ภาพนิ่ง 1 - บริหารการศึกษา รุ่น 15

advertisement
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สู่ความเป็ นเลิศ
• ดร.วิชัย กันหาชน
ศึกษานิเทศก์
วิทยฐานะศึกษานิเทศก์ เชี่ยวชาญ
081-7398994
e-mail:wichai.2006@yahoo.co.th
สาระการแลกเปลีย่ นเรียนรู ้
1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
3. การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
4. การพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ท่ามกลางปัญหาและวิกฤติ
ความขัดแย้ ง
เรามีตกึ ทีส่ ู งขึน้
เรามีบ้านหลังใหญ่ ขนึ้
เรามีบ้านทีน่ ่ าอยู่
เราเรียนสู งขึน้ มีความรู้ มากขึน้
เรามีผู้เชี่ยวชาญมากขึน้
เรามีความสะดวกสบายมากขึน้
เรามียารักษาโรคมากขึน้
เรากิน ดืม่ ดู มากขึน้
เรามีข้อมูลสารสนเทศมากขึน้
แต่
แต่
แต่
แต่
แต่
แต่
แต่
แต่
แต่
มีอารมณ์ ที่ส้ั นลง
มีครอบครัวที่เล็กลง
ครอบครัวแตกแยกเพิม่ ขึน้
ตัดสิ นใจน้ อยลง
มีปัญหามากขึน้
มีเวลาน้ อยลง
สุ ขภาพแย่ ลง
อ่ านน้ อยลง
สื่ อสารน้ อยลง
คนไทยในปัจจุบนั
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
นิยมความสะดวกสบาย ชอบเสี่ ยงโชค
นิยมความฟุ้ งเฟ้อ ฟุ่ มเฟื อย
ขาดความมุ่งมั่น
ขาดความเอือ้ เฟื้ อ เอือ้ อาทร
เห็นประโยชน์ ส่วนตนมากกว่ าส่ วนรวม
เน้ นวัตถุนิยมมากกว่ าด้ านจิตใจ
ขาดภูมิคุ้มกัน คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม
ปัญหาครอบครัวไทย
ปัญหาการเงิน
เด็กไม่ ได้ อาศัยอยู่กบั พ่อแม่
ความยากจน
ความสั มพันธ์
ภายในครอบครัวไม่ ดี
การพนัน
การเจ็บป่ วยทางจิต
หนีส้ ิ น
ติดยาเสพย์ ติด
ความขัดแย้ งในครอบครัว
ครอบครัวแตกแยก
www.themegallery.com
Company Logo
สภาพเยาวชนไทยในปัจจุบนั

คุณธรรม จริยธรรม ยังไม่ เข้ มแข็ง
 ไม่ เห็นคุณค่ าวัฒนธรรมไทย
 ใช้ ยาเสพย์ ติด
 ใช้ ความรุ นแรง
 มีเพศสั มพันธ์ ก่อนวัยอันควร
 ใช้ จ่ายฟุ่ มเฟื อย
 คุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับทีต่ ้ องปรับปรุ ง
 อ่านไม่ ออก เขียนไม่ ได้ คิดเลขไม่ เป็ น
 ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์
 ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักต่า


ปัญหาสุ ขภาพ / ไม่ นิยมออกกาลังกาย
ประสบภัยพิบัติ
ปัญหาคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา
• การกระจายอานาจการบริหารจัดการจากส่ วนกลางสู่
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษายังไม่ สัมฤทธิผล
• ภาคเอกชนยังมีส่วนร่ วมน้ อยในการจัดการศึกษา
• การจัดทรัพยากรเพือ่ การศึกษายังเป็ นการจัดสรร
เชิงอุปทาน (supply) ให้ สถานศึกษา
ยังไม่ เป็ นตามอุปสงค์ (demand) ไปยังผู้เรียน
10
3. Road Map ทางการศึกษา
1. เทคนิคการบริหารจ ัดการ (Managerial Resource)
2. ทร ัพยากรบุคคลหรือทร ัพยากรมนุษย์(Human Resource)
3. ทร ัพยากรทางการเรียนรู ้ (Learning Resource)
4. ทร ัพยากรสารสนเทศ (Information Technology Resource)
5. การเงินและงบประมาณ (Financial and Budget Resource)
6. ทร ัพยากรทางกายภาพ (Facility Resource)
7. ทร ัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
(Natural and Environment Resource)
มิติใหม่ ของการบริหารจัดการ
ทรัพยากรทางการศึกษา
การทางานในโลกยุคใหม่
• การทางานจะเปลีย
่ นไป เน้น“สร้าง
มูลค่าเพิม
่ ” (Value creation)
• “ความรู”้ “ความสามารถ” จะเป็นแหล่งสร้าง
มูลค่า
้ นน้อยลง แต่งานมีผลิตภาพ ประสท
ิ ธิผล
• ใชค
้ (Have less with
และความพึงพอใจมากขึน
more, Do more with less)
การทางานในโลกยุคใหม่
• ระบบงานจะถูกออกแบบใหม่ให้มผ
ี ลงานทีด
่ ข
ี น
ึ้
(High performance working system)
พร้อมไปก ับ มีความสามารถในการปร ับต ัว
้ (Adaptive organization)
ยืดหยุน
่ มากขึน
• บูรณาการผสานผนึกกาล ังก ันของ “การบริหาร
จ ัดการ” “ทร ัพยากรบุคคล” และระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ
• องค์กรจะต้องมีหล ักการ ว ัฒนธรรมค่านิยม
ทีย
่ ด
ึ ถือร่วมก ัน
องค์การกับการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
• พลวัต/ เปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา
• มีความยืดหยุ่นสู ง/ ปรับตัวได้ ดแี ละเร็ว
• มุ่งเน้ นทีท่ กั ษะ/ความรู้ ความสามารถการทางาน
• เน้ นการทางานเป็ นทีม
• เน้ นการมีส่วนร่ วมอย่ างจริงจัง /ร่ วมตัดสิ นใจ
16
องค์การกับการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
•เน้ นทุกคนเสมือนเป็ นลูกค้ า
•ไม่ มีการกาหนดเวลาทางานที่ตายตัว
(ทาได้ ตลอดเวลา / แบบยึดหย่ ุน)
•ทางานได้ ทุกหนทุกแห่ ง ทุกเวลา
•ความสั มพันธ์ เป็ นแบบเครือข่ าย/
แนวขนาน
17
แนวโน้ มการจัดการองค์ การในอนาคต
• ภาวะผู้นาและการตัดสิ นใจ (leadership & decision
making)
• การบริหารการเปลีย่ นแปลง (change management)
• การบริหารความขัดแย้ งภายในองค์ การ (conflict
management)
• การบริหารความเสี่ ยง (risk management)
• การติดต่ อสื่ อสารที่มีประสิ ทธิผล ทั้งภายในและนอก
องค์ การ
18
แนวโน้ มการจัดการองค์ การในอนาคต
• การสร้ างระบบความร่ วมมือ (cooperative system)
• การให้ ความสาคัญกับทรัพยากรมนุษย์ / การพัฒนา
ความรู้
• ธรรมาภิบาล (good governance)/บรรษัทภิบาล
(corporate governance) (การบริหารจัดการที่ดี)
• การมุ่งไปสู่ องค์ การแห่ งคุณภาพ (quality
organization)
19
พฤติกรรมองค์ กรเอกชนที่เป็ นเลิศ 11 ประการ
1. การนาองค์ กรอย่ างมี
วิสัยทัศน์
2. ความเป็ นเลิศทีม่ ่ ุงเน้ น
ลูกค้ า
3. การเรียนรู้ ขององค์ กร
และของแต่ ละบุคคล
4. การเห็นคุณค่ าของ
พนักงานและคู่ค้า
5. ความคล่ องตัว
6. การมุ่งเน้ นอนาคต
7. การจัดการเพือ่ นวัตกรรม
8. การจัดการโดยใช้
ข้ อมูลจริง
9. ความรับผิดชอบต่ อ
สั งคม
10. การมุ่งเน้ นทีผ่ ลลัพธ์
และการสร้ างคุณค่ า
11. มุมมองในเชิงระบบ
1. คิดใหม่/ทำใหม่
ต่อเรื่องหลักกำร
(Rethinking Principle)
6. คิดใหม่/ทำใหม่
ต่อโลก
(Rethinking the World)
2. คิดใหม่/ทำใหม่
ต่อกำรแข่งขัน
(Rethinking Competition)
คิดใหม่ - ทำใหม่
ในกำรทำงำนยุคใหม่
5. คิดใหม่/ทำใหม่
ต่อกำรตลำด
(Rethinking Market)
3. คิดใหม่/ทำใหม่
ต่อกำรบริหำรองค์กร
(Rethinking Control & complexity)
4. คิดใหม่/ทำใหม่
ต่อกำรเป็ นผูน้ ำ
(Rethinking Leadership)
3
การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
บทบาทของครู
ในการพัฒนาคุณภาพ
ผูเ้ รียน
บทบาทของครู
ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
1. การกาหนดเป้าหมายทีต่ ้ องการให้ เกิดขึน้ กับผู้เรียน ด้ านความรู้ ทักษะ
กระบวนการทีเ่ ป็ นความคิดรวบยอด หลักการและความสั มพันธ์ รวมทั้ง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. การวิเคราะห์ ข้อมูลผู้เรียนเป็ นรายบุคคล แล้ วนาข้ อมูลมาใช้ ในการ
วางแผนการจัดการเรียนรู้ ทที่ ้ าทายความสามารถของผู้เรียน
3. การออกแบบการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองความแตกต่ าง
ระหว่ างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพือ่ นาผู้เรียนไปสู่ เป้าหมาย
บทบาทของครู
ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
4. การจัดบรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่ อการเรียนรู้ และดูแลช่ วยเหลือผู้เรียนให้ เกิด
การเรียนรู้
5. การจัดเตรียมและใช้ สื่อให้ เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้ องถิ่น
เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาประยุกต์ ในการจัดการเรียนการสอน
6. การประเมินความก้ าวหน้ าของผู้เรียนด้ วยวิธีทหี่ ลากหลาย เหมาะสม
กับธรรมชาติของวิชาและระกับพัฒนาการของผู้เรียน รวมทั้งการวาง
เงือ่ นไขให้ ผู้เรียนประเมินความก้ าวหน้ าของตนเองและนามาใช้ ในการ
ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง
บทบาทของครู
ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
7. การวิเคราะห์ ผลการประเมินและนามาใช้ ใน
การซ่ อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุง
การจัดการเรียนการสอน
8. การศึกษาค้ นคว้ า วิจัย เพือ่ พัฒนาสื่ อและ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
พัฒนาหลักสูตรและการจัดการ
เรียนรูอย
งส่งผลไปถึงการ
้ างไรจึ
่
คุภาพตามมาตรฐานการเรี
ณภาพผูเรี
ง้
1.ยกระดั
ไปถึงคุบณ
ยนรู
้ ยนอยางแท
่
้จริ
และครบตามตั
ว
ชี
ว
้
ด
ั
2. ไปถึงคุณภาพครบทุกมิตค
ิ ุณภาพ Knowledge
Attitude Process
3. ไปถึงคุณภาพครบทัง้ ดานสมรรถนะและ
้
คุณลักษณะอันพึงประสงค ์
4. ไปถึงการเพิม
่ ผลสั มฤทธิท
์ างการเรียน O-Net ได้
อยางมี
ประสิ ทธิภาพ
่
5. ไปถึงมาตรฐานตามเกณฑประเมิ
น
์
คุณไปถึ
ภาพภายนอก
6.
งคุณภาพทีม
่ สมศ.
ม
ี าตรฐานระดับ
อาเซียน
7. ไปถึงคุณภาพระดับสากล
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
1. ไปถึงคุณภาพ
ตามมาตรฐานการ
เรียนรูและครบตาม
้
ตัวชีว้ ด
ั
ตัวชี้วดั ชั้นปี / ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นาาน
พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระ
การเรียนรู้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สั งคมศึกษาฯ
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพฯ
8. ภาษาต่างประเทศ
รวม
รวม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
สาระ มาตรฐาน
5
6
8
5
5
3
4
4
5
14
13
11
6
6
4
8
40
67
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
22
15
16
32
15
18
5
16
139
27
23
23
34
21
25
10
16
179
31
28
28
39
18
29
8
18
200
33
29
21
38
19
29
10
20
199
33
29
34
37
25
26
13
20
217
34
31
37
39
22
27
13
20
223
180
155
159
219
120
154
59
110
1157
29
ตัวชี้วดั ชั้นปี /ช่วงชั้นตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นาาน
พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระ
การเรียนรู้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สั งคมศึกษาฯ
5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพฯ
8. ภาษาต่ างประเทศ
ตัวชี้วดั ชั้นปี / ช่ วงชั้น
ม.1 ม.2 ม.3
รวม
35
27
42
45
23
27
9
20
32
26
37
44
25
27
14
21
36
25
40
49
24
32
12
21
103
78
119
138
72
86
35
62
ม.4 – 6
36
32
67
63
29
39
29
21
30
มาตรฐาน
•For all
ทาอะไรได้
“What student should know and be able to do.”
รู ้อะไร
(Marzano, 1998)
เข้ าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกีย่ วกับจานวนไปใช้
เข้ าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
ในระดับท้ องถิน่ ประเทศ และโลก นาความรู้ ไปใช้ ในในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมในท้ องถิ่นอย่ างยัง่ ยืน
เข้ าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์
สามารถใช้ วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ มาวิเคราะห์ เหตุการณ์ ต่างๆ อย่ าง
เป็ นระบบ
• ผูเ้ รียน – ทราบถึงสงิ่ ทีต
่ นต้องรู ้ ปฏิบ ัติได้ กระตุน
้
ให้มค
ี วามพยายามทีจ
่ ะก้าวไปให้ถงึ จุดนน
ั้
• ผูส
้ อน – เป็นกรอบและในการสร้างหล ักสูตร
ออกแบบการเรียนการสอน ประเมินผล อะไรเป็น
สงิ่ สาค ัญทีน
่ ักเรียนควรจะรู ้ ปฏิบ ัติได้
• ชุมชน ท้องถิน
่ และระด ับชาติ – เป็นความ
ึ ษาทีต
ื่ สาร
คาดหว ังทางการศก
่ งไว้
ั้ รว่ มก ัน สอ
ึ ษาทางานร่วมก ันใน
เข้าใจตรงก ัน ระบบการศก
ึ ษาให้มป
ิ ธิภาพ
การวางแผนพ ัฒนาการศก
ี ระสท
ั
มีทศ
ิ ทางทีช
่ ดเจน
ต ัวชวี้ ัด
สงิ่ ทีผ
่ เู ้ รียนพึงรูแ
้ ละปฏิบ ัติได้
ั้
คุณล ักษณะของผูเ้ รียนในแต่ละระด ับชน
้ หา
นาไปใชใ้ นการกาหนดเนือ
จ ัดทาหน่วยการเรียนรู ้
จ ัดการเรียนการสอน
เป็นเกณฑ์สาค ัญ
สาหร ับการว ัดและประเมินผล
เป็ นจุดเน้ นของหลักสูตรในทุกระดับ
ประมวลความรู ้และประสบการณ์ที่จดั ขึ้นเพื่อ
พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ ความสามารถ ทักษะ
และคุณลักษณะ ตามเป้ าหมายที่กาหนด
...เป็ นสื่ อกลางในการรายงาน
ผลการเรียนร้ ู
ทุกองค์ ประกอบของหลักสูตร
เชื่อมโยงกับ...
