Computer Project Management Chapter2 : Project Integration Management ลักษณะของโครงการ มีวต ั ถุประสงค์ชดั เจน (เน้ นผลลัพธ์) มีกําหนดเวลาเริ่ มต้ นและสิ ้นสุด ดําเนินงานอยูภ ่ ายใต้ ข้อจํากัด เวลา ต้ นทุน คุณภาพ Project ผู้สอน อ.นิธิพร รอดรัตษะ วัตถุประสงค์ ของโครงการ ต้องตรงต่อเวลา ตามงบประมาณที่กาํ หนดให้ เป็ นไปตามความต้องการของระบบงาน เจ้าของระบบงานพึงพอใจ Quality 1 วงจรการพัฒนาโครงการ ช่วงระยะก่อน บริ หารโครงการ ช่วงระยะการบริ หารโครงการ บัญชี-การเงิน วิเคราะห์โครงการ การวางแผนโครงการ วัตถุประสงค์ ควบคุมติดตามโครงการ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม ช่วงระยะหลัง บริ หารโครงการ จัดซื้อ ปิ ดโครงการ ประเมินผล บํารุ งรักษา การใช้ทรัพยากรเพื่อบริ หารโครงการ กระบวนการทํางานเป็ นขั้นตอน มีข้นั ตอนหลักๆ คือ 1. ขั้นตอนของโครงการ 2. ขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน 3. ขั้นตอนการบริหารโครงการ 4. ขั้นตอนการใช้ วศิ วกรรมซอฟต์ แวร์ โดยใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วย ปริ มาณทรัพยากร ริ เริ่ มโครงการ วางแผน ดําเนิ นการโครงการ ปิ ดโครงการ ปริมาณการใช้ทรัพยากร (เงินทุน,แรงงาน,เครือ่ งจักร) เวลา 1. ขั้นตอนของโครงการ วงจรการดําเนินงาน 2. ขั้นตอนของการพัฒนาระบบงาน ช่วงที่ 1 การศึกษาเบื้องต้น (Preliminary study) ช่วงที่ 2 การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility study) ช่วงที่ 3 การพัฒนาระบบงาน (Implementation) ช่วงที่ 4 ในระหว่างที่ดาํ เนินงาน มีกิจกรรมการบริ หารโครงการ ทําควบคู่ไปด้วย กําหนดเวลาการแก้ ไขและการเพิม่ เติมความต้ องการ ความชัดเจนของความต้องการเกิดขึ้นได้จากข้อตกลงของผูบ้ ริ หารระดับสู ง ว่าเมื่อ พ้นกําหนดเวลาให้มีการแก้ไข เพิ่มเติมได้ ข้อกําหนดเหล่าหนี้ผบู ้ ริ หารเข้ามากํากับดูแล การพัฒนาระบบงาน และการบริหารโครงการ การศึกษาความต้องการ การออกแบบระบบงานสําหรับส่ วนที่เกี่ยวกับเจ้าของระบบงาน การออกแบบระบบงานเพื่อนําไปใช้เขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบระบบงาน การทดสอบเพื่อให้ยอมรับระบบงาน การศึกษาเบือ้ งต้ น การศึกษาเบื้องต้น เป็ นขั้นตอนที่หวั หน้าหน่วยงาน ปรึ กษาหารื อกัน ถึงระบบงานใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นว่าสมควร เหมาะสมกับธุรกิจ หรื องานของ องค์กรมากน้อยเพียงใด การศึกษาความเป็ นไปได้ Ø ด้านเทคนิค (Technical Feasible) Ø ด้านการปฏิบตั ิงาน (Operational Feasible) Ø ด้านเศรษฐกิจ (Economical Feasible) Ø การกําหนดแผนล่วงหน้า (Schedule Feasible) กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ระหว่ างการพัฒนาระบบงาน และการบริหารโครงการ การทํางานเป็ นขั้นตอน (การพัฒนาระบบงาน การปรับใหม่ และการยกเลิกการใช้ งาน) 1. การพัฒนาระบบงาน มี 3 ขั้นตอน ก) การศึกษาเบื้องต้น ข) การศึกษาความเป็ นไปได้ ค) การพัฒนาระบบงาน 2. การปรับใหม่ กฎ ระเบียบ วิธีการ ข้อกําหนดขององค์กรเปลี่ยนไป 3. การเลิกใช้งาน เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง เครื่ องมือก็เปลี่ยนไปด้วย วัฏจักรพัฒนาระบบแบบนํา้ ตก วงจรการพัฒนาระบบ 3. ขั้นตอนการบริหารโครงการ ระหว่างการพัฒนาระบบงานกระบวนการบริ หารโครงการจะ ดําเนินการควบคู่กนั ไปคือ 1. การติดตามผลดําเนินงาน รายสัปดาห์ รายเดือน รายปั กษ์ รายครึ่ งปี 2. ให้มีการทบทวนงานที่ทาํ เป็ นระยะ ๆ เช่นทุก 3 เดือน 3. มีการควบคุมดูแลเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง 4. ให้มีการประสานงานกันโดยทัว่ ถึงทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ระดับสูงลง มาถึงระดับปฏิบตั ิการ กระบวนการบริหารโครงการ วงจรการบริหารโครงการ (Project Management Life Cycle) • ช่ วงที่ 1 การกําหนดโครงการ (Defining the Project) เริ่ มต้นโครงการ คัดเลือกโครงการ จัดทําข้อเสนอโครงการเพื่อขอคําอนุมตั ิ • ช่ วงที่ 2 วางแผน (Planning) เวลา ต้นทุน และคุณภาพ การจัดองค์กร และจัดทีมงาน • ช่ วงที่ 3 การปฏิบัตโิ ครงการ (Implementing) เริ่ มปฏิบตั ิโครงการ การติดตามตรวจสอบ การแก้ปัญหา และการต่อรอง • ช่ วงที่ 4 ปิ ดโครงการ Process Groups in a Phase (กระบวนการบริหารโครงการ) โดยในแต่ละกลุ่มงานย่อย จําเป็ นต้องใช้แหล่งความรู ้ต่าง ๆ เพื่อ จัดการกลุ่มงานย่อยเหล่านั้น ซึ่ งกระบวนการบริหารโครงการแยกออกได้ เป็ น 5 phases ดังนี้ 1. Initiation 2. Planning 3. Executing 4. Monitoring and controlling 5. Closing Project Integration Management คําว่า “Integration” หมายถึงองค์รวม ดังนั้น Project Integration Management หมายถึง การบริ หารโครงการที่รวมหลายส่ วนเข้าด้วยกัน Project Integration Management Project Integration Management Processes วงจรการบริ หารโครงการ (Project Management Life Cycle) 1. Initiating Phase (เริ่ มต้นโครงการ) 2. 3. 4. 5. Develop the project Charter หลังจากตัดสิ นใจว่าจะทําโครงการใดแล้ว สิ่ งที่สาํ คัญต่อมาก็คือทําให้โครงการ เกิดขึ้นอย่างเป็ นทางการ (formalize projects) ผ่านทาง Project Charter Project Charter คือเอกสารที่ใช้แสดงอย่างเป็ นทางการถึงการเกิดขึ้นของ โครงการนั้น ๆ พร้อมทั้งบอกถึงทิศทางของวัตถุประสงค์และการบริ หารโครงการ นั้น ๆ ผูเ้ กี่ยวข้องกับโครงการที่มีความสําคัญ (Key project stakeholders) จะต้องลงนาม ใน Project charter เพื่อแสดงการรับรู ้ถึงข้อตกลงในสิ่ งที่ตอ้ งการและความ คาดหวัง จากโครงการนั้น ** Develop project charter (จัดทํารายละเอียดข้อเสนอโครงการเพื่อขอคําอนุมตั ิ) ** Develop preliminary project scope management (ขอบเขตความต้องการของโครงการ) ** Develop project management plan (การดําเนินการตามแผนโครงการ) Planning Phase (การวางแผน) Executing Phase (การดําเนินงาน) Monitoring & Control Phase (การติดตาม และการควบคุม) Closing Phase (ปิ ดโครงการ) What Should be in a Project Charter? Project Name (ชื่อโครงการ) Project Stakeholders (ผูเ้ กี่ยวข้องกับโครงการนี้) Project Description (รายละเอียดของโครงการนี้) Project Scope (ขอบเขตของโครงการ) Project Schedule (ตารางเวลาในการทําโครงการ) Project Budget (ค่าใช้จ่ายในการทําโครงการ) Resources (ทรัพยากรต่าง ๆ) Assumptions and Risks (สมมติฐานและความเสี่ ยง) Acceptance and Approval (การยอมรับ และการรับรอง) Assignment 1 : ให้ เขียน Project Charters ของโครงการทีร่ ับผิดชอบ ทํางานเป็ นกลุ่ม Project Management Plan A project management plan is a document used to coordinate all project planning documents and help guide a project’s execution and control. Plans created in the other knowledge areas are subsidiary parts of the overall project management plan. Common Elements of a Project Management Plan Introduction or overview of the project. Description of how the project is organized. Management and technical processes used on the project. Work to be done, schedule, and budget information. Assignment 2 : ให้ เขียน Scope Statement ของโครงการทีร่ ับผิดชอบ ทํางานเป็ นกลุ่ม Project Executing การดําเนินการตามแผนของโครงการ (Project Management Plan)จะกินเวลาและ ทรัพยากรเกือบทั้งหมด เพราะผลิตผลของโครงการจะเกิดขึ้นที่ช่วงนี้ ผลลัพธ์ (Output)ที่สาํ คัญที่สุดของการดําเนินการคือ work results ผูบ้ ริ หารโครงการมักใช้ leadership skills เข้าควบคุมความท้าทายที่หลากหลายที่ มักเกิดขึ้นในช่วง Project Execution Project Controlling การควบคุมประกอบด้วยการวัดความก้าวหน้าของวัตถุประสงค์ของโครงการ ตรวจดูความผันแปรออกไปจากแผนของโครงการและแก้ไขให้ถกู ต้อง ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นจากหลายกลุ่มของกระบวนการต่าง ๆ และ เกิดใน ระหว่างเฟสต่าง ๆ ของ project life cycle การรายงานสถานะและความก้าวหน้าของงานต่าง ๆ เป็ นผลลัพธ์(Output) ที่สาํ คัญ ของการควบคุม Change Control System A formal, documented process that describes when and how official project documents and work may be changed. Describes who is authorized to make changes and how to make them. Change Control Boards (CCBs) A formal group of people responsible for approving or rejecting changes on a project. CCBs provide guidelines for preparing change requests, evaluate change requests, and manage the implementation of approved changes. CCBs include stakeholders from the entire organization. Configuration Management Project Closing Ensures that the descriptions of the project’s products are correct and complete. กระบวนการปิ ดโครงการประกอบด้วย สิ่ งที่ผเู ้ กี่ยวข้องได้รับและการยอมรับ final product ของลูกค้า เป็ นการนําไปสู่ การปิ ดโครงการ หรื อ สิ้ นสุ ดเฟสสุ ดท้าย แม้วา่ โครงการจะไม่เสร็ จสิ้ นสมบูรณ์ (failure)ก็ตาม ยังคงจําเป็ นต้อง “ปิ ด โครงการ” เพื่อเก็บไว้เป็ นบทเรี ยน ผลสํ าเร็จทีไ่ ด้ จากโครงการและบทเรียนเป็ นผลลัพธ์ ทสี่ ํ าคัญ ดังนั้นโครงการ ทั้งหลายจะต้องมี final report และ final presentations Involves identifying and controlling the functional and physical design characteristics of products and their support documentation. Configuration management specialists identify and document configuration requirements, control changes, record and report changes, and audit the products to verify conformance to requirements. Using Software to Assist in Project Integration Management 4. ขั้นตอนการใช้ วศิ วกรรมซอฟต์ แวร์ โดยใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วย Several types of software can be used to assist in project integration management: Word processing software creates documents. Presentation software creates presentations. Spreadsheets or databases perform tracking. Communication software such as e-mail and Web authoring tools facilitate communications. Project management software can pull everything together and show detailed and summarized information. สาเหตุทตี่ ้ องใช้ วธิ ีการทําโครงการให้ เป็ นขั้นตอน 1. การลงทุนและค่าใช้จ่ายสูง 2. ความซับซ้อนของธุรกิจ การแข่งขันกันอย่างมาก ทําให้ตอ้ งมีระบบงาน 3. มีหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้องหลายฝ่ าย หลายลักษณะงาน หลายองค์กร กระบวนการทํางานเป็ นขั้นตอนแบ่ งเป็ นขั้น ๆ 1. การศึกษาเบื้องต้น เริ่ มโดยผูใ้ ดก็ได้ 2. การศึกษาความเป็ นไปได้ 3. การพัฒนาระบบงาน ก) การหาความต้องการของระบบ ข) การออกแบบระบบเพื่อผูใ้ ช้ระบบงาน ค) การออกแบบระบบเพื่อนําไปเขียนโปรแกรม ง) การพัฒนาโปรแกรม จ) การทดสอบระบบ ฉ) การติดตั้งระบบ ช) การบํารุ งรักษาระบบ การจัดทําตารางปฏิสัมพันธ์ สารสนเทศ (Information dependency map, IDM) การบริหารความต้ องการ ช่ วยให้ นักออกแบบระบบงานเข้ าถึงความต้ องการของระบบงานได้ ง่ ายขึน้ 1.สามารถศึกษาความต้องการได้มากขึ้น 2.การดําเนินงานตลอดโครงการจะประสบความสําเร็ จมากขึ้น 3.สามารถรักษาเวลาการทํางาน 4.ทําให้ไม่เป็ นการข้ามขั้นตอน 5.ไม่หลงลืมจุดใดจุดหนึ่ง เราเคยคิดถึงความแตกต่ างของ 3 คํา ต่อไปนี้หรื อไม่ เราจําเป็ นต้ องหาทางจัดการกับความเปลีย่ นแปลง ด้ วยเหตุผลดังนี้ รายงานในกระบวนการทํางานเป็ นขั้นตอน เครื่องมือในการพัฒนาระบบ คือซอฟต์แวร์ที่ช่วยสร้างหรื อวาดแบบจําลองชนิดต่าง ๆ ตรวจสอบความถูก ต้องของแบบจําลอง ช่วยสร้างรายงานและแบบฟอร์มรวมทั้งสร้างโค้ดโปรแกรมให้ อัตโนมัติ ตัวอย่ างเครื่องมือ • Project Management Application • Drawing/Graphics Application • Word Processor/Text Editor • Computer-Aided System Engineering • (CASE) Tools • Code Generator Tool • Database Management Tool มีคาํ ถามไหมค่ ะ