Chao Theory กลุ่ม Princess สมาชิกกลุ่ม นางสาว ณัฐกานต์ ปันป่า 591910103 นาย ปิยะพงษ์ สอนใจ 591910129 นางสาว ปฐมการญจน์ คนดี 591910126 นางสาว พนิดา มาลีการุณกิจ 591910133 นางสาว พิชยเกศ คนชอบ 591910138 ก. Chao Theory คือ อะไร ตอบ Chao Theory หรือมีชื่อไทยว่า ทฤษฎีความอลวน หรือ ท ฤ ษ ฎี ค ว า ม ไ ร้ ร ะเบี ย บ ห รื อ ท ฤ ษ ฎี ค ว า ม โ ก ล า ห ล คื อ ท ฤ ษ ฏี ที่ ว่ าด้ ว ย ก าร อ ธิ บ า ย ถึ ง ลั ก ษ ณ ะพ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ร ะ บ บ ใ ด ๆ ที่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก ล่ า ว คื อ ทฤษฎี นี้ จ ะอธิ บ ายถึ ง ลั ก ษณะพฤติ ก รรมของระบบพลวั ต (คื อ ร ะ บ บ ที่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ ช่ น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม เ ว ล า ที่ เ ป ลี่ ย น ไ ป ) โดยลั ก ษณะการเปลี่ ย นแปลงของระบบที่ เรี ย กว่ า เคออส นี้ จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ปั่ น ป่ ว น จ น ดู ค ล้ า ย ว่ า ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง นั้ น เ ป็ น แ บ บ สุ่ ม ห รื อ ไ ร้ ร ะ เ บี ย บ ( random/stochastic) แ ต่ จ ริ ง ๆ แ ล้ ว ระบบเคออสนี้ เ ป็ น ระบบแบบไม่ สุ่ ม ห รื อ ระบบที่ มี ร ะเบี ย บ (deterministic) ซึ่ งทฤษฎี Chao Theory ถู กบุก เบิ กโดย Edward Lorenz นั ก พ ย า ก ร ณ์ ส ภ า พ อ า ก า ศ ที่ เ ค ย ตัดเลขทศนิยมของตัวเลขออกเพราะคิดว่าตัวเลขเล็กน้ อยน่าจะ ไ ม่ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ค า น ว ณ ม า ก นั ก แ ต่ เ มื่ อ น า ม า เ ป รี ย บ เ ที ย บ แ ล้ ว พ บ ว่ า การตัดทศยมของตัวเลขออกส่งผลให้ค่าของตัวเลขคลาดเคลื่อ น ยิ่ ง เ มื่ อ ท า ซ้ า ๆ ห ล า ย ๆ ค รั้ ง จึงเกิดความผิดพลาดในการพยากรณ์อากาศได้ จึ ง ท า ใ ห้ ท ร า บ ว่ า ตั ว เ ล ข ท ศ นิ ย ม ที่ มี ค่ า ตั้ ง ต้ น ที่ ต่ า ง กั น นิ ด เ ดี ย ว แ ต่ ท า ใ ห้ ผ ล ลั พ ธ์ ต่ า ง กั น อ ย่ า ง ม า ก ก ล่ า ว คื อ ส ภ า ว ะ ที่ ต่ า ง กั น เ พี ย ง เ ล็ ก น้ อ ย ห รื อ เกื อ บ จ ะ เป็ น ส ภ า ว ะ ที่ เห มื อ น กั น แ ท บ ทุ ก ป ร ะ ก า ร เมื่ อ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงผ่ า นตั ว แปรเวลาไปซั ก ระยะหนึ่ ง ส ภ า ว ะ ข อ ง ทั้ ง ส อ ง ที่ ไ ด้ ท าการสั ง เกตจะแตกต่ า งกั น อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด เจน เช่ น ก า ร น า เ ด็ ก 2 ค น ที่ มี น้ า ห นั ก แ ล ะ อ า ยุ เ ท่ า ๆ กั น ม า เลี้ ย ง ด้ ว ย อ า ห า ร ต า ม เว ล า แ ต่ ล ะ มื้ อ ที่ เห มื อ น กั น ก า ร เริ่ ม ต้ น ใ น ต อ น แ ร ก เด็ ก อ า จ จ ะมี ข น า ด ตั ว ที่ เท่ า กั น แ ต่ พ อ เว ล า ผ่ า น ไ ป ก า ร ที่ อ า ห า ร บ า ง มื้ อ ที่ ว า ง ไ ว้ เด็ ก คนหนึ่ ง ไม่ อ ยากกิ น การเปลี่ ย นแปลงของรู ป ร่ า งเด็ ก