เอกสารประกอบการบรรยาย ภก.ชีวิต

advertisement
การใช้ ยาในเด็กและเยาวชน
GPO Pharmacist team
ภก. ชีวติ คงสุ ข
ภญ. ศิรินทร์ทิพย์ ขวัญเมือง
ภญ. ณัฏยา ฤกษ์รุจิพิมล
Cough Cold
Remedies
ยาต้ านฮีสตามีน
การแบ่ งกลุ่ม
1. ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มดั้งเดิม (conventional antihistamine)
ได้ แก่ Chlorpheniramine, Brompheniramine, Tripolidine,
Hydroxyzine
2. ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มที่ไม่ ทาให้ ง่วงนอน (non-sedating
antihistamine) ได้ แก่ Loratadine, Cetirizine, Fexofenadine,
Desloratadine, Levocetirizine
3. ยาต้ านฮีสตามีนอืน่ ๆ
ยาต้ านฮีสตามีน
•
•
•
•
•
Histamine receptor Block
หลอดเลือดหดตัว
กล้ามเนือ้ เรียบที่หลอดลม ทางเดินอาหารคลายตัว
ลดการหลัง่ สารคัดหลัง่ ปากแห้ ง คอแห้ ง
ฤทธิ์ต้าน Acetylcholine ทาให้ ปาก คอ ช่ องจมูกแห้ ง ตาพร่ า
ปัสสาวะคัง่
• ผลต่ อระบบประสาทส่ วนกลาง ทาให้ ง่ วงนอน ซึมเศร้ า บางครั้ง
เกิด paradoxical stimulation ทาให้ กระวนกระวาย นอนไม่ หลับ
ได้
ยาต้ านฮีสตามีน
• ฤทธิ์ระงับอาการอาเจียน (กลไกยังไม่ ทราบแน่ ชัด)
• ฤทธิ์ระงับอาการไอ
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มดั้งเดิม
- Onset 15-30 นาที
- Cmax 1-2 ชม.
- Duration 3-5 ชม.
- ส่ วนใหญ่ เปลีย่ นแปลงที่ตับ
- ขับถ่ ายออกทางปัสสาวะในเวลา 24 ชม.
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มดั้งเดิม (ต่ อ)
Dose
Chlorpheniramine : Child - 0.35 mg/kg/day divided TID
: Adult – 4 mg TID
Brompheniramine : Child – 0.125 mg/kg/dose TID
: Adult – 4 mg TID
Hydroxyzine
: Child – 2 mg/kg/day divided TQID
: Adult – 50-100 mg/day divided TQID
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มดั้งเดิม (ต่ อ)
Dose
Diphenhydramine : Child – (6-11 yr.) 12.5-25 mg TID
: Adult – 25-50 mg TID
Dimenhydrinate : Child – (6-11 yr.) 25-50 mg TID
: Adult –50 mg TID
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มดั้งเดิม (ต่ อ)
ADR
ง่ วงนอน เวียนหัว ตาพร่ า เบื่ออาหาร คลืน่ ไส้ ปากแห้ ง ปัสสาวะคั่ง
ความดันโลหิตต่า
Diphenhydramine อาจทาให้ เกิดกล้ามเนือ้ อ่อนแรง
Contraindication
ห้ ามใช้ ในผู้ป่วยต่ อมลูกหมากโต ต้ อหินแบบปิ ด
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มทีไ่ ม่ ทาให้ ง่วงนอน
- กลุ่มนี้ ฤทธิ์ anticholinergic น้ อยมาก
- ไม่ กดประสาทประสาทส่ วนกลางเนื่องจากผ่ านเข้ าไปได้ น้อยมาก
- ดูดซึมช้ า ออกฤทธิ์ช้ากว่ ากลุ่มแรก
- Duration 12-24 ชม.
- ส่ วนใหญ่ เปลีย่ นแปลงที่ตับ
- ขับถ่ ายออกทางปัสสาวะในเวลา 24 ชม.
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มทีไ่ ม่ ทาให้ ง่วงนอน (ต่ อ)
Dose
Cetirizine : Child - 5-10 mg QD
: Adult – 10 mg QD
Loratadine : Child – 5-10 mg QD
: Adult – 10 mg QD
Fexofenadine : Child – 30 mg BID
: Adult – 60 mg BID or 180 mg QD
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มทีไ่ ม่ ทาให้ ง่วงนอน (ต่ อ)
Dose
Desloratadine : Child – 2.5 mg QD
: Adult – 5 mg QD
Levocetirizine : Child – 2.5 mg QD
: Adult – 5 mg QD
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มทีไ่ ม่ ทาให้ ง่วงนอน (ต่ อ)
ADR
ง่ วงนอน(น้ อยกว่ ากลุ่มแรก) เบื่ออาหาร คลืน่ ไส้ ปากแห้ ง ปัสสาวะคัง่
ความดันโลหิตต่า
Precaution
ระวังการเกิดปฏิกริยาระหว่างยาที่เพิม่ ความเสี่ ยงต่ อหัวใจเต้ นผิด
จังหวะ
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มอืน่ ๆ
Ketotifen
- ฤทธิ์ต้านฮีสตามีน โดยแย่ งจับกับ H1 Receptor
- Stabilized Mast cell ป้องกันไม่ ให้ หลัง่ mediator อืน่ ๆ
- ยับยั้งแคลเซียมไม่ ให้ เข้ าเซลล์ ทาให้ กล้ามเนือ้ เรียบหลอดลมไม่ หดตัว
- ดูดซึมในทางเดินอาหารรวดเร็ว Cmax 2-4 ชม.
