9) = 11.26 ดังนั้น ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 2. การทดสอบแบบที ค่าสถิติทดสอบ คือ t = 57 . 12 54 . 0 4 x 0 . 7720 4 x 0 . 8750 552 1 1 . 5 5 = 5.436 อาณาเขตวิกฤต ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 คือ t < -t0.005,8 = -3.355 และ t > t0.005,8 = 3.355 เพราะว่า ค่าสถิติทดสอบ t = 5.436 > t0.005,8 = 3.355 ดังนั้น ปฎิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 แสดงว่า การใช้วิธีเก็บรักษาวิธีที่ 1 และ 2 ให้ค่าเฉลี่ยของน้าหนักผลกระทกรกฝรั่งที่คงเหลือต่างกัน (อย่างมี นัยสาคัญอย่างยิ่ง) 2.12 ข้อดีและข้อจากัดของแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ข้อดี 1. 2. 3. 4. การวิเคราะห์สะดวกและง่าย จานวนซ้าไม่จาเป็นต้องเท่ากันในแต่ละทรีตเมนต์ เมื่อเกิดข้อมูลสูญหาย การสูญเสียข้อความจริงมีน้อยกว่าแผนการทดลองอื่น ๆ ระดับขั้นความเป็นอิสระ (d.f.) ของความคลาดเคลื่อน มีมากกว่าแผนการทดลองอื่น ทาให้ผลการทดลองมี ความเที่ยงตรงสูง 12 ข้อจากัด ในงานทดลองที่ไม่สามารถหาหน่วยทดลองที่เหมือน ๆ กันมาใช้ในการทดลองได้ ถ้าใช้แผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ในการทดลอง จะทาให้ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างหน่วยทดลองถูกรวมอยู่ใน ความคลาดเคลื่อนของการทดลองด้วย เป็นผลทาให้ความคลาดเคลื่อนของการทดลองเกิดขึ้นมากกว่าปกติ ทาให้งาน ทดลองไม่ค่อยน่าเชื่อถือ เป็นการทดลองที่ขาดประสิทธิภาพ ดังนั้นข้อเสียของแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ก็คือการ ไม่สามารถหาหน่วยทดลองที่เหมือน ๆ กันมาใช้ในการทดลองได้นั่นเอง 2.13 การตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูลด้วยกราฟแบบจุด (Dot Graph) กราฟแบบจุดสร้างได้ด้วยการกาหนดให้แกน X แทนค่าสังเกต และแกน Y แทนกลุ่มของค่าสังเกต แล้วลงจุด แสดงค่าสังเกตแต่ละค่าให้สอดคล้องกับกลุ่ม จะได้กราฟแสดงการกระจายของค่าสังเกตในแต่ละกลุ่ม สาหรับใช้ในการ พิจารณาเพื่อเปรียบเทียบการกระจายของค่าสังเกตในแต่ละกลุ่มในเบื้องต้นได้ว่าเหมือน ๆ กัน (ความแปรปรวนเท่ากัน) หรือไม่เหมือนกัน (ความแปรปรวนไม่เท่ากัน) อันเป็นการวินิจฉัยเบื้องต้นอย่างคร่าว ๆ เกี่ยวกับข้อสมมติเบื้องต้นที่ว่า ความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มมีค่าเท่ากันหรือไม่ นอกจากนี้แล้วสามารถพิจารณาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของแต่ละกลุ่ม ได้ด้วยว่ามีแนวโน้มจะเท่ากันหรือไม่เท่ากันอย่างไร ตัวอย่างที่ 2.5 ทดลองคัดเลือกความแก่ของมะม่วงแก้วด้วยวิธีลอยมะม่วงในน้าเกลือที่มีความเข้มข้นต่างกัน 3 ระดับ คือความเข้มข้น 2, 4 และ 6% การทดลองทาโดยนามะม่วงแก้วลอยในน้าเปล่า แล้วคัดเฉพาะมะม่วงแก้วที่จมน้านาไปลอยในน้าเกลือที่มีความ เข้มข้นต่างๆ คัดมะม่วงออกมาได้ 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 