Uploaded by Chanyeol Exonat

มลพิษและของเสียต่างๆ

advertisement
ความรู้อต
ุ สาหกรรมกระบวนการรีด บด ผสมยาง
ภาพรวมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยางเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญ
ต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งในแง่ของการสร้างมูลค่าเพิ่มและการจ้างงาน
จากการที่ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางธรรมชาติมากที่สุดในโลก
ส่งผลให้เกิดความได้เปรียบในด้านวัตถุดิบและสร้างมูลค่าในการส่งออกใ
ห้กับประเทศเป็นอย่างมาก
การผลิตยางพาราของประเทศมีจานวนประมาณ 3 ล้านตัน/ปี
ในจานวนนี้ร้อยละ 90 จะถูกส่งออกไปยังต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา
จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น ส่วนที่เหลือจะใช้บริโภคภายในประเทศ ยางที่ส่งออก
นาเข้า หรือใช้ภายในประเทศ จะประกอบไปด้วย
ยางแปรรูปเป็นยางขั้นต้น ได้แก่ ยางแผ่น ยางแท่ง ยางเครพ
และน้ายางข้น เป็นต้น และผลิตภัณฑ์ยาง ได้แก่ ยางยานพาหนะ
อะไหล่รถยนต์ ถุงมือยาง ยางรัดของ และสายยางยืด เป็นต้น
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
ในระยะเริ่มต้นเป็นการผลิตพวกยางชิ้นส่วนที่เป็นอะไหล่ของอุปกรณ์และเ
ครื่องจักรต่างๆ
ต่อมาจึงมีการขยายตัวจากเข้ามาลงทุนของบริษัทต่างชาติในการผลิตยาง
ล้อรถยนต์ และการผลิตถุงมือยางและถุงยางอนามัย
โดยอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางมีแนวโน้มที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
เพราะประเทศไทยมีความได้เปรียบในเรื่องของวัตถุดิบ คือ น้ายางข้น
และยางแท่ง รวมถึงการส่งเสริมการลงทุนภาคอุตสาหกรรมของภาครัฐ
ที่ให้มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
เพื่อรองรับกับปริมาณความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่องในตลาดโลก
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางมีจุดเริ่มต้นที่ภาคการเกษตร
ซึ่งผลิตน้ายางป้อนให้กับโรงงานทาน้ายางข้น ยางแท่ง
และยางแผ่นรมควัน เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมกลางน้า
ที่จะทาการผลิตวัตถุดิบป้อนให้กับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆที่เป็นอุต
สาหกรรมปลายน้า เช่น การผลิตยางรถยนต์ให้กับอุตสาหกรรมยานยนต์
การผลิตรองเท้ายาง ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ฯลฯ
ทั้งนี้โรงงานที่ผลิตผลิตภัณฑ์จากยางต่างๆเหล่านี้ ส่วนใหญ่ต้องมีการรีด
บด ผสมยาง
เพื่อให้ได้ยางที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการผลิตในรูปแบบต่างๆ
ซึ่งอาจดาเนินการในโรงงานเอง หรือมีโรงงานรีด บด
ผสมยางโดยเฉพาะเป็นผู้ผลิตยางคอมพาวด์ส่งต่อให้อีกทอดหนึ่งก็ได้
วัตถุดิบและสารเคมี
วัตถุดิบของอุตสาหกรรมรีด บด ผสมยาง คือ
ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติที่ใช้ในกระบวนการผลิต
เช่น STR 20, STR XL, STR L, STR 5L, ADS, RSS 1, RSS 2, 3, 4,
5 และ ยางสกิม เป็นต้น (STR : Standard Thai Rubber (ยางแท่ง) ,
ADS : Air Dried Sheet (ยางแผ่นผึ่งแห้ง), RSS : Ribbed Smoked
Sheet (ยางแผ่นรมควัน) ) ส่วนยางสังเคราะห์ เช่น SBR (Styrene
Butadiene Rubber) , BR (Butadiene Rubber), IR (Isoprene
Rubber), IIR (Butyl Rubber) , EDPM (Ethylene Propylene Diene
Monomer)
ยางSTR 20
ยาง STR 5L
ยางBR
ยางแผ่นรมควัน
รูปยางชนิดต่างๆ
สารเคมีที่ใช้ผสมกับยาง ซึ่งประกอบไปด้วย
1. สารที่ทาให้ยางคงรูป (Vulcanizing Agent)
เป็นสารทาให้ยางอยู่ในสถานะที่ยืดหยุ่นได้สูง หรือเรียกว่า
“คงรูป” โดยโรงงานมักเรียกกันว่า “ยาสุก”
2. สารเร่งให้ยางคงรูป (Accelerator)
ทาหน้าที่ลดเวลาที่จะทาให้ยางคงรูป