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
2. ไปถึงคุณภาพครบทุก
มิตค
ิ ุณภาพ
Knowledge Process
Attitude
K
เสนอจำแนก
ข้อมูล/
ด้ำนกำยภำพ
เสนอจำแนก อธิบำยควำม
สัมพันธ์ อย่ำงง่ำย ข้อมูล
ที่เปลี่ยนแปลงเคลื่อนไหว
หรือเปลี่ยนแปลงรูป
เสนอควำมสัมพันธ์หลำย
ด้ำนด้วยข้อมูลนำมธรรม
และกระบวนกำรเป็ นเหตุ
เป็ นผล
P
จำได้/ บอกได้
ตำมแบบ
จัดหมวดหมู่
จำแนกได้
หำควำมสัมพันธ์แบบ
ต่ำงๆ หำเหตุผลได้
P
ทำได้ตำมแบบ
ดัดแปลงเหมำะสมกับตน
เองแต่ตอ้ งมีผเู้ ตือนบ้ำง
ออกแบบเองได้มผี ลงำน
ดีกว่ำแบบ มีผเู้ ตือนบ้ำง
แต่นอ้ ย
แสดงทีละท่ำขำดตอน
แสดงต่อเนือ่ งรวดเร็ว ไม่
หยุดคิดต้องดูสญ
ั ญำณบ้ำง
ความรู้
กระบวนการ
ทักษะ
P
หยุดคิดนำน
ความ
คล่ อง
คิดเป็ นระบบ/เป็ น
นำมธรรมสัมพันธ์เป็ น
ภำพรวม
ร่วมกับผูอ้ ื่นออกแบบ
พัฒนำต่อเนือ่ งประเมิน
ตนเองได้
แสดงเป็ นธรรมชำติ เข้ำ
ถึงอำรมณ์ตำมบรรยำกำศ
ของเรื่องรำว ควำมหมำย
ที่ตอ้ งกำรสื่อ
รวมเข้ำเป็ นแบบของตนเอง
แสดงอย่ำงมัน่ ใจ มัน่ คงใน
เหตุผลของตนเอง
A
ยินดีตอบสนอง
ปฏิบัตติ ำม
ให้ควำมสำคัญมำก
กว่ำชิน้ งำนอื่นๆ
A
ทำเพื่อตนเอง
ประโยชน์สว่ นตน
ทำเพื่อหมูค่ ณะ กลุม่
บุคคล ผลค่อนข้ำงยำว
ทำเพื่องำน/เพื่อชุมชน
ประโยชน์ถึงชุมชน
ค่ านิยม
โยงอย่างกว้ างขวาง
แสดงเข้ำจังหวะกลม
กลืนพร้อมเพรียง
อำรมณ์ไม่กลมกลืน
ยินดีฟัง รับข้อมูล
ความรู้ สึก
ตระหนัก
นาเสนอความสัมพันธ์
เห็นภาพรวมเป็ นระบบ
ขยายสู่ธรรมชาติเชื่อม
สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร(พว.)
ทำเพื่อสังคม ประโยชน์
ถึงสรรพสิ่งผลถำวรยืนยำว
นำผลงำนมำประเมินคุณภำพ โดยใช้เกณฑ์ Rubrics
1
ด้านความรู้
K
ความคล่อง
P
ด้านค่านิยม
A
2
3
4
เสนอ จาแนก อธิบาย นาเสนอความสัมพันธ์ นาเสนอความสัมพันธ์
เสนอและจาแนก ความสัมพันธ์ อย่างง่าย
หลายด้าน
ด้วยข้อมูล ด้วยข้อมูลที่เปลี่ยนแปลง ด้วยข้อมูลนามธรรม เห็นภาพรวมเป็ นระบบ
ด้านกายภาพ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง และกระบวนการ ขยายสูธ่ รรมชาติเชื่อมโยง
กว้างขวาง
เป็ นเหต ุเป็ นผล
รูป
แสดงเป็ นธรรมชาติ
แสดงเป็นทีละท่า แสดงต่อเนื่องรวดเร็ว แสดงเข้าจังหวะ
เข้าถึงอารมณ์
กลมกลืน
ไม่หย ุดคิด
ขาดตอน
ตามบรรยากาศของ
พร้
อ
มเพรี
ย
ง
ต้
อ
งใช้
ส
ญ
ั
ญาณ
หย ุดคิดนาน
เรือ่ งราว ความหมาย
อารมณ์
ย
ง
ั
ไม่
ก
ลมกลื
น
จากภายนอก
ที่ตอ้ งการสื่อ
ทาเพื่อหมูค
่ ณะ
ทาเพื่อตนเอง ประโยชน์เพื่อกลมุ่ บ ุคคล ทาเพื่องานเพื่อช ุมชน
ประโยชน์ถึงช ุมชน
ประโยชน์สว่ นตน
ผลระยะยาว
ทาเพื่อสังคม
ประโยชน์ถึง
สรรพสิ่ง
ผลถาวรยืนยาว
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
3. ไปถึงคุณภาพครบทัง้
ดานสมรรถนะและ
้
คุณลักษณะอันพึงประสงค ์
สมรรถนะสาค ัญของผูเ้ รียน
1.
2.
3.
4.
5.
ื่ สาร
ความสามารถในการสอ
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปญ
ั หา
้ ักษะชวี ต
ความสามารถในการใชท
ิ
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
คุณล ักษณะอ ันพึงประสงค์
1. ร ักชาติ ศาสน์ กษ ัตริย ์
ั สจ
ื่ สตย์
2. ซอ
ุ ริต
3. มีวน
ิ ัย
4. ใฝ่เรียนรู ้
5. อยูอ
่ ย่างพอเพียง
6. มุง
่ มน
่ ั ในการทางาน
7. ร ักความเป็นไทย
8. มีจต
ิ สาธารณะ
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
4. ไปถึงการเพิม
่ ผลสั มฤทธิ ์
ทางการเรียน O-Net ได้
อยางมี
ประสิ ทธิภาพ
่
จากการวิเคราะห์ ; การจัดการศึกษาไม่ ได้ ผล
เพราะขาดหลักการพัฒนาที่สาคัญ 3 ประการ
ประการแรก
•
•
•
•
ไม่ ได้ กาหนดมาตรฐานและคุณภาพอย่างชัดเจน
ไม่ มีภาพรวมของผู้เรียนทุกคนยึดเป็ นธง
ขาดหลักการที่สามารถพัฒนาได้ จริง
ระดับนโยบายมีการเปลีย่ นแปลงบ่ อย
จากการวิเคราะห์ ;
ประการที่สอง
• วิธีการดาเนินการไม่ ได้ มีการตรวจสอบว่ า
นาไปสู่ ผลได้ จริงหรือไม่
• ไม่ มกี ารประเมินถึงความเป็ นเหตุเป็ นผล
ของวิธีการกับผลที่ต้องการ
• ไม่ มกี ารประเมินว่ าวิธีการใดทีไ่ ด้ ผลคุ้มค่ า
ยัง่ ยืนถาวร
จากการวิเคราะห์
ประการที่สาม
• การเสนอผลของคุณภาพไม่ เป็ นลักษณะ
การแสดงออกจริง
• ใช้ แต่ ผลการสอบในการวัดประเมินผล
และเป็ นเกณฑ์ ตัดสิ น
• ดูคุณภาพโดยไม่ คานึงถึงผลทีไ่ ด้ ปฏิบัตจิ ริง
• ดูคุณภาพโดยไม่ คานึงถึงคุณธรรม ค่ านิยม
และความชื่นชมและจิตสาธารณะ
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
5. ไปถึงมาตรฐานตาม
เกณฑประเมิ
น
คุ
ณ
ภาพ
์
ภายนอก สมศ.