ก็ จ ะ แตกต่างกัน ตัวแปรที่มาเกี่ยวข้องกับตัวอย่างข้างต้น นี้คือ เวลา แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง เ ด็ ก ที่ ค ล้ อ ย ต า ม กั น หรืออาจจะอุป มาเป็น คาพูด คือเด็ด ดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว” หรือ “ผีเสือ ้ ขยับปีก อาจก่อให้เกิดพายุ” ข. Chao Theory มีแนวคิดอย่างไร อธิบาย ตอบ Chao Theory มีแนวคิด คือ จะอธิบายถึงลักษณะพฤติกรรมของระบบพลวัต (คือ ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงตามเวลาที่เปลี่ยนไป) โดยลักษณะการเปลี่ยนแปลงของระบบที่เรียกว่าเคออสนี้ จะมีลักษณะที่ปั่นป่วนจนดูคล้ายว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ (random/stochastic) แต่จริง ๆ แล้ว ระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่ม หรือระบบที่มีระเบียบ (deterministic) ในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ คาจากัดความของระบบ เคออส คือ ระบบไม่เชิงเส้น (nonlinear system) ประเภทหนึ่ง ที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ถ้าระบบ 2 ระบบนั้นเริ่มต้นจากสภาวะที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย คือเกือบจะเหมือนกันทุกประการ เมื่อระบบได้มีการเปลี่ยนไปสักระยะหนึ่ง สภาวะของระบบทั้งสองที่เราสังเกตได้เมื่อเวลาผ่านไปจะแตกต่ างกันอย่างสังเกตเห็นได้ชัด ตัวอย่างที่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจนนั่นก็คือ double pendulum ที่เมื่อเราเปลี่ยนองศาเพียงนิดเดียวแต่ทาให้รูปแบบการเหวี่ยงเ ปลี่ยนไปจากเดิมโดยสิ้นเชิง กล่าวคือ Chaos Theory มีแนวคิดถึงการเกิดของเหตุการณ์ต่างๆที่มีค่าตั้งต้นที่ต่างกันนิ ดเดียว แต่ทาให้ผลลัพธ์ต่างกันอย่างมาก เช่นตัวอย่าง N-body Gravitational problem ที่มีดวงอาทิตย์สองดวงและ มีดาวเคราะห์สองดวงสีแดงกับสีเขียว ซึ่งตอนเริ่มต้นดาวเคราะห์สองดวงนี้อยู่ใกล้กันมากๆ แทบจะเป็นจุดเดียวกันเลย แต่พอเวลาผ่านไปไม่นานตาแหน่งของดาวเคราะห์สองดวงนี้ต่ างกันอย่างสิ้นเชิง ดาวสีแดงพุ่งไปทางดวงอาทิตย์ที่ 1 ดาวสีเขียวอยู่กับดวงอาทิตย์ที่ 2 นี่เป็นระบบที่แสดงคุณสมบัติ ค. Chao Theory สามารถนามาใช้ในการจัดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ต อ บ ก า ร จั ด ก า ร ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง คื อ การจั ด การกั บ เหตุ ก ารณ์ ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก าร เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะส ม แ ล ะ ส ม ดุ ล ทาให้เกิดการพัฒนาองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผ ล(อ้างอิง.อ.พิกุล อิทธิหิรัญวงศ์) ซึ่ ง จ า ก ท ฤ ษ ฎี Chao Theory สามารถนามาใช้ในการจัดการเปลี่ยนแปลงได้ ดังนี้ 1.