คือมะม่วงที่จมน้า แต่ลอยในน้าเกลือเข้มข้น 2% กลุ่มที่ 2 คือมะม่วงที่จมน้า และน้าเกลือเข้มข้น 2% แต่ลอยในน้าเกลือเข้มข้น 4% กลุ่มที่ 3 คือมะม่วงที่จมน้า น้าเกลือเข้มข้น 2% และ 4% แต่ลอยในน้าเกลือเข้มข้น 6% สุ่มมะม่วงจากแต่ละกลุ่มๆ ละ เซนติเมตร ได้ค่าเป็นดังนี้ กลุ่มที่ 1 : กลุ่มที่ 2 : กลุ่มที่ 3 : 8 ผล นามาวัดความแน่นเนื้อด้วยเครื่องมือ 25, 25, 19, 26, 22, 17, 24, 23, 18, จงสร้างกราฟแบบจุด สรุปผลและวิจารณ์กราฟที่ได้ 24, 24, 19, 23, 18, 20, 24, 24, 19, 24, 25, 17, มีหน่วยเป็นกิโลกรัม /ตาราง 25 24 16 13 วิธีคัดเลือก 4.0 3.0 2.0 1.0 0.0 14 16 18 20 22 24 26 28 ความแน่นเนื้อ จากกราฟพบว่า ค่าความแน่นเนื้อของมะม่วงกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 3 น่าจะมีการกระจายพอ ๆ กัน และกระจาย น้อยกว่าของกลุ่มที่ 2 แสดงว่า มีแนวโน้มที่ความแปรปรวนของความแน่นเนื้อของมะม่วงของกลุ่มที่ 2 จะมีค่าไม่เท่ากับ ของกลุ่มที่ 1 และ 3 เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของแต่ละกลุ่มพบว่า กลุ่มที่ 1 และ 2 น่าจะมีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกัน และน่าจะมีค่ามากกว่า ของกลุ่มที่ 3 2.14 การทดสอบการเท่ากันของความแปรปรวนที่มากกว่า 2 กลุ่ม ในการวิเคราะห์ความแปรปรวนสาหรับแผนการทดลองแบบต่าง ๆ จะมีข้อสมมติเบื้องต้นที่สาคัญประการหนึ่ง คือ ประชากรแต่ละกลุ่มต้องมีการแจกแจงปกติ และมีความแปรปรวนเท่ากัน ดังนั้น ก่อนใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน ในการประมวลผลข้อมูล ควรมีการตรวจสอบข้อสมมติเบื้องต้นก่อน ในการตรวจสอบการเท่ากันของความแปรปรวน ด้วยวิธีการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ มีวิธีการทางสถิติที่ใช้หลายวิธี แต่ละวิธีมีสมมติฐานทางสถิติที่จะต้องทดสอบ คือ H0 : 12 22 2t 2 H1 : ความแปรปรวนของประชากรอย่างน้อย 2 กลุ่ม มีค่าต่างกัน วิธีการที่ใช้ในการทดสอบ ได้แก่ 1. วิธีของฮาร์ทเลย์ (Hartley's test) ค่าสถิติทดสอบ คือ Fmax (คานวณ) = S l2argest 2 S smallest , d.f.= t, อาณาเขตวิกฤต คือ Fmax (คานวณ) > Fmax[ ,( t , )] (ตาราง) เมื่อ t = จานวนกลุ่มของประชากร , = จานวนซ้าที่มีค่ามากสุด - 1 = ระดับนัยสาคัญ Fmax[ ,( t , )] (ตาราง) เปิดได้จากตาราง Fmax distribution 14 2. วิธีของคอคแครน (Cochran's test) S l2argest ค่าสถิติทดสอบ คือ C (Q) = , d.f.= t, 2 S j อาณาเขตวิกฤต คือ C (Q) > C(Q),( t , ) ค่า C(Q),( t , ) เปิดได้จากตาราง Critical values for Cochran's test for Homogeneity variance หมายเหตุ โดยทั่วไป วิธีของฮาร์ทเลย์และวิธีของคอคแครน นิยมใช้กับการทดลองในกรณีที่มีจานวนซ้าเท่ากัน 3. วิธีของบาร์ทเลท (Bartlet's test) 2.3026 ค่าสถิติทดสอบ คือ 2 [(N t ) log sp2 (n j 1) log s 2j ] , d.f.= t -1 C เมื่อ C 1 1 1 1 [ ] ; N = nj 3( t 1) nj 1 N t อาณาเขตวิกฤต คือ 2 2 ,( t 1) 4. วิธีของเลเวเน่ (Levene's test) MSTr ค่าสถิติทดสอบ คือ F , d.f.