มาตรฐานการประเมิน
ครอบคลุม 4 ด้าน
ึ ษา
1. ผลการจ ัดการศก
ึ ษา
2. การบริหารจ ัดการศก
3. การจ ัดการเรียนการสอน
ทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาค ัญ
4. การประก ันคุณภาพภายใน
ี้ ารประเมิน
ต ัวบ่งชก
3 กลุม
่ 12 ต ัวบ่งช ี้
ี้ น
้ื ฐาน 8 ต ัวบ่งช ี้
1. กลุม
่ ต ัวบ่งชพ
ี้ ัตล ักษณ์ 2 ต ัวบ่งช ี้
2.กลุม
่ ต ัวบ่งชอ
ี้ าตรการสง
่ เสริม
3. กลุม
่ ต ัวบ่งชม
2 ต ัวบ่งช ี้
ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน : กลุ่มตัวบ่งชี้พ้ ืนฐาน
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม
๑. ผูเ้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
๒. ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรมจริยธรรมและค่านิ ยมที่พึงประสงค์
๓. ผูเ้ รียนมีความใฝ่ รูแ้ ละเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่ อง
๔. ผูเ้ รียนคิดเป็ น ทาเป็ น และมีจิตสาธารณะ
๕. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน
๖. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียน
เป็ นสาคัญ
๗.ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
๘. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน
รวม
น้าหนัก
(คะแนน)
๑๐
๑๐
๑๐
๑๐
๒๐
๑๐
๕
๕
๘๐
ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน : กลุ่มตัวบ่งชี้อตั ลักษณ์
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม
น้าหนัก
(คะแนน)
๑. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ของการจัดตัง้ สถานศึกษา
๕
๒. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็ นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
๕
รวม
๑๐
ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน : กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม
๑. ผลการดาเนิ นการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา
๒. ผลการส่งเสริมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน
ยกระดับมาตรฐานและรักษามาตรฐาน เพื่อให้สอดคล้อง
กับแนวทางการปฏิรปู การศึกษา
รวม
น้าหนัก
(คะแนน)
๕
๕
๑๐
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
6. ไปถึงคุณภาพทีม
่ ี
มาตรฐานระดับ
อาเซียน
คุณลักษณะของเด็กไทย
ในประชำคมอำเซียน
.
www.themegallery.com
คุณลักษณะเยาวชนไทยสู่ อาเซียน
ความรู้
ทักษะ/กระบวนการ
ประเทศอาเซียน
ทักษะพืน้ ฐาน
กฎบัตรอาเซียน
ทักษะพลเมือง/
ความรับผิดชอบต่ อสังคม
การเมืองและความมั่นคง
เศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม
ทักษะการเรียนรู้
และการพัฒนาตน
เจตคติ
ดาเนินชีวติ ตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
ยึดมั่นคาสอนศาสนา
ตระหนักในความเป็ นอาเซียน
วิถชี ีวติ ประชาธิปไตย สันติวธิ ี
รับผิดชอบต่ อประคมอาเซียน
ภูมิใจในความเป็ นไทยและอาเซียน
ึ ษา
การพ ัฒนาหล ักสูตรสถานศก
ี น” และการจ ัด
ทีเ่ น้น “อาเซย
ี น”
การเรียนรูเ้ กีย
่ วก ับ “อาเซย
ASEAN
Communit
y
หล ักสูตร
ึ ษา
สถานศก
ข้ อมูลพืน้ ฐาน/
บริบทของโรงเรียน
หลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551
อาเซียน
จุดเน้ นของ Sister
School ภาษาอังกฤษ
ภาษาเพือ่ นบ้ าน ICT
พหุวฒ
ั นธรรม
หลักสู ตรสถานศึกษาทีเ่ น้ นอาเซียน:
Sister School/Buffer School
หลักสู ตร
สถานศึกษา
Sister School/
Buffer School
จุดเน้ นของ Buffer
School
ภาษาเพือ่ นบ้ าน
พหุวฒ
ั นธรรม
รายวิชา
พืน้ ฐาน
Web
บูรณาการโดยใช้ Community
สั งคมเป็ นแกน
รายวิชา
เพิม่ เติม
กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมเสริม
ี น
อาเซย
ึ ษา
การจ ัดทาหล ักสูตรสถานศก
ี น
ทีเ่ น้นอาเซย
ี น
องค์ความรูเ้ กีย
่ วก ับอาเซย
ี น
- ความรู ้พืน
้ ฐานเกีย
่ วกับอาเซย
ิ
- ข ้อมูลพืน
้ ฐานเกีย
่ วกับประเทศสมาชก
ี น
อาเซย
- วิถช
ี วี ต
ิ /พหุวฒ
ั นธรรม
ี น กฎบัตรอาเซย
ี น
- ประชาคมอาเซย
ี น
ปฏิญญาอาเซย
ี น เชน
่
- ประเด็นสาคัญทีเ่ กีย
่ วกับอาเซย
ิ ธิมนุษยชน ประชาธิปไตย
พลเมือง สท
ั ติศก
ึ ษา
ประวัตศ
ิ าสตร์เชงิ บวก สน
สงิ่ แวดล ้อม การเปลีย
่ นแปลงสภาพ
ภูมอ
ิ ากาศ สุขภาพ การค ้าเสรี ฯลฯ
่
ื
- สอการเรียนรู ้และแหล่งการเรียนรู ้
ท ักษะ/กระบวนการ
้
- การใชภาษาอั
งกฤษ ภาษาเพือ
่ นบ ้าน
้
- การใช ICT
- การคานวณ การให ้เหตุผล
- กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสร ้างสรรค์
ื สอบ
กระบวนการกลุม
่ การแก ้ปั ญหา การสบ
ื่ สาร การสร ้างความตระหนัก
การสอ
คุณล ักษณะอ ันพึงประสงค์
- มีทักษะชวี ต
ิ
- กล ้าแสดงออก
- เอือ
้ อาทรและแบ่งปั น
- เข ้าใจตนเองและผู ้อืน
่
- ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
- common values
ฯลฯ
ึ ษาขนพื
้ ฐาน
หล ักสูตรแกนกลางการศก
ั้ น
ั
พุทธศกราช
2551
ึ ษา
หล ักสูตรสถานศก
ั ทัศน์โรงเรียน สมรรถนะ
- สว่ นนา (ความนา วิสย
สาคัญของผู ้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์)
ึ ษา
- โครงสร ้างหลักสูตรสถานศก
ั ้ ปี )
(โครงสร ้างเวลาเรียน โครงสร ้างหลักสูตรชน
- คาอธิบายรายวิชา
- กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน
ึ ษา
- เกณฑ์การจบการศก
้ ฐาน
รายวิชาพืน
ทีบ
่ ร
ู ณาการ
ี น
อาเซย
รายวิชา
เพิม
่ เติม
ี น
ทีเ่ น้นอาเซย
กิจกรรม
พ ัฒนาผูเ้ รียน
ี น
ทีเ่ น้นอาเซย
65
พัฒนาหลักสูตรอยางไรจึ
งส่งผลไป
่
ถึงการยกระดับคุณภาพผูเรี
้ ยนอยาง
่
แท้จริง
7. ไปถึงคุณภาพระดับ
สากล
World
Citizen
ตกผลึกกลำยเป็ นบุคลิก
•มีควำมสำมำรถคิดได้อย่ำงเป็ น
ระบบมีทกั ษะกลมกลืนเป็ น
ตัวตน
•แสดงออกเป็ นควำมรูเ้ ชิง
ระบบครบทัง้ ควำมรู้ ค่ำนิยม
คุณธรรมและผลสำเร็จของงำน
•มีองค์ควำมรูด้ ำ้ นวิทย์ คณิตและ
ด้ำนเศรษฐศำสตร์เป็ นพื้นฐำนใน
กำรเรียนรูอ้ ย่ำงต่อเนือ่ ง
•มีกรอบควำมคิดในกำรนำเสนอ
งำนอย่ำงมีควำมหมำย
•อธิบำยควำมหมำยได้ กำรสื่อสำร
ใช้ภำษำอังกฤษได้อย่ำงดี