โดยการเร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาให้ยางคงรูปเร็วขึ้น
3. สารกระตุ้นสารเร่ง (Activator)
ทาหน้าที่กระตุ้นสารเร่งให้ยางคงรูปเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
โดยจะเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับสารเร่งให้ยางคงรูป
มีผลทาให้ยางคงรูปเร็วขึ้น
4. สารตัวเติม (Filler)
ในกระบวนการผลิตมีการเติมสารตัวเติมเพื่อยืดคุณสมบัติทางฟิ
สิกส์
ลดต้นทุนรวมทั้งเพิ่มความคงทนต่อสารเคมีของยางคอมพาวด์
5. สารช่วยในกรรมวิธีการผลิต (Processing Aids)
ในกระบวนการผลิตมีการเติมสารช่วยเพื่อเปลี่ยนสมบัติของยา
งคอมพาวด์ เช่นความแข็งกระด้าง ยืดหยุ่น
ลดค่าใช้จ่ายโดยเพิ่มปริมาณสารเติมและลดปริมาณการใช้พลั
งงาน รวมทั้งช่วยในการแปรรูปยางได้ง่ายขึ้น
6. สารป้องกันยางเสื่อมสภาพ ( Age-Resistors,Protective
Agent ) เป็นสารที่ใส่เพื่อป้องกันยางเสื่อมสภาพขณะใช้งาน
7. สารอื่นๆ เพื่อเพิ่มสมบัติพิเศษบางประการของยา
ชือ
่ ทางเคมี
1. Carbon
ชือ
่ ทางการค้า
หน่วยนับ
แหล่งทีม
่ า
Carbon Black
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
กามะถัน
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
-
ลิตร
ในประเทศ
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
MBT
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
ZDC (ZDEC)
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
TMTM
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
TMTD(TMT)
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
10. Zinc Oxide
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
12.CadmiumOxide
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
Kaolin,ChinaClay
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
Talc
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
Whiting
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
16. Manganese
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
17. Cobalt recinoleates
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
-
ตัน
ใน/ต่างประเทศ
2. Sulfur
3. น้ามัน (Rubber Processing Oil)
4. Cyclohexyl Benzothiazole
Sulphenamide
5. Diphenyl Guanidine
6. 2-Mercaptobenthiazole
7. Zinc Diethyl Dithiocarbamate
8. Tetramethyl Thiuram
Monosulfide
9. Tetramethyl Thiuram Disulfide
13. Kaolinite
14. Hydrated Magnesium Silicate
15. Calcium Carbonate
18. Resorcinolformaldehyde/Latex
19. Zinc Borate
20. Chlorinated Paraffin
Hydrocarbon
แสดงสารเคมีทใ
ี่ ช้กน
ั มากในอุตสาหกรรมรีด บด ผสมยาง
พลังงาน
โรงงานที่มีกระบวนการรีด บด ผสมยาง
มีการใช้พลังงานในรูปของพลังงานไฟฟ้า
โดยขั้นตอนที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเริ่มตั้งขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ
ขั้นตอนการผสมยาง ขั้นตอนการรีดแผ่น
ขั้นตอนการชุบน้าแป้งและทาให้แห้ง การตัดแผ่น และการบรรจุยาง
ซึ่งในทุกขั้นตอนจะใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบแสงสว่าง
และมอเตอร์เพื่อขับเคลื่อนเครื่องจักรในการผลิต
ผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการรีด บด
และผสมยางด้วยสารเคมีต่างๆแล้วเรียกว่า ยางคอมพาวด์
ยางคอมพาวด์ (Compound Rubber)
กรรมวิธีการรีด บด ผสมยาง
รูปกระบวนการรีด บด ผสมยาง
สมดุลมวลสาร
สมดุลมวลสารของกระบวนการ รีด บด ผสมยาง
สมดุลพลังงาน
สมดุลพลังงานไฟฟ้าของโรงงานทีม
่ ก
ี ระบวนการรีด บด ผสมยาง
มลพิษและของเสียต่างๆ
มลพิษ
จุดทีเ่ กิด
ลักษณะ
ปริ อัตราการ
มา เกิดต่อตั
ณ นวัตถุดบ
ิ