= t -1, N - t MSE ได้จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนสาหรับแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ โดยมีค่าสังเกตที่ใช้ในการวิเคราะห์ ความแปรปรวน คือ ค่าส่วนเบี่ยงเบนสัมบูรณ์ที่ค่าสังเกตเบี่ยงเบนไปจากค่าเฉลี่ยของกลุ่ม ( X ij X . j ) อาณาเขตวิกฤต คือ F F,[( t 1),(Nt )] อย่างไรก็ตาม ได้มีการวิจัยทดลองทางสถิติที่พอจะสรุปได้ว่า การใช้จานวนซ้าที่เท่ากันในการทดลอง จะยังคงทา ให้การใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนในการประมวลผลข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ แม้ว่าความแปรปรวนของประชากรจะไม่ เท่ากัน ตัวอย่างที่ 2.6 จากตัวอย่างที่ 2.5 จงทดสอบการเท่ากันของความแปรปรวน โดยใช้วิธีของคอคแครน กาหนดระดับ นัยสาคัญ 0.05 H0 : การใช้วิธีคัดเลือกที่ต่างกัน 3 วิธี ให้ค่าความแปรปรวนของความแน่นเนื้อมะม่วงไม่ต่างกัน H1 : การใช้วิธีคัดเลือกที่ต่างกัน 3 วิธี ให้ค่าความแปรปรวนของความแน่นเนื้อมะม่วงต่างกัน คานวณค่าสถิติต่าง ๆ ได้เป็นดังนี้ X 1 = 195 , X1 2 = 4,759 . X 2 = 185 , X 2 = 4,319 2 = 145 , X 3 = 2,641 X 1 = 24.375 , S 12 = 0.8393 . X 2 = 23.125 , S 22 = 5.2679 2 . X 3 = 18.125 , S 32 = 1.8393 5. 2679 0. 8393 5 . 2679 1. 8393 = 0.6629 X3 ค่าสถิติทดสอบ คือ C = อาณาเขตวิกฤต คือ C > C0.05,(3,7) = 0.6530 15 เพราะว่า ค่าสถิติทดสอบ C = 0.6629 > C0.05,(3,7) = 0.6530 ดังนั้น ปฎิเสธ H0 แสดงว่า การใช้วิธี คัดเลือกความแก่ของมะม่วงที่ต่างกัน 3 วิธี ให้ค่าความแปรปรวนของความแน่นเนื้อมะม่วงต่างกัน 2.15 การแปลงข้อมูล (Data Transformation) เมื่อตรวจสอบข้อสมมติเบื้องต้นเกี่ยวกับการแจกแจงปกติของประชากรติ และการเท่ากันของความแปรปรวน แล้ว ถ้าพบว่าข้อสมมติเบื้องต้นไม่เป็นจริง จะต้องพิจารณาข้อมูลเพื่อค้นหาสาเหตุที่ทาให้ข้อสมมติเบื้องต้นไม่เป็นจริง ในบางครั้งอาจพบว่ามีค่าสังเกตเพียงบางค่าของข้อมูลชุดใดชุดหนึ่งที่มีค่าผิดปกติ ดังเช่นข้อมูลของตัวอย่างที่ 2.6 ถ้า สามารถตัดข้อมูลนี้ทิ้งได้โดยไม่ทาให้ต้องสูญเสียข้อเท็จจริงไปมากนัก ก็สามารถตัดค่าสังเกตนั้น ๆ ทิ้งไป แต่ถ้าค่าสังเกต นั้นมีความสาคัญต้องนาเข้าสู่ขบวนการวิเคราะห์ทางสถิติต่อไป อาจใช้วิธีการประมาณค่าสูญหายเข้ามาช่วยประมาณ ค่าเพื่อใช้แทนค่าสังเกตนั้น ๆ ก็ได้ ดังนั้นในระหว่างการทดลองต้องใช้ความสังเกต และความละเอียดรอบคอบในเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นอย่างมาก นอกจากปัญหาเกี่ยวกับข้อสมมติเบื้องต้นไม่เป็นจริงแล้ว บางครั้งลักษณะของข้อมูลอาจมีความไม่เหมาะสมที่ จะนามาใช้กับวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน เช่น ข้อมูลเป็นจานวนนับ เป็นต้น การแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้สามารถใช้ วิธีการแปลงข้อมูลมาช่วยจัดการข้อมูลให้มีความเหมาะสมมากขึ้นก่อนนาไปประมวลผลด้วยวิธีการทางสถิติต่อไป ใน การแปลงข้อมูลนิยมใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นฟังก์ชันในนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและ ประสบการณ์ของผู้ทดลอง ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่นิยมใช้กันได้แก่ 1. รากที่สอง (square root) นิยมใช้กับข้อมูลจานวนนับ (X) ที่มีการแจกแจงแบบพัวซอง เช่น จานวนลูกปลาที่ได้ จากการผสมพันธุ์ในแต่ละครัจานวนต้ ้ง นอ่อนที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเป็เยืน่อต้น เพื่อความเหมาะสมจะแปลงจานวนนับด้วย รากที่สองก่อนนาไปวิเคราะห์ความแปรปรวนต่อไป ในกรณีที่มีค่าสังเกตเป็น 0 อาจแปลงข้อมูลเป็นรากที่สองของ (X + 1 ) แทนที่จะเป็นรากที่สองของ X ก็ได้ 2. อาร์คซายน์ (arcsin) นิยมใช้กับข้อมูลจานวนนับ (X) ที่มีการแจกแจงแบบทวินาม ซึ่งจัดการเป็นค่าสัดส่วน (p) เช่น สัดส่วนการ อยู่รอด สัดส่วนต้นสูง สัดส่วนการผสมติด จะแปลงค่าสัดส่วนเป็นค่าอาร์คซายน์ ( arcsin p ) ซึ่งให้ค่าเป็นมุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียน 3. ลอการิทึม (logarithm) นิยมใช้กับข้อมูลที่มีค่าสัมประสิทธิของความผันแปร (C.V.) ของแต่ละทรีตเมนต์ คงที่ ลอการิทึมที่ใช้มีฐาน 10 จะแปลงข้อมูลได้เป็น log X หรือ log(X + 1) ในกรณีที่มีค่าสังเกตเป็น 0 อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่สามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ วิธีที่ดีที่สุดก็คือหาวิธีการทางสถิติวิธีที่เหมาะสมกว่ามาใช้กับ ข้อมูลเหล่านั้น เช่น เลือกใช้วิธีการทดสอบแบบนอนพาราเมตริก (Non Parametric Test) เป็นต้น 16 ตัวอย่างที่ 2.8 ในการทดลองใช้ส่วนของพืชชนิดหนึ่งที่ต่างกัน 4 ส่วน นาไปทา tissue culture โดยวิธีการที่เหมือน ๆ กัน ส่วนละ 6 ซ้า ผลการทดลองได้จานวนต้นพืชที่เกิดจากการทา tissue culture ดังตาราง ซ้าที่ 1 2 3 4 5 6 ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 160 14 2 28 35 58 13 31 80 5 19 19 150 92 5 5 28 40 10 3 15 21 3 0 ในกรณีนี้ ควร ทาการแปลงข้อมูลด้วยค่ารากที่สองของค่าสังเกตบวก 1 เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมาะสมก่อนที่จะ นาไปใช้กับวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน เมื่อแปลง ข้อมูลข้างต้นแล้วได้ข้อมูลใหม่ดังตาราง จึงนาไป ANOVA เพื่อ สรุปผลการทดลองต่อไป ซ้าที่ 1 2 3 4 5 6 ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 12.69 3.87 1.73 5.39 6.00 7.68 3.74 5.66 9.00 2.45 4.47 4.47 12.29 9.64 2.45 2.45 5.39 6.40 3.32 2.00 4.00 4.69 2.00 1.00 อย่างไรก็ตาม พบว่ามีผู้วิจัยบางท่านมิได้การจัดการข้อมูลให้เหมาะสมก่อน ANOVA ในกรณีนี้จะเป็นผลทาให้ ค่า C.V. ของการทดลองมีค่าสูง ซึ่งผู้วิจัยท่านอื่น ๆ อาจไม่ยอมรับผลการทดลองดังกล่าว