•ใช้ICT ในกำรค้นคว้ำ พัฒนำ
นวัตกรรม และนำเสนอได้อย่ำงดี
•ขยำยควำมรูไ้ ด้อย่ำงกว้ำงขวำง
สูส่ ำกล ระดับโลก
เจตคติคณ
ุ ธรรม
จริยธรรมค่ำนิยม
สติปัญญำ
•เก็บข้อมูลเป็ น
•สำมำรถจำแนกจัดกลุม่
•วิเครำะห์เชื่อมโยงสัมพันธ์
•สังเครำะห์ ออกแบบ
•สร้ำงทำงเลือกหลำกหลำย
•คิดสร้ำงสรรค์
•แสดงควำมสำมำรถเป็ นธรรมชำติ
•เกิดควำมรูร้ ะดับกำรคิดขัน้ สูง
ทักษะปฏิบตั ิ
•มีแบบแผน/มี Mind Map
•ตรวจสอบ ประเมิน ปรับปรุงทุกขัน้ ตอน
•ทำงำนเป็ นทีม
•มีทกั ษะในกำรทำงำน
•ทำงำนเพื่อพัฒนำงำน
•สร้ำงหลักกำรและทฤษฏีเป็ น
•ผลของงำนส่งประโยชน์ถึงสังคม/โลก
•เกิดควำมรูร้ ะดับทักษะขยำยผลสูส่ ำธำรณะ โลก
•ประเมินดี-ไม่ดี
•ประเมินถึงประโยชน์-โทษ
•เพื่อผูอ้ ื่นก่อนตนเอง
•เน้นควำมสำมัคคี
•เข้ำใจคำสัง่ -ควำมหมำย
•ปฏิบตั อิ ย่ำงยินดี
•ร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหำ
•ตัดสินใจอย่ำงชำญฉลำด
•เลือกแนวทำงที่สำเร็จ คงทน
•เพื่อสังคม สิ่งแวดล้อม โลก
•เพื่อชำติ ศำสน์ กษัตริย์
•เพื่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
ธุรกิจ และกำรประกอบกำร
•เพื่อควำมเป็ นพลเมืองดี
•เพื่อสุขภำพที่ดี
•เกิดควำมรูร้ ะดับคุณธรรม
จริยธรรมและค่ำนิยมขัน้ สูง
สติปัญญำ
World
Citizen
เจตคติ:คุณธรรม
จริยธรรมค่ำนิยม
World
Citizen
1
เจตคติ:คุณธรรม
จริยธรรมค่ำนิยม
World
Citizen
2
ทักษะปฏิบตั ิ
World
Citizen
บุคลิก
World
Citizen
1
บุคลิก
World
Citizen
2
การพัฒนาคุณภาพการ
บริหารจัดการ
การบริหารจัดการเพื่อความเป็ นเลิศ:
รู้ รัก สามัคคี
รู้ : ทุกคนในองค์การต้องรู้
1. เรื่องการเปลี่ยนแปลง
2. เรื่ององค์การ
3. เรื่องการบริหารจัดการ
4. เรื่องวัฒนธรรมองค์การ
5. เรือ่ งคน
รัก : ทุกคนจะต้อง
1.
2.
3.
4.
รักองค์การ
รักงาน
รักคน
รักการพัฒนาตนเอง ด้านวิชาความรู้
ความสามารถ ทักษะ ด้านสุขภาพ
พลานามัย
5. รักความยุติธรรม และความมีคณ
ุ ธรรม
สามัคคี : ความรัก ความสามัคคีของหมู่คณะนามา
ซึ่งความสุขความเจริญก้าวหน้ าของ
หมู่คณะและองค์การ
ความเปลี่ยนแปลง และความท้าทายใหม่ ๆ
สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี
และสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติของโลกเปลีย่ นแปลง
อย่างรวดเร็วเป็ นพลวัต โดยเฉพาะการปรับเปลีย่ น
ระบบเศรษฐกิจ
KBE: Knowledge-Based Economy
ระบบเศรษฐกิจที่ใช้ ความรู้ ความสามารถเป็ นทุนเพือ่
การพัฒนาประเทศ มากกว่ าการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงาน
ประกอบด้ วยปัจจัยสาคัญ 4 ประการ
1.
2.
3.
4.
นวัตกรรมและการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
สภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ
New Economy
1. แข่ งขันกับโลกได้
2. องค์ การมีรูปแบบเป็ น Network ไม่ ใช่ ระบบปิ รามิด
3. อุตสาหกรรมเน้ นระบบ Digitalization knowledge, Innovation,
Quality value, Time to market
4. เน้ นพันธมิตร (Alliance)
5. ไม่ เน้ น Full employment คนจะถูก Lay off ทุกปี เลือดใหม่ จะต้ อง
เข้ ามาแทน
6. คนเน้ น Learning people ต้ องเรียนรู้ตลอดเวลา สามารถทางาน
ใหม่ ๆ ได้ ตลอดเวลา เป็ นผู้ทมี่ ีความรู้ความสามารถอยู่ตลอดเวลา
What is Changed?
1. Changes in Organizational Structure
• modifying rules, responsibilities, and procedures
• organization’s span of control
2. Changes in Technology
3. Changes in People
การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ : แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่ งชาติ ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาประเทศไทย
ศักยภาพ และความสามารถในการแข่ งขันของประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผน 1-7
คน คือ ปัจจัยการผลิต
ครอบครัว ชุ มชน
และสั งคม
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้ อม
แก้ ปัญหา
ปัญหายิง่ มากขึน้
ส่ งผลกระทบต่ อคน
การพัฒนาเศรษฐกิจ
คนเป็ นเพียงปัจจัยการผลิต
อย่ างหนึ่ง
แก้ ปัญหา
ปัญหายิง่ มากขึน้
ส่ งผลกระทบต่ อคน
แผน 8
คน คือ ศูนย์กลางการพัฒนา
เศรษฐกิจ
คน
การเมือง
กาย
อารมณ์
สติปัญญา จริยธรรม
ศาสนา
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้ อม
ครอบครัว ชุ มชน
และสั งคม
แผน 9
สังคมไทยที่พึงประสงค์
วิสยั ทัศน์ การพัฒนาประเทศ
 ปรัชญานาทาง “เศรษฐกิจพอเพียง”
 สังคมไทยที่ พึงประสงค์
• สังคมคุณภาพ (สร้างคนดี คนเก่ง)
• สังคมแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา (สร้างองค์ความรู้)
• สังคมสมานฉันท์และเอื้ออาทร (สร้างชุมชนเข้มแข็ง)
แผน 10 ( พ.ศ. 2550-2554)
วิสยั ทัศน์
มุ่งพัฒนา”สู่สงั คมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน (Green and
Happiness Society) คนไทยมีคณ
ุ ธรรมนาความรอบรู้ รู้เท่า
ทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสขุ
เศรษฐกิจมีคณ
ุ ภาพ เสถียรภาพและเป็ นธรรม สิ่งแวดล้อมมี
คุณภาพและทรัพยากรธรรมชาติยงยื
ั ่ น อยู่ภายใต้ระบบ
บริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดารงไว้ซึ่งระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข และอยู่
ในประชาคมโลกได้อย่างมีศกั ด์ ิ ศรี”
พันธกิจ
1.
2.
3.
4.
แผน 10 มุ่งสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็ นสุขร่วมกัน” ภายใต้
“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มีพนั ธกิจของการพัฒนา
ประเทศ คือ
พัฒนาคนให้มีคณ
ุ ภาพ คุณธรรมนาความรอบรู้อย่างเท่า
ทัน มีครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้
เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคณ
ุ ภาพ เสถียรภาพ และเป็ น
ธรรม
ดารงความหลากหลายทางชีวภาพและสร้างความมันคง
่
ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาล
ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รง
เป็ นประมุข
1.
2.
3.
4.
5.