1.มลพิษทางอากาศ
ขั้นตอนการผส
กระบว
มวัตถุดิบ
การฟุ้งกระจายของฝุ่นละออ
นการ
ง สารเคมี ผงเขม่าดา
(mixing)
n/
รีด บด
และขั้นตอนกา
(carbon black)
a
ผสม
รรีดยาง
และอาจมีกลิน
่ เกิดขึ้น
ยาง
(rolling)
2.สิ่งปฏิกล
ู หรือวัสดุไม่ใช้แล้ว
การกาจั
ระบบบาบัดมล
n/
ดมลพิษ
ฝุ่นจากถุงกรอง
พิษอากาศ
a
อากาศ
กระบว กระบวนการตร เนื้อยางหรือเศษยางที่เสียที่เ
n/
นการผ วจสอบเศษโลห กิดจากกระบวนการตรวจสอ
a
ลิต
ะในเนื้อยาง
บเศษโลหะจากเนื้อยาง
n/a
n/a
0.01 ตัน
สรุปมลพิษและของเสียต่าง ๆ ที่เกิดจากโรงงานที่มีกระบวนการรีด บด ผสม ยาง
ทีม
่ า : http://www2.diw.go.th/i_standard/web/pane_files/industry19.asp
กฎหมายตามห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
ทีม
่ า : http://rubber.oie.go.th:8081/joomla/index.php/2013-06-29-04-2426/22-2013-06-29-04-08-46
การจัดการด้านสิง่ แวดล้อม
วัตถุดบ
ิ
วิธีการบาบัดมลพิษอากาศ
ยางธรรม
ชาติ/ยางสั
งเคราะห์
ชนิดมลพิษ
ฝุน
่
ถุงกรอง
ฝุน
่ และกลิน
่
ระบบดักฝุน
่
แบบเปียก
รูปแบบระบบบาบัดมลพิษอากาศสาหรับโรงงานทีม
่ ก
ี ระบวนการรีด
บด ผสม
เกณฑ์การออกแบบ (Design
ประเภทของระบบ
ระบบถุงกรอง (Bag
Criteria)
พารามิเตอร์
อัตราส่วนของอากาศต่อผ้า
Filter)
(Air:Cloth)
ค่าทีใ
่ ช้ออก
แบบ
แบบเขย่าด้วยวิธีกล/Woven
Reverse-Air/Woven
(เมตร/วินาที่)
- Carbon Black
0.015
Pulse-Jets/Felt Reverse-
บบเปียก (Wet
Air/Felt (เมตร/วินาที)
อัตราการไหลของอากาศเสีย
(ฟุต/นาที)
Scrubber)
อัตราส่วนระหว่างของเหลวที่ใช้ต่อ
ระบบบาบัดอากาศแ
ก๊าซที่บาบัด (gpm/cfm)
ค่าความดันลด (นิ้ว น้า)
ค่าทีใ
่ ช้ในการออกแบบของระบบบาบัดมลพิษอากาศ
8000 15000
6-15
6-20
ชนิดและประเภทของสิง่
ปฏิกล
ู หรือวัสดุทไ
ี่ ม่ใช้แ
การจัดการสิง่ ปฏิกล
ู หรือวัสดุทไ
ี่ ม่ใช้แล้ว
ล้ว
รหัส
ชื่อ
ร
วิธีการกาจัด
หั
ส
19 80 ฝุ่นจากระบบ 0 นาไปเป็นวัตถุดิบทดแทนของโรงงานอื่น
บาบัด
01 HM
3
1
0 ฝังกลบอย่างปลอดภัยเมื่อทาการปรับเสถียร
หรือทาให้เป็นก้อนแข็งตัวแล้ว
7
3
0 เผาทาลายร่วมในเตาเผาปูนซีเมนต์
7
6
07 02
99
เนื้อยางเสีย
0 นาไปเป็นวัตถุดิบทดแทน
3
1
0 ทาเชื้อเพลิงทดแทน
4
1
0 นากลับมาใช้ประโยชน์
4
9
0 ฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล เฉพาะสิ่งปฏิกูล
7 หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตร
ายเท่านั้น
1
แนวทางการจัดการสิง่ ปฏิกล
ู หรือวัสดุทไ
ี่ ม่ใช้แล้ว
การพิจารณาด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ขั้นตอนการขออนุญาตประกอบกิจการของโรงงานที่มีกระบวนการรี
ด บด ผสมยาง
ส่วนใหญ่จะพิจารณาความปลอดภัยทั่วไปตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
ส่วนเครื่องอัดอากาศ ลิฟต์ เครื่องยก และระบบไฟฟ้า
ควรออกแบบและสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ยอมรับและมีวิศวกรตรวจ
สอบและรับรองแบบ
การตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรมกระบวนการรีด บด ผสมยาง
การตรวจสอบโรงงานในบทนี้ หมายถึง
การตรวจสอบความถูกต้องและความพร้อมของโรงงานก่อนที่จะประกอบกิ
จการโรงงานหรือประกอบกิจการโรงงานส่วนขยาย
และหมายถึงการตรวจสอบโรงงานตามแผนงานหรือโครงการตรวจสอบโร
งงานและเครื่องจักรเมื่อโรงงานได้ประกอบกิจการแล้ว
เพื่อให้โรงงานมีมาตรการรักษาสภาพแวดล้อมที่ดี
มีความปลอดภัยไม่สร้างความเดือดร้อนราคาญและปฏิบัติตามกฎหมาย
ซึ่งวัตถุประสงค์การตรวจสอบโรงงานมีดังนี้
1. การตรวจสอบความถูกต้องก่อนเริ่มประกอบกิจการ
หรือก่อนเริ่มประกอบกิจการโรงงานส่วนขยาย
2. การตรวจสอบให้โรงงานปฏิบัติตามกฎหมาย
ประเด็นสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยเมื่อโรงงานได้ประกอบกิจก
ารแล้ว
Download