- ขจัดที่ตับ ขับที่ไตในเวลา 48 ชม.
ยาต้ านฮีสตามีนกลุ่มอืน่ ๆ (ต่ อ)
Ketotifen dose
- Child 0.05 mg/kg/day divided BID
- Adult 1-2 mg/day divided BID
- ยับยั้งแคลเซียมไม่ ให้ เข้ าเซลล์ ทาให้ กล้ามเนือ้ เรียบหลอดลมไม่ หดตัว
ADR
- ง่ วงนอน ปากแห้ งคอแห้ ง
Corticosteroids nasal spray
Mechanism ลดการหลัง่ inflammation mediator, inh. การหลัง่ PG
จึงทาให้ การแพ้ และการอักเสบของเยือ่ บุโพรงจมูกลดลง
- ปัจจุบันมีการใช้ อย่ างแพร่ หลาย เช่ น
Rhinocort ® (Budesonide) Nasacort®(Triamcinolone)
Beclonase® (Beclomethasone) Flixonase® (Fluticasone)
Nasonex® (Mometasone) Avamys® (Fluticasone)
Corticosteroids nasal spray (ต่ อ)
Dose : พ่น 1-2 puff QD or BID
ADR : เนือ้ เยือ่ โพรงจมูกบางลง เกิดเชื้อราในช่ องปาก
ยากดอาการไอ : Dextromethorphan
กลไก กดศูนย์ การไอในสมองส่ วน medulla โดยเพิม่ threshold ศูนย์
ควบคุมการไอ
ขนาดยา child : 5-10 mg q 4 hr; max 60 mg/day
adult : 10-20 mg q 4 hr; max 120 mg/day
Drug abuse : more than 360 mg >> hallucinate, delusion
Toxicity : N/V ง่ วง กล้ ามเนือ้ ทางานไม่ ประสานกัน พูดไม่ ชัด
ม่ านตาขยาย หัวใจเต้ นเร็ว ปัสสาวะไม่ ออก กระวนกระวาย
หมดสติ อาจถึงแก่ชีวติ ได้
ADR : คลืน่ ไส้ เวียนหัว ปวดท้ อง ล้า อ่อนแรง
ยาละลายเสมหะ
Acetylcysteine
กลไก : ตัดสายเสมหะที่ disulfide bond ทาให้ สายเสมหะสั้ น และขับ
ออกง่ าย
ขนาดยา : child – 100 mg TID
: adult – 100-200 mg TQID
ADR : N/V, asthma exacerbation (maybe)
ยาละลายเสมหะ
Carbocysteine
กลไก : ตัดสายเสมหะที่ disulfide bond ทาให้ สายเสมหะสั้ น และขับ
ออกง่ าย
ขนาดยา : child – 8 mg/kg/dose TID
: adult – 375-750 mg TQID
ADR : N/V
ยาละลายเสมหะ
s - Carbocysteine Lysine
กลไก : ตัดสายเสมหะที่ disulfide bond ทาให้ สายเสมหะสั้ น และขับ
ออกง่ าย
ขนาดยา : child – 5 ml BID
: adult – 30 ml OD or 15 ml BID
ADR : N/V
ยาละลายเสมหะ
Bromhexine
กลไก : เพิม่ สารคัดหลัง่ ในระบบทางเดินหายใจ
เพิม่ การโบกพัดของ celia
ทาให้ เกิดการแตกออกของ mucopolysaccharide
ขนาดยา : child – 0.6-0.8 mg/kg/day divided TID
: adult – 8 mg TQID
ADR : GI irritation(mild) ปวดหัว ง่ วงนอน อาการไอเพิม่ ขึน้
ยาละลายเสมหะ
Ambroxol
กลไก : เพิม่ สารคัดหลัง่ ในระบบทางเดินหายใจ
กระตุ้นการหลัง่ สารลดแรงตึงผิวของหลอดลม
ขนาดยา : child – 1.5 mg/kg/day divided TID
: adult – 30 mg TQID
ADR : GI irritation (mild)
ยาละลายเสมหะ
Guaifenesin
กลไก : การกระตุ้นขับสารคัดหลัง่ ออกมาจากหลอดลม
เพิม่ การโบกพัดของ celia
ขนาดยา : child – 100-200 mg q 4 hr max 1200 mg/day
adult – 200-400 mg q 4 hr max 2400 mg/day
ADR : GI irritation (mild)
Bronchodilator
ยาขยายหลอดลม
ยากลุ่มออกฤทธิ์ เป็ น beta adrenergic agonist จึงให้ ผล
- ขยายหลอดลม
- ขยายหลอดเลือดและหลอดเลือดส่ วนปลาย
- คลายกล้ ามเนือ้ มดลูก
- ทาให้ หัวใจเต้ นเร็ว
ยาขยายหลอดลม
Salbutamol
: onset – inhaler 30 min, oral 2-3 hr
: duration –inhaler 3-4 hr, oral 4-6 hr
: elimination – hepatic first-pass metab.