ยุ
ท
ธศาสตร์
ก
ารพั
ฒ
นาประเทศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่
สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและ
สังคมไทยให้เป็ นรากฐานที่มนคงของประเทศ
ั่
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างให้สมดุลและยังยื
่ น
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทาง
ชีวภาพและการสร้างความมันคงของฐานทรั
่
พยากร
และสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร
จัดการประเทศ
“คุณธรรมนาความรู้” เป้ าหมายการจัดการศึกษา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา : วาระแห่งชาติ
(พ.ศ. 2551-2555) มี 6 ยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เพื่อให้นักเรียน
แสวงหาความรู้
จัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา
สร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษา
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคม
องค์การ
แนวคิดเกี่ยวกับองค์การสมัยใหม่
ในการบริหารหรือจัดการองค์การใดองค์การ
หนึ่ ง ให้สามารถปฏิบตั ิ หน้ าที่ (Functions) หรือ
ดาเนินต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และ
เกิดประสิทธิผล (Effectiveness) ตามวัตถุประสงค์
เป้ าหมายขององค์การได้ จะต้องมีแนวคิดดังต่อไปนี้
(1) บุคลากรต้องปรับตัวให้เข้าได้กบั สิ่งแวดล้อมของ
องค์การ
(2) องค์การต้องปรับตัวให้เข้าได้กบั สิ่งแวดล้อม ถ้า
ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมไม่ได้ องค์การก็จะต้อง
เสื่อมสลายไป นัน่ คือ องค์การจะต้องมี
Adaptation Capability
(3) องค์การสมัยใหม่ ที่จะถือว่าเป็ นองค์การที่ดี จะต้อง
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ๆ ที่เปลีย่ นแปลง
อย่างพลวัต (Dynamic) ได้ นอกเหนื อจากการเน้ นใน
เรื่องประสิทธิภาพ (efficiency) คือลงทุนน้ อยที่สดุ แต่
ได้ผลผลิตสูงสุด แล้วจะต้องมีคณ
ุ ลักษณะดังต่อไปนี้
ด้วยคือ
(3.1) ความสามัคคีกลมเกลียวกันของสมาชิกภายในองค์การ
(Esprit de Corps) และการประสานความต้องการของ
สมาชิกในองค์การให้เข้ากับวัตถุประสงค์ หรือเป้ าหมาย
ขององค์การ (Integration)
(3.2) ความสามารถขององค์การในการปรับตัวให้เข้า
กับสภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้
(Adaptability)
(3.3) ความสามารถขององค์การในการให้บริการลูกค้า
และสนองต่อประโยชน์ สงั คมโดยส่วนรวม (Social
Relevance)
องค์การที่มีประสิทธิภาพสาหรับปัจจุบนั และอนาคต
1. แนวคิดของ Talcott Parsons (1956)
บอกว่าองค์การที่มีประสิทธิภาพจะต้องมี
ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม สมาชิก
ขององค์การมีความเข้าใจในเป้ าหมายขององค์การ และ
เป้ าหมายส่วนบุคคลของสมาชิกกับเป้ าหมายขององค์การ
ต้องเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน
2. แนวคิดของ Friendlander and Pickle (1968)
เห็นว่าองค์การที่มีประสิทธิภาพ คือ องค์การที่ก่อให้เกิด
ความพึงพอใจแก่เจ้าของ (โดยมีกาไร) สร้างความพึงพอใจให้แก่
ลูกค้า (โดยความรวดเร็วในการให้บริการ ปริมาณและคุณภาพของ
สินค้าและบริการ) สร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู จ้างและเจ้าหนี้ (โดย
การปฏิบตั ิ ต่อกันอย่างเป็ นธรรม) และความสามารถสร้างความพึง
พอใจให้แก่ชมุ ชน
3. แนวคิดของ Mahoney and Weitzel (1969)
กล่าวว่า องค์การที่มีประสิทธิภาพ คือ องค์การที่ใช้
ประโยชน์ ทรัพยากรบุคคลและพัฒนาบุคคลอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีการวางแผนที่ดี เน้ นการทางานให้ประสบ
ความสาเร็จ ซึ่งบุคลากรมีความคิดริเริ่มปรับปรุงการ
ปฏิบตั ิ งาน และความร่วมมือระหว่างหน่ วยงานต่างๆ ของ
องค์การ
การพัฒนาคุณภาพ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่ วนประกอบทีส่ าคัญขององค์การ
Technology
Management
Information
Process
Structure
Communication Values
People
คน
1. คนเป็ นกุญแจไขไปสู่ ความสาเร็จ
2. คนเป็ นปัญหาและอุปสรรค มีความต้ องการไม่ สิ้นสุ ด
3. การบริหารคนนั้นยากกว่ าการบริหารวัตถุ หรือบริหารเงิน
เพราะคนมักกลับกลอก โกหก หลอกลวงได้ ทุกคนมีกเิ ลส
เป็ นไปตามอานาจของกิเลส ไปเอาคนมีกเิ ลสมาทางาน
ก็ต้องต่ อสู้ กบั กิเลสของเขา …
4. คนประเภท ต้ นร้ าย ปลายดี ต้ นดี ปลายคด
ปัจจัยที่ทาให้ องค์ การประสบความสาเร็จใน
การแข่ งขัน
(1) ปัจจัยด้ านบุคลากร (Human Resource)
(2) ปัจจัยด้ านความสามารถในการบริหารจัดการ
(Management Capability)
(3) ปัจจัยด้ านเทคโนโลยี (Technology)
(4) ปัจจัยด้ านข้ อมูลข่ าวสาร (Information)
(5) ปัจจัยด้ านวัฒนธรรมองค์ การ (Organizational Culture)
ปัจจัยด้ านบุคลากร : คุณภาพของคน
1. คนทีจ่ ะประสบความสาเร็จในชีวติ (จากการวิจัยของ
Charles A. Garfield) ประกอบด้ วย
ลักษณะต่ อไปนี้
(1) เป็ นผู้ทมี่ สี ายตายาวไกล (วิสัยทัศน์ )
(2) รู้ จักการตัดสิ นใจล่ วงหน้ า (มองเห็นปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้
ในอนาคตได้ )
(3) ก้าวไปข้ างหน้ าตลอดเวลา (ไม่ ย่นย่อท้ อถอย)
(4) เป็ นนักเสี่ ยงภัยทีช่ ัดเจน
(5) มีความเชื่อมัน่ ในตนเองสู ง
(6) สานึกในความรับผิดชอบและตระหนักในการควบคุม
สถานการณ์ ได้ อย่างเฉียบขาด
(7) ไตร่ ตรองเหตุการณ์ สาคัญและมักซักซ้ อมให้ เกิดความ
พร้ อมเสมอ
(8) มีศิลปะและแรงบันดาลใจอันสู งส่ ง
(9) มองปัญหาออก แก้ปัญหาเป็ น ด้ วยสติและปัญญา
(10) ไม่ เป็ นเจ้ าของก็เหมือนเจ้ าของ
2. คนในองค์ การในศตวรรษที่ 21
คนในองค์ การในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็ นศตวรรษที่จะมี
การเปลีย่ นแปลงอย่ างรุ นแรงและรวดเร็ว จะต้ องเป็ นคนที่มี
คุณลักษณะ อุปนิสัย และพฤติกรรมทีเ่ อือ้ ต่ อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
(Sustainable Development) อันจะทาให้ เกิดการเจริญเติบโต
ทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Growth) ติดตามมาดังต่ อไปนี้
2.1 ด้ านตนเอง
(1) มีสุขภาพร่ างกายและจิตใจทีส่ มบูรณ์
(2) มีความร้ ูในวิชาการและวิชาชีพอย่ างแท้ จริ ง
(3) มีความคิดสร้ างสรรค์ มองการณ์ ไกล
(4)กล้ าคิด กล้ าทา กล้ าตัดสินใจ
(5)มีมนุษยสัมพันธ์ ดี
2.2 ด้ านคุณธรรมและจริยธรรม
(1) อตุ สาหะวิริยะ ขยันขันแข็ง และอดทน
(2) มีเหตุผล และรับผิดชอบ
(3) มีวินัย ซื่อสัตย์ และสุจริ ต
(4) ประหยัด ลดเลิกอบายมุข และสิ่งเสพติด
(5) เสียสละ ลดการเห็นแก่ตัว
(6) มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
2.3 ด้ านสั งคม
(1) มีจิตใจสานึกและคานึงถึงผลประโยชน์ ของส่ วนรวม
รับใช้ สังคมและประเทศชาติ
(2) วางตัวในสังคมได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
(3) พัฒนาตนเองสอดคล้ องกับความเปลีย่ นแปลงของสังคม
(4) เข้ าใจบทบาทหน้ าที่ของตนเอง ดารงชีพในสังคมได้
อย่ างเหมาะสมและมีความสุข
(5) เป็ นผ้ นู าสังคม และชี้นาสังคมได้
2.4 ด้ านการจัดการ
(1) ร้ ูหลักการบริ หาร
(2) ร้ ูจักเป็ นผ้ นู าและผ้ ตู ามทีด่ ี
(3) ทางานเป็ นทีมกับผ้ อู ื่นได้
(4) รับฟังความคิดเห็นรอบด้ าน ติดตามข่ าวสารต่ างๆ
อย่างกว้ างขวาง แลกเปลีย่ นข้ อมลู ข่ าวสารกับผ้ อู ื่น
2.5 ด้ านความเป็ นสากล
(1) ร้ ูจักคณ
ุ ค่ าของทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม
(2) ร้ ูรอบ ร้ ูทนั ต่ อกระแสโลก กระแสโลกาภิวัตน์
และมีความเป็ นสากล
(3) ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้ เป็ นอย่างดี
(4) ร้ ูภาษาต่ างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ
ปัจจัยด้ านความสามารถในการบริหารจัดการ
1. Kreitner (1981)
2. Peter and Waterman (1982) เห็นว่ าการบริหาร
หรือการจัดการขององค์ กรใด จะประสบความสาเร็จ
หรือไม่ ขึน้ อยู่กบั ตัวแปรทีส่ าคัญ 7 ประการ คือ
Structure, Strategy, People, Management
Style,
Systems & Procedures, Guiding Concepts,
Shared Values
McKinsey 7-S Framework
STRUCTURE
STRATEGY
SYSTEMS
SHARED VALUES
SKILLS
STYLE
STAFF
วัฒนธรรมองค์ การ
1. การทางานเป็ นทีม (Teamwork)
2. การทางานโดยมีส่วนร่ วม (Participative Management)
3. การบริหารจัดการทีด่ ี (Good Governance)
4. ยึดมัน่ ในค่ านิยมต่ อไปนี้
(1) ซื่อกินไม่ หมด คดกินไม่ นาน (ซื่อสั ตย์ สุจริต)
(2) ประโยชน์ สูง ประหยัดสุ ด (ประสิ ทธิภาพ)
(3) ลูกค้ าคือพระเจ้ า (ความพึงพอใจของลูกค้ า)
(4) รวมกันเราอยู่ แยกกันเราตาย (ความสามัคคี)
(5) We wish to provide quality service for you.