ใช้ในการสร้างระบบโกลาหล มี ผู้ เ ชื่ อ ว่ า “ใ น ธ ร ร ม ช า ติ ความโกลาหลเป็น สิ่งสากลมากกว่าและดีกว่าระเบียบแบบง่าย ๆ ”เ ช่ น การที่บริษัทมัทสึชิตะยังใช้ทฤษฎีโกลาหลควบคุมหัวฉีดของเครื่ อ ง ล้ า ง จ า น ซึ่งพบว่าสามารถล้างจานได้สะอาดโดยประหยัดน้าได้กว่าเครื่อ ง ล้ า ง จ า น แ บ บ อื่ น ๆ ทั้งนี้เพราะเส้นทางการเคลื่อนที่ของหัวฉีดที่ดูเหมือนไร้ระเบียบ ทาให้ครอบ คลุมพื้นที่ได้ดีกว่าการเคลื่อนที่ตามแบบแผนปกติ 2.ใช้ในการควบคุม-สร้างความเสถียรให้กับระบบ ตั ว อ ย่ า งข อ งก า ร ป ร ะยุ ก ต์ ใ ช้ ต าม แ น ว ค ว า ม คิ ด นี้ ไ ด้ แ ก่ การที่ อ งค์ ก ารนาสา (NASA) สามารถควบคุ ม ยานอวกาศ ISEE-3 ให้ลอยไปสู่ดาวหางที่ต้องการสารวจได้โดยใช้เชื้อเพลิงเพียงเล็ กน้อย 3.ใช้ในการวิเคราะห์ระบบและทานายอนาคต โดยแนวคิดของทฤษฎีความโกลาหลแห่งสถาบันวิจัยซานตาเฟ ( santafe Research Institute) ใ น ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ไ ด้ มี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ แ น ว นี้ ไ ด้ แ ก่ ก า ร ท า น า ย ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า สู ง สุ ด ( peak load) ใ น แ ต่ ล ะ วั น ข อ ง บ ริ ษั ท ไ ฟ ฟ้ า ห รื อ ป ริ ม า ณ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ น้ า ใ น แ ต่ ล ะ วั น ( ซึ่ ง ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ จ ริ ง ที่ บ ริ ษั ท เ ม เ ด น ฉ ะ ใ น ญี่ ปุ่ น ) และการพยากรณ์อากาศซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้หนึ่งที่ทาให้เกิด ศาสตร์แห่งความโกลาหลเองด้วย 4.ใส่ใจปรากฎการณ์ขนาดเล็กที่เคยมองข้ามไป Chaos Theory มั ก ให้ ค วาม ส าคั ญ กั บ ป ราก ฎ ก ารณ์ เล็ ก ๆ ที่อาจพลิกเปลี่ยนสถานการณ์ใหญ่ไปสู่ทิศทางใหม่โดยไม่คาด ฝั น เ นื่ อ ง เ พ ร า ะ ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ Chaos นั้ น ก ฎ เ ก ณ ฑ์ เ ดิ ม ล้ ว น แ ต่ ถู ก ท า ล า ย ล ง ดังนั้นจึงเปิดช่องว่างให้กับปรากฎการณ์เล็กๆได้มีบทบาทสาคั ญต่อสถานการณ์ใหญ่ได้ 5.ใช้มุมมองใหม่ๆในการประเมินมิตรและศัตรู การที่ Chaos Theory ทาลายกฎเกณฑ์เดิม ดังนั้นมิตรและศัตรู ก็ อ าจเปลี่ ย นข้ า งย้ า ยขั้ ว ได้ ซึ่ งค่ อ นข้ า งซั บซ้ อนกว่ า ปกติ ดั ง นั้ น ห า ก ใ ค ร ส า ม า ร ถ ม อ ง เ ห็ น Scenario ที่ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ใ น อ น า ค ต ไ ด้ ย่อมสามารถมองเห็นความเคลื่อนไหวทั้งการประสานมิตรและส ร้ า ง ศั ต รู ไ ด้ แ ม่ น ย า ก ว่ า ค น อื่ น ซึ่งจะนาไปสู่การกาหนดกลยุทธ์ที่ดีกว่าได้ แหล่งที่มา 1. https://phatrasamon.blogspot.com/2009/11/chaostheory_27.html?m=1&fbclid=IwAR1LheS0OoY_IfopJ 6s79GVo772Q3oMFOjNniGRG5VmlwREyOr8qQK4o2Q 2. http://www.daydev.com/marketing-strategy-2/s14-itmarketing/c86-future/chaos-theorykhowledge.html?fbclid=IwAR0vyn78C6QYxk6NXUPj gk7YjZaGZGEAZP5ZqlH-Ik1aJ62BnXDPzBkSnwg 3. http://jaturitpa.blogspot.com/2015/08/chaostheory.html