: ขจัดออกทางปัสสาวะ 50% ในรู ป inactive
Dose Child-0.1-0.2 mg/kg/dose TID Max 12 mg/day
Adult- 2-4 mg TID Max 32 mg/day
ยาขยายหลอดลม
Salbutamol (ต่ อ)
ADR : หัวใจเต้ นเร็ว, แรง
: คลืน่ ไส้ , อาเจียน
: หน้ าแดง กระสั บกระส่ าย นอนไม่ หลับ มึนหัว
: อาจพบอาการแน่ นหน้ าอก (rare)
ยาขยายหลอดลม
Terbutaline
: onset –oral 30-45 hr
: duration –inhaler 3-4 hr, oral 4-6 hr
: metab. – inactive sulfate conjugates ที่ตับ
: ขจัดออกทางปัสสาวะ
Dose Child-0.15 mg/kg/dose TID Max 5 mg/day
Adult- 2.5-5 mg TID Max 15 mg/day
ยาขยายหลอดลม
Terbutaline (ต่ อ)
ADR : หัวใจเต้ นเร็ว, แรง
: ปากแห้ ง, การรับรสเปลีย่ น, คลืน่ ไส้ , อาเจียน
: นอนไม่ หลับ มึนหัว
: ระดับนา้ ตาลในเลือดสู งขึน้
: อาจพบอาการแน่ นหน้ าอก (rare)
ยาขยายหลอดลม
Theophylline
: metab. – demethylation และ oxidation ที่ตับ
: ขจัดออกทางปัสสาวะ
: therapeutic window แคบ
: ระวังเมื่อต้ องใช้ กบั Allopurinol, Cimetidine, INH, Macrolide,
Quinolone จะทาให้ ระดับ theophylline ในเลือดสู งขึน้
: ยาในกลุ่ม Beta-blocker, CBZ, Phenytoin, Protease inh, thyroid
product จะทาให้ ระดับ theophylline ในเลือดลดลง
ยาขยายหลอดลม
Theophylline (ต่ อ)
ADR : N / V , ใจสั่ น, ปวดหัว, นอนไม่ หลับ, สั่ น,ปัสสาวะยาก
Theophylline Toxicity
: ท้ องเสี ย, เบื่ออาหาร, มึนหัว, อ่อนแรง, นอนไม่ หลับ, ปวดศีรษะ,
ชีพจรเต้ นเร็ว
: ในกรณีที่เกิดมากอาจมีอาการ สั่ น, อาเจียน, หายใจยาก,
ชีพจรไวมาก, สั บสน และชัก
โรคต่ างๆ
• allergy
• allergic rhinitis
• viral infection (respiratory tract)
Antibacterial agent
Bacteriostatic vs Bactericidal
Bacteriostatic
เป็ นการยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย มักมีกลไกในการออกฤทธิ์
โดยการยับยั้งการสร้ างโปรตีน จึงต้ องใช้ ระบบภูมิคุ้มกันเพือ่ เก็บกินเชื้อ
ได้ แก่ยาในกลุ่ม Macrolide, Tetracycline, Chloramphenicol,
Sulfonamide
Bactericidal
ออกฤทธิ์โดยการฆ่ าเชื้อแบคทีเรียโดยทัว่ ไปจะออกฤทธิ์โดยการทาลาย
ผนังเซลล์หรือเซลล์เมมเบรนของแบคทีเรีย ได้ แก่ ยาในกลุ่ม Penicillin,
Cephalosporin, Aminoglycoside, Fluoroquinolone, Metronidazole
Bacteriostatic vs Bactericidal
Drug inhibiting cell wall synthesis
ส่ วนประกอบของ cell wall
แกรมบวก เป็ นพวก peptidoglycan ที่แน่ นหนา เมื่อสร้ าง beta-lactamase
enz. จึงจะส่ งออกนอกเซลล์ทาให้ มีปริมาณเจือจาง
แกรมลบ มี outer membrane ซึ่งเป็ น lipid และ beta-lactamase สะสมใน
periplasmic space ทาให้ ยากลุ่ม beta-lactam ถูกทาลายบริเวณนี้
ดังนั้นยากลุ่ม beta-lactam จึงออกฤทธิ์ได้ ดีกบั เชื้อแกรมบวก
Penicillin group
Penicillin group
Classification
1. Natural Penicillin : Pen V, Pen G (only Inj.)
2. Beta-lactamase resistance penicillin : Cloxacillin Dicloxacillin
3. Broad spectrum penicillin : Ampicillin, Amoxicillin
ออกฤทธิ์ได้ ดีกบั แกรมลบ มากขึน้ แต่ ไม่ ทนต่ อ beta-lactamase
4. Extended spectrum penicillin or antipseudomonas penicillin : ใช้ กบั
pseudomonas ได้ เช่ น Piperacillin, Carbepenicillin
Penicillin group
MOA : ยับยั้งการสร้ างผนังเซลล์ของแบคทีเรียโดยการแย่ งจับกับ
Penicillin Binding Protein (PBPs) ทาให้ เซลล์ไม่ สามารถทนแรงดัน
จากภายในได้ และเซลล์แตก
การดือ้ ยา
1. สร้ าง beta-lactamase มาทาลายยา
2. เปลีย่ นโครงสร้ าง PBPs ทาให้ ยาจับไม่ ได้
Penicillin group
Penicillin V (Abs. ต่า อาหารมีผลต่ อการ Abs. ต้ องให้ ก่อนอาหารเท่ านั้น)
Child : 25-50 mg/kg/day divided every 6-8 hr. Max 3g./day
Adult : 500 mg. TQID 10 day
Amoxicillin (อาหารไม่ มีผลต่ อการ Abs. )
Child : EENT 20-50 mg/kg/day divided every 8-12 hr.
: Acute otitis media 80-90 divided every 8-12 hr.
Adult : EENT mild to moderate 500 q 12 hr., severe 500 mg. q 8 hr.
Penicillin group
Amoxicillin (อาหารไม่ มีผลต่ อการ Abs. )+ Clavulanic acid
Dose up to amoxicillin
Cloxacillin (Abs. ต่า อาหารมีผลต่ อการ Abs. ต้ องให้ ก่อนอาหารเท่ านั้น)
นิยมใช้ กบั การติดเชื้อ staphylococcus ที่ผวิ หนัง
Child : 25-50 mg/kg/day divided every 6hr.
Adult : 500 mg. TQID 10 day max 6 g./day
Dicloxacillin(Abs. ต่า อาหารมีผลต่ อการ Abs. ต้ องให้ ก่อนอาหารเท่ านั้น)
นิยมใช้ กบั การติดเชื้อ staphylococcus ที่ผวิ หนัง
Child : 12.5-50 mg/kg/day divided every 6hr. Not more than 250 mg/dose
Adult : 125-1000 mg. TQID 10 day max 6 g./day
Penicillin group
ADR
ที่พบมากคือการแพ้ยา มักพบอาการ ผืน่ (maculopapular rash)
ลมพิษ มีไข้ หลอดลมหดตัว dermatitis, SJS, Erythema multiform,
Anaphylatic shock
Erythema multiform
SJS
Maculopapular rash
Penicillin group
•
•
•
Anaphylaxis พบได้ 0.04-0.2 % ในทุกวัย
อาการได้ แก่ ความดันโลหิตต่า หลอดลมหดตัว หอบหืด คลืน่ ไส้
อาเจียน และเสี ยชีวติ
การแพ้ penicillin อาจ cross แพ้ยาอืน่ ๆ ที่มีโครงสร้ าง Beta-lactam
ได้ เช่ น cephalosporin
ADR อืน่ ๆ
- N/V/D (pseudomembranous colitis)
- อาจทาให้ ค่าการทางานของตับสู งขึน้ โดยไม่ มีอาการผิดปกติทตี่ ับ
Clavulanic Acid
•
•
•
เป็ น oxapenam ได้ จากเชื้อ Streptomyces clavuligerus
ฤทธิ์ยบั ยั้ง beta-lactamase โดยมักใช้ ร่วมกับ amoxicillin เพือ่ เสริม
ฤทธิ์การฆ่ าเชื้อ
Staphylococcus สายพันธ์ ทสี่ ร้ าง beta-lactamase : H. Influenzae,
Gonococci, E. coli
Cephalosporin
Cephalosporin
Classification
- 1st generation
: inh g (+) bact. ยกเว้ น Enterococci, MRSA, S. epidermidis
: ได้ ผลกับ g (-) bact บ้ าง เช่ น M. catarrhalis, E. coli, P. mirabilis
: Cephalexin, Cefadroxil, Cefazolin
- 2nd generation
: ไวกับเชื้อ g (-) bact. มากขึน้
: ทนต่ อ beta-lactamase
: Cefaclor, Cefuroxime, Cefprozil, Cefoxitin
Cephalosporin
Classification
- 3rd generation
: inh g (+) bact. ได้ ลดลง
: ได้ ผลกับ g (-) bact มากขึน้ โดยเฉพาะกลุ่ม Enterobacteriaceae และพวก
ทีส่ ร้ าง beta-lactamase
: Cefdinir, Cefixime, Ceftibuten, Cefditoren pivoxil, Cefotaxime,
Ceftriaxone, Cefoperazole, Ceftazidime
- 4th generation
: ครอบคลุมเชื้อมากกว่ า 3rd Gen.
: เป็ นยาฉีดทั้งหมด
: Cefpirome, Cefepime
Cephalosporin
คุณสมบัติ
ทนต่ อ beta-latamase
ต้ านเชื้อ
Gram +
Gram Anaerobe
P. Aeruginosa
1st Gen
+
2nd Gen
+
3rd Gen
+++
4th Gen
++++
+++
+
-
++
++
-
++
+++
++
++
+++
+++
++
++
Cephalosporin
MOA : ยับยั้งการสร้ างผนังเซลล์ของแบคทีเรียโดยการแย่ งจับกับ
Penicillin Binding Protein (PBPs) ทาให้ เซลล์ไม่ สามารถทนแรงดัน
จากภายในได้ และเซลล์แตก
การดือ้ ยา
1. ผ่ านเข้ าผนังเซลล์ได้ ลดลง
2. ความสามารถในการจับ PBPs ลดลง แบคทีเรียเปลีย่ นโครงสร้ าง PBP
3. เชื้อสร้ าง beta-lactam ทาลาย lactam ring
Cephalosporin
1st Generation Cephalosporin
: ไวต่ อเชื้อ g (+) ยกเว้ น Enterococci, Staphylococci
: ใช้ กบั g (–)ได้ เฉพาะ E. coli
: Cephalexin (อาหารและนมทาให้ การดูดซึมลดลง)
Child : 25-100 mg/kg/Day divided every 6-8 hr. Max 4 g./day
otitis media : 75-100 mg/kg/Day divided every 6-8 hr.
Pharyngitis, skin : 25-50 mg/kg/Day divided every 6-8 hr.
Adult : 250-1000 mg every 6 hr.
cellulitis : 500 mg every 6 hr.
streptococcal Pharyngitis, skin in infection : 500 mg every 6 hr.
uncomplicated cystitis : 500 mg every 12 hr (7-14 Day)
Cephalosporin
2nd Generation Cephalosporin
: spectrum ในการฆ่ าเชื้อเหมือน 1st gen. + H. influenzae
: Cefaclor
Child : 20-40 mg/kg/Day divided every 8-12 hr. Max 1 g./day
Otitis media : 40 mg/kg/Day divided every 12 hr.
Pharyngitis : 20 mg/kg/Day divided every 12hr.
Adult : 250-500 mg every 12 hr.
Cephalosporin
3rd Generation Cephalosporin
: นิยมใช้ ในการฆ่ าเชื้อ g (–) โดยเฉพาะ Enterobacteriaceae
: ไม่ นิยมใช้ กบั เชื้อ P. Aeruginosa และ Staphylococcus spp.
: ทนต่ อ beta-lactamse มากขึน้
: Cefixime >> อาหารลดการดูดซึมของยา
Child : 8 mg/kg/Day divided every 12 hr. Max 400 mg./day
Adult : 400 mg divided every 12 hr.
Tx gonorrhoeae : 400 mg. single dose
Cephalosporin : 3rd Generation Cephalosporin
: Ceftibuten >> อาหารลดการดูดซึมของยา
Child : 9 mg/kg/Day Max 400 mg./day
Adult : 400 mg OD
: Cefdinir
Child : skin infection 7 mg/kg/Dose BID
Otitis media, pharyngitis, tonsilitis 14 mg. once daily
Max 600 g./day for 10 day.
Adult : 300 mg BID or 600 mg. OD
Cephalosporin : 3rd Generation Cephalosporin
: Cefditoren
Child : 200-400 mg/kg BID
Adult : Chronic bronchitis, Dental infection 400 mg BID
ADR : คล้ายกลุ่ม penicillin
Macrolide
Macrolide
Spectrum
: g (+) ไวต่ อ Streptococcus, Corynebacterium diptheria, Clostridium
perfringen, Actinomyces israelii, Mycobacterium
- g (-) ไวต่ อ N. meningitidis, N. gonorrhoeae, Bordetella pertussin สาหรับ
H. influenzae พบการดือ้ ยามาก
- g (-) ในช่ องปากไวกับยานี้ แต่ g (-) ในช่ องท้ องพบว่ าไม่ ไวต่ อยานี้
- ใช้ ได้ ดีใน Mycoplasma pneumoniae
MOA : inh. Protein synthesis ที่ 70 S และ 50 S Ribosome โดยยับยั้งการ
translocation ของ tRNA
Macrolide
Erythromycin : acid labile อาจทายาในรูปเบส เช่ น estolate salt,
ethylsuccinate salt, sterate salt
Child : 30-50 mg/kg/day devided 2-4 times Max 2 g/day
Adult : 250-500 q 6-12 hr. Max 4 g/day
ADR : N/V/D, abdominal discomfort,
pseudomembranous colitis
D/I : เพิม่ ระดับยา theophylline, CBZ, Warfarin
เพิม่ การดูดซึม digoxin
Macrolide
Roxithromycin : นิยมใช้ กบั การติดเชื้อที่ทางเดินหายใจ, EENT, ผิวหนัง,
ทางเดินปัสสาวะ
: อาหารมีผลต่ อการดูดซึม
Child : 2.5-5 mg/kg BID
Adult : 150 mg BID
ADR : N/V/D, abdominal discomfort,
pseudomembranous colitis
Macrolide
Clarithromycin
: ออกฤทธิ์เพิม่ ขึน้ กับเชื้อ H. influenzae, Mycobacterium avium complex,
H. pylori, Toxoplasma gondii, M. catarrhalis, S. aureus
: อาหารไม่ มีผลต่ อการดูดซึม
Child : 7.5 mg/kg BID Max 500 mg/day
Adult : 150 mg BID
: ADR : N/V/D, abdominal discomfort,
pseudomembranous colitis
รสขมในช่ องคอ
Macrolide
Azithromycin
: ครอบคลุมเชื้อกว้ างกว่ า clarithromycin
: ใช้ ได้ กบั S. aureus (beta-lactamase), S. epidermidis, Streptococci group
สามารถยับยั้ง N. gonorrhoeae ได้ ดีกว่ า macrolide อืน่ ๆ
: อาหารมีผลต่ อการดูดซึม
Child : 5-12 mg/kg OD for 3 days Max 500 mg/day
Sinusitis, Otitis media : 10 mg/kg OD
Pharyngitis, Tonsilitis : 12 mg/kg OD
Macrolide
Adult : 250 - 500 mg OD for 3 days
URI, Otitis media, soft tissue infect : 500 mg OD for 3 days
C. trachomatis : 1 g single dose
N. gonorrhoeae : 2 g single dose
Fluoroquinolone
Fluoroquinolone
MOA : inh enzyme 2 ชนิด
DNA gyrase (topoisomerase II)
เกีย่ วข้ องกับการพันเกลียวของ DNA ของ g (-)
Topoisomerase IV
เกีย่ วข้ องกับการแยกของ Daugther DNA ไปเซลล์ลูกของ g (+)
Spectrum : รุ่นแรกๆ มีขอบเขตการออกฤทธิ์เฉพาะ g (-)
Enterobacteriaceae จากนั้นมีการพัฒนาโครงสร้ างให้ มีความไวต่ อ
g(-) bacilli มากขึน้ ได้ แก่ E. coli, K. Pneumoniae, Enterobactor,
Proteus, H. influenzae, M. cattarrhalis, N. gonorrhoeae รวมถึง P.
aeruginosa สาหรับ g(+) ไม่ ค่อยไวต่ อยากลุ่มนี้
Fluoroquinolone
Spectrum (ต่ อ)
: รุ่นหลังๆ พัฒนาต่ อมาจนมีความไวกับ g (+) ; Staphylococcus aureus,
Streptococcus spp. มากขึน้ แต่ ความไวต่ อ g(-) ลดลง
: ดูดซึมได้ ดีในทางเดินอาหาร ยกเว้ น norfloxacin
: การกระจายตัวมากกว่ ายาชนิดอืน่ ๆ สะสมในปัสสาวะ ต่ อมลูกหมาก อุจจาระ
และนา้ ดีได้ มาก
: ส่ วนใหญ่ เปลีย่ นแปลงสภาพทีต่ ับ ขับออกที่ไต
Fluoroquinolone
Norfloxacin : ไม่ ควรให้ พร้ อมนม และยาลดกรด
: ทานก่อนอาหาร
: ไม่ ใช้ ในเด็ก เนื่องจากมีผลต่ อกระดูกและข้ อ
Dose : 400 mg BID max 800 mg/day
Dysenteric Enterocolitis (shigellosis) : 5 days
Traveler’s Diarrhea : 3 days
UTI : uncomplicate 3 days, complicate 7-21 days
ADR : GI irritation
Ciprofloxacin : เก็บไว้ ใช้ ใน Pseudomonas aeruginosa
Fluoroquinolone
Ofloxacin
Dose : 200-400 mg BID
Gonococcal : 400 mg single dose
Bronchitis, Skin infection: 400 mg BID 10 days
UTI : uncomplicate – 200 mg BID 3 days
complicate – 200 mg BID 7-21 days
Traveller diarrhea : 300 mg BID for 3 days
Fluoroquinolone
Levofloxacin : เป็ นยาทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ ให้ ไวต่ อ g (+)
Dose : Skin infection : 500 mg OD
Sinusitis : 500 mg OD 10-14 days
Bronchitis: 500 mg OD 7 days
UTI : uncomplicate – 250 mg OD 3 days
complicate – 250 mg BID 10 days
Precaution : การให้ พร้ อมยาลดกรด (antacid) ลดการดูดซึมยา 60-95%’
D/I : เพิม่ ระดับยา theophylline
ADR : N/V/D, anorexia, การรับรสผิดปกติ, ผืน่ คัน, ปวดกระดูก ข้ อในเด็ก
Tetracycline
Tetracycline
- สามารถยังยั้งเชื้อได้ ท้งั g (+), g (-), Anaerobe, Rickettsia, Chlamydia,
Mycoplasma, Spirochete และ Protozoa
- Doxycycline มีความสามารถในการยับยั้งเชื้อดีทสี่ ุ ด รองลงมาคือ
Tetracycline
- ไม่ นิยมใช้ กบั URI เนื่องจากเชื้อที่ก่อโรคมีการดือ้ ยามาก
- เชื้อในกลุ่ม N. gonorrhoeae ไวต่ อยากลุ่มนี้ (แต่ ควรใช้ กบั ยากลุ่มอืน่ เช่ น
3rd Gen. Cephalosporin เพือ่ ลดปัญหาการดือ้ ยา)
- ยังคงใช้ ได้ ดีกบั H. influenza, Vibrio spp.
Tetracycline
MOA : หยุดการเจริญเติบโตของเชื้อโดยยับยั้งการสั งเคราะห์ โปรตีน ที่
Ribosome S 30
กลไกการดือ้ ยา : 1. ลดการซึมผ่ านยาทีผ่ นังเซลล์
2. มี ribosome protection protein แย่ งจับที่ ribosome
3. สร้ าง enzyme ทาลายยา
Tetracycline
Tetracycline : ใช้ รักษาสิ วได้ ดี เนื่องจากยาช่ วยลดไขมันทีผ่ วิ หนัง โดย ยับยั้ง
P. acne ไม่ ให้ ผลิตไขมัน
: Child ไม่ ควรใช้ เนื่องจากทาให้ เกิด tooth discoloration,
Tissue pigmentation
Adult : 250-500 q 6 hr.
Tetracycline
Doxycycline :
- Child : 100-200 mg/Day divided BID
Chlamydia infection : 100 mg BID for 7 days
- Adult : Bronchitis 100 mg BID for 7 days
Gonococcal infection 100 mg BID for 14 days
Urethritis 100 mg BID for 7 days
Acne 100 mg BID
- D/I : CBZ, Phenyltoin, Barbiturate เพิม่ metabolism Doxycycline
Tetracycline
ADR :
- Anorexia
- N/V/D
- BUN increase (dose related)
Sulfamethoxazole/
trimetoprim
Sulfamethoxazole/Trimetoprim
MOA : competitive inhibitor ของ dihydroptheroate syntase ที่ใช้ ในการ
สร้ าง dihydropteric acid ที่เป็ น intermediate ที่ใช้ ในการสร้ าง folic
acid
MOA : inh. Dihydrofolate reductase ที่มีหน้ าทีเ่ ปลีย่ น dihydrofolate เป็ น
tetrahydrofolate
2 กลไกร่ วมกัน เป็ น bactericidal
Sulfamethoxazole = bacteriostatic
Sulfamethoxazole + Trimetoprim = bactericidal
Pteridine + PABA
dihydropteroic acid
glutamate
Dihydropteroate synthase
Dihydrofolic acid
Inh. By SULFONAMIDE
Inh. By TRIMETOPRIM
NADPH
Dihydrofolate reductase
NADP
Tetrahydrofolic acid
purine
Nucleic acid synthesis
Sulfamethoxazole/Trimetoprim
: มีฤทธิ์กว้ าง ทั้งกับ g (+) และ g (-) ได้ แก่ S. pyogenes, S. pneumoniae, H.
influenza, H. ducreyi, Actinomyces, C. trachomatis และ E. coli
: dose
Child – Otitis media : TMP 8 mg/kg devided q 12 hr. for 10 days
Shigellosis : TMP 8 mg/kg devided q 12 hr. for 5 days
UTI : TMP 6-12 mg/kg devided q 12 hr. for 7-14 days
Adult – Bronchitis, Skin/Soft tiss. Infect : 800/160 mg q 12 hr 10-14 days
Shigellosis, Traveller diarrhea : 800/160 mg q 12 hr 5 days
UTI : 800/160 mg q 12 hr complicate 7-10 days
uncomplicated 3-5 day
Sulfamethoxazole/Trimetoprim
ADR : N/V
: hemolytic anemia
: SJS
: hepatotoxic, anorexia
Clindamycin
Clindamycin
MOA : inh. Protein synthesis โดยจับ Ribosome 50s
: นิยมใช้ กบั เชื้อ anaerobe
: ไวกับ Streptococci group A, S. aureus, S. pneumoniae, B. fragilis,
C. perfringens
: ดูดซึมได้ ดี อาหารไม่ มีผลต่ อการดูดซึม
: ยาผ่ านเข้ ากระดูกได้ จึงใช้ ในการติดเชื้อทีก่ ระดูก และใช้ ในแผลเบาหวานได้ ดี
: dose - Child : 8-20 mg/kg divided TQID
Adult : 150-450 mg q 6 hr Max 1.8 g/day
: ADR – abdominal pain, diarrhea, esophagitis, pseudomembranous
colitis, liver function test abnormal
Respiratory tract infection
• viral infection
• pharyngitis
• tonsilitis
• sinusitis
• otitis media
Viral Infection
Viral Infection
อาการ
- ไข้ ปวดเมื่อยตามเนือ้ ตัว ไอ เสมหะ จาม นา้ มูก
- อาจเจ็บคอ หรือไม่ กไ็ ด้
- ในเด็กอาจมีอาการท้ องเสี ยร่ วมด้ วย
- บางรายมีอาการตาแดง ปวดท้ อง
การรักษา : ใช้ ยาตามอาการ
Pharyngitis
Pharyngitis
: inflammation caused by an upper respiratory tract infection
: Cause
- viral : adenovirus, rhinovirus, coronavirus etc.
- bacterial : Strep gr.A, M. catarrhalis, H. influenzae
- fungal (rare) : Candida albicans
- GERD
: Symptoms
- fever, chill (maybe)
- fatique
- cough, sneezing, sore throat
- enlarge lymph node in neck
Pharyngitis
Treatment
- Antihistamine (non sedative vs sedative)
- Anticough, mucolytic
- Paracetamol or Ibuprofen
- Bronchodilator (if hard cough)
- Gargle several times per day
- Antibiotic in case of Bacterial infection
Tonsilitis
: inflammation of the tonsils
: Cause
- viral : adenovirus, rhinovirus, coronavirus etc.
- bacterial : Strep gr.A, M. catarrhalis, H. influenzae
: Symptoms
- red and swallen tonsils
(white or yellow patch on the tonsils)
- fever, chill
- sore throat, body ache, earache, nasal congestion
- swollen lymph node
Tonsilitis
: Treatment
- Antihistamine (non sedative vs sedative)
- Anticough, mucolytic
- Paracetamol or Ibuprofen
- Bronchodilator (if hard cough)
- Gargle several times per day
- Antibiotic in case of Bracterial infection
- Tonsillectomy (pt. who have infected five or more time per year)
Sinusitis
: inflammation of the sinus that occurs with a viral, bacterial or fungi.
Sinusitis
: Cause
- viral : adenovirus, rhinovirus, coronavirus etc.
- bacterial : Strep gr.A, M. catarrhalis, H. influenzae
Sinusitis can occur from one of these condition
- Cilia in the sinuses don’t work properly.
- Colds and allergy may cause too much mucus to be block the
opening of sinuses
- A deviated nasal septum ot nasal polyps may block the opening of
sinuses
Sinusitis
Classification
- acute : symptoms last up to 4 weeks
- sub-acute : symptoms last 4-12 weeks
- chronic : symptoms last 3 months or longer
Risk factor
allergic rhinitis, cystic fibrosis, day care, change in altitude,
smoking, tooth infection, weakended immune system from HIV or
chemotherapy
Sinusitis
Symptoms
- Bad breath or loss of smell
- Cough
- Fatigue, fever, headache, facial pain,
- Nasal congestion and discharge
- Sore throat and post nasal drip
Sinusitis
Treat
- Antihistamine (non sedative)
- Anticough, mucolytic
- Paracetamol or Ibuprofen
- Bronchodilator (if hard cough)
- Nasal irrigation
- Nasal steroid spray
- Antibiotic in case of Bacterial infection
Otitis media
: inflammation in middle ear or infection. Between tympanic mb. and
inner ear (include Eustachian tube)
: most often in 16-18 month.
: Cause
Eustachian tube are blocked by
- respiratory infection
- allergy
- smoking
Otitis media
Symptoms
: pain
: fever
: difficult in hearing
: dizziness, vertigo
Otitis media
Risk factor
- Age children 6-36 month
- Secondhand smoke
- Day care
- History of allergy
Treatment
- Antihistamine (non sedative vs sedative)
- Anticough, mucolytic
- Paracetamol or Ibuprofen
- Bronchodilator (if hard cough)
- Antibiotic in case of Bacterial infection
โรคพร่ องเอนไซม์ G-6-PD
โรคพร่ องเอนไซม์ G-6-PD
: Glucose 6 Phosphate Dyhydrogenase Deficiency
เป็ นโรคทางพันธุกรรมโรคหนึ่งซึ่งทาให้ เม็ดเลือดแดงแตกเมื่อได้ รับสิ่ ง
กระตุ้นต่ างๆ ซึ่งทาให้ มีอาการปัสสาวะมีสีดา ถ่ ายปัสสาวะน้ อยจนอาจ
นาไปสู่ acute renal failure
สิ่ งกระตุ้น
1. อาหาร โดยเฉพาะ ถั่วปากอ้า
2. การติดเชื้อโรคต่ างๆ
3. Diabetic acidosis
4. การได้ รับยาต่ างๆ ได้ แก่ NSAIDs, Quinolone, Sulfa, Chloramphenicol
Download