We are courteous and fair.
We do our best to help.
We have pride in our work.
We want to keep improving.
Feedbacks show us when we want to do better.
Suggestions enable us to improve our services.
Please help us to work with a smile.
We need your trust, support and cooperation
to often excellent service.
การพัฒนาบุคลากร
จะปลูกพืชต้ องเตรียมดิน
จะกินต้ องเตรียมอาหาร
จะพัฒนาการต้ องเตรียมประชาชน
จะพัฒนาคนต้ องพัฒนาจิตใจ
จะพัฒนาใครเขาต้ องพัฒนาที่ตวั เราก่ อน
Human Resource Approach
Employee
leads to
Higher
Employee Motivation
and Applied Ability
Greater
Quality, Quantity
of Work
leads to
Greater
Employee Rewards,
Recognition
Organization
leads to
Higher
Organization
Productivity, Profits
leads to
The Premises of HR
1. Human Resources are key to organizational success
or failure.
2. For HRM to be successful, general management
must be involved.
3. For general managers to understand and be sensitive
to HR issues,
4. To understand HRM, you must reach back to
the basic economic, social, psychological and
legal forces that impinge on employment.
วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เพือ่ ทีจ่ ะก่ อให้ เกิดความเปลีย่ นแปลงในตัวทรัพยากรมนุษย์ ของ
องค์ การอันจานาไปสู่ การปรับปรุ งผลการปฏิบัติงาน และทาให้ องค์ การ
มีความสามารถเพิม่ พูนขึน้ นั่นคือ
1. เพือ่ พัฒนาความสานึกตระหนักในตนเอง (Individual’s level
of self-awareness) ของบุคลากรแต่ ละคน
2. เพือ่ เพิม่ พูนทักษะ และความเชี่ยวชาญของบุคลากร (Individual’s
skill) แต่ ละคน
3. เพิม่ พูนแรงจูงใจของบุคลากรในการปฏิบตั ิงานให้ ดขี นึ้ (Individual’s
motivation)
4. เพือ่ การพัฒนางาน (Task) และองค์ การ (Organization)
ให้ เจริญก้าวหน้ า มีผลกาไร และมีความสามารถในการแข่ งขัน
แนวคิด HRD
สิ่งแวดล้ อม
ประสิ ทธิภาพ
ของบุคลากร
ปัญหา
HRD
ความต้ องการ
ประสิ ทธิภาพ
ของงาน
ข้ อมูลย้ อนกลับ
ประสิ ทธิภาพ
ขององค์ กร
กระบวนการพัฒนาบุคลากรในองค์ การ
การพัฒนาบุคลากรในองค์ การอย่ างมีประสิ ทธิภาพ จะต้ องกระทา
อย่ างเป็ นระบบ และอย่ างมีข้นั ตอนซึ่งสรุ ปได้ ดงั นี้
การสารวจและกาหนดความต้ องการ
ในการพัฒนาบุคลากร
การวางแผนพัฒนาบุคลากร
การคัดเลือก ออกแบบ และดาเนิน
กิจกรรมการพัฒนาบุคลากร
การประเมินผลการพัฒนาบุคลากร
การฝึ กอบรมและกระบวนการ HRD
(The Training and HRD Process)
ระบบการพัฒนาบุคลากรในองค์ การ
ระบบการพัฒนาบุคลากรในองค์ การสามารถสรุ ปได้ โดยอาศัย
ทฤษฎีตัวแบบระบบดังนี้
สภาพแวดล้ อมในองค์ การ
ปัจจัยนาเข้ า
(Inputs)
ความรู้
ทักษะ
ความสามารถ
บุคลิกภาพ
แรงจูงใจ
ทัศนคติ
กระบวนการแปรรูป
(Process)
ผลลัพธ์
(Outputs)
การศึกษา
การฝึ กอบรม
การพัฒนา
พัฒนาการ
ของบุคลากร
ในด้ านต่ างๆ
ข้ อมูลย้ อนกลับ
(Feedback)
HRD Activities
Cycle of Training and Develo
ข้ อมูลย้ อนกลับ
1. การวิเคราะห์ ความจาเป็ น
2. การออกแบบและพัฒนาหลักสู ตร
หลักสู ตร เทคนิค อุปกรณ์ สถานที่ จนท.
จัด
ฝึ กความ
3.การบริหารหลักสู ตร
4.การติดตามและประเมินผล
กลยุทธ์ การพัฒนาบุคลากรทีด่ ี
1. สร้ างบรรยากาศทีจ่ ะกระตุ้นเร้ าให้ บุคลากรพัฒนาและ
แสวงหาความสาเร็จ
2. วิเคราะห์ จุดอ่ อนของบุคลากรจากรายงานผลการปฏิบัติงาน
ประจาปี
3. กาหนดเป้ าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ ให้ บุคลากรปฏิบัติ
4. ทดสอบการตอบสนองของบุคลากรด้ วยวิธีต่างๆ เพือ่ ให้ เกิดทักษะ
การบริหารการจัดการ
กลยุทธ์ การรักษาบุคลากรทีม่ คี ุณภาพ
1. การสร้ างความรู้ สึกภาคภูมใิ จและผูกพันใน
- องค์ กร (สถาบัน)
- ภาระหน้ าที่ของตน
- เพือ่ นร่ วมงาน
2. การสร้ างความเข้ าใจอันดีในเรื่องเป้ าหมายหลักขององค์ การ
- ถ้ าองค์ กรอยู่รอด
พนักงานปลอดภัย
- ถ้ าองค์ กรมั่งคั่ง ค่ าแรงมั่นคง
- ถ้ าองค์ กรขยาย พวกเราทั้งหลายก้ าวหน้ า
กลยุทธ์ การรักษาบุคลากรทีม่ คี ุณภาพ
3. การจัดสวัสดิการและผลประโยชน์ ตอบแทนอืน่ ๆ ตามกลุ่มอายุ
20 – 30 ปี
ให้ สิ่งจูงใจเป็ นเงิน
30 – 45 ปี
ให้ สิ่งจูงใจทีเ่ กีย่ วกับความมัน่ คงและ
ความก้าวหน้ าในอาชีพ
45 – 60 ปี
ให้ สิ่งจูงใจเกีย่ วกับสุ ขภาพและนันทนาการ
สิ่ งจูงใจทัว่ ไป แบ่ งเป็ น 2 อย่ าง คือ
• เชิงวัตถุ
- การเลือ่ นขั้น เพิม่ เงินเดือน และให้ โบนัส
รวมถึงสวัสดิการ (fringe benefits) อืน่ ๆ
• เชิงอวัตถุ
- ความสั มพันธ์ ที่ดี การแสดงความชื่นชมยินดี
บรรยากาศการทางานทีอ่ บอุ่นและเอือ้ อาทรกัน
การพัฒนางาน/บริการ
1. เน้ นยุทธศาสตร์ :
 Customer-driven
• ทาความฝันของลูกค้ าให้ เป็ นจริง
• ความสะดวกสบายในการรับบริการ (ไปหาลูกค้ า)
• ปัญหาของลูกค้ า คือ ปัญหาของเรา
• การรักษาลูกค้ าไว้ ตลอดไป

Operation-based
• เชี่ยวชาญงานบริการ
• ผู้บริหารทุกระดับเก่ งปฏิบัติ
• กฎ ระเบียบที่ไม่ practical จะไม่ มีอยู่
• เน้ นคุณภาพของการบริการ โดยวัดผลที่
ความพึงพอใจของลูกค้ า (Customer satisfact

Result-oriented
• แนวคิดใดๆ ก็ไร้ ค่า ถ้ าปฏิบัติไม่ เป็ นผล
• กฎ กติกา ระเบียบจะไร้ ค่า ถ้ าก่ อผลให้ ลูกค้ าไม่ พอใจ
• เน้ นผลการปฏิบัตงิ านมากกว่ าความถูกต้ องในวิธีการ
2. เน้ นระบบการปฏิบัติงาน :
 แบบ Customer-friendly
• ไม่ มีกฎเกณฑ์ หรือข้ อกาหนดที่ขดั ขวางต่ อ
ความสะดวกสบายในการให้ บริการแก่ ลูกค้ า
• ระบบงานทีเ่ ป็ นมิตรแก่ ลูกค้ า

แบบ Easy-access
• เรียบง่ าย ไม่ ซับซ้ อน
• ลูกค้ าเข้ าถึงได้ โดยไม่ ย่ งุ ยาก
• มี Customer Guidance ทีด่ ี

แบบ Best in Co-operation
• มีการสื่ อความทีท่ รงประสิ ทธิภาพ
• มีความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยบริการสู ง
(แย่ งกันให้ บริการ) ไม่ ใช่ เกีย่ งกัน
• กุลกี จุ อช่ วยเหลือดีเยีย่ ม
3. เน้ นบุคลากรผู้ให้ บริการแบบ :
• มีจติ สานึกในการให้ บริ การ (Service-consciou
• มีความคิดที่จะให้ บริ การ (Service-Minded)
การพัฒนาคุณภาพ
สภาพแวดล้อม ด้าน ICT
การศึกษากับการพัฒนาประเทศ
การศึกษา
คน
เศรษฐกิจ
สังคม
การเมือง
ประเทศ
พัฒนา
EDUCATION IS
GROWTH
INTELLIGENT GROWTH
1.
2. PHYSICAL GROWTH
3. EMOTION GROWTH
4. SOCIAL GROWTH
จัดการศึกษาเพื่อคนทั้งมวล
Education for All
คนทั้งมวลเพือ่ การศึกษา
All for Education
องค์ประกอบ 7 ประการ ในการ
เปลี่ ยนแปลงทางการศึกษา
• Structure (โครงสร้ าง)
• System (ระบบ)
• Style (การบริหารจัดการ)
• Staffs (คณะผู้ร่วมงาน)
• Skills (ทักษะการเรียนการสอน)
• Strategy (ยุทธศาสตร์)
• Shared Value (มีค่านิยมร่วม)
4 Ds แนวโน้มการศึกษาไทย
1. Demystification :
แจ่มชัด โปร่งใส เปิ ดเผย
2. Decentralization :
กระจายอานาจ
3. Democratic participation :
ประชาชนมีส่วนร่วม
4. Distribution of resources :
กระจายทรัพยากร
แนวคิดใหม่ทางการศึกษา
• HOME SCHOOL
• CHILD CENTER
• BRAIN BASED LEARNING (BBL)
• E-LEARNING
• STANDARD-BASED CURRICULUM
• การเรียนการสอนโดยการวิจยั
• การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วม (PAR)
แนวคิดใหม่ทางการศึกษา(ต่อ)
• กำรเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วม
• กำรสอนแบบโครงงำน
• แหล่งเรียนรู้
• โรงเรียนแห่งกำรเรียนรู้
• กำรพัฒนำทัง้ โรงเรียน
(WHOLE SCHOOL APPROACH)
หมวด 1
ความมุ่งหมาย
หมวด 2
สิ ทธิและหน้ าที่
หมวด 3
ระบบการศึกษา
โรงเรียนมีคณ
ุ ภาพ
หมวด 4 แนว
การจัดการศึกษา
การเรียนการสอนมีคุณภาพ
นัผูกเ้ รีเรียยนมีนมีคคณุ ุณภาพ
ภาพ
ผูเ้ รียนมีคุณภาพ
หมวด 5
การบริหาร
หมวด 6
มาตรฐาน
หมวด77
หมวด
ครู
ครู
หมวด 8
ทรัพยากร
หมวด 9
เทคโนโลยี
ภารกิจ/เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ปรับความคิด/ความเชื่อทางการศึกษา (หมวด 1)
ปรับวิธีการจัดการศึกษา (หมวด 2, 3, 4)
ปรับเปลีย่ นโครงสร้าง/การบริหารการศึกษา (หมวด 5)
ปรับวิธีการลงทุน ระดมสรรพกาลังและ ICT
เพือ่ การศึกษา (หมวด 7, 8, 9)
ประกันคุณภาพการศึกษา (หมวด 6)
• ยกระดับคุณภาพบริการ
การศึกษา
Access
Quality
Equality
Equity
Effectiveness
• ยกระดับคุณภาพ
สถานศึกษา
ครู
ผูเ้ รียน
การเรียนการสอน
• ยกระดับคุณภาพคนไทย
บุคคลแห่งการเรียนรู ้
สังคมแห่งการเรียนรู ้
ICT , ปฏิรูปราชการ ปฏิรูปการศึกษา
มาตรฐานการศึึ กษาชาติ SBM
พันธกิจ
การพัฒนา
โรงเรียน
การพัฒนาทัง้ โรงเรียน
(WSA)
การพัฒนาตามสภาพจริง
(AD)
การวิจยั พัฒนา
(R & D)
การพัฒนาแบบมีส่วนรวม
(PD)
การพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์
(SD)
๑) กาหนดเป้ าประสงค์แบบมีส่วนร่วม
๒) วางแผนเชิงยุทธศาสตร์
๓) บริหารงบประมาณทีม่ ่งุ ผลงาน
๔) บริหารจัดการและประเมินผลแนวใหม่
๕) ทาหลักสูตร ร.ร.ทีเ่ น้นคุณภาพและบูรณาการ
๕) สอนและเรียนด้วยการวิจยั
๗) สร้างความโปร่งใสในการระดมทรัพยากร
๘) ประกันคุณภาพครบวงจร
๙) สร้างบุคลากรมืออาชีพ
๑๐) เติมปัญญาให้ชุมชน
๑๑) สร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์
๑๒) สร้างความยัง่ ยืนของการพัฒนา
กลยุทธ์หลัก
ความเป็ นนิติบุคคล, การเตรียมบุคลากร, โรงเรียนต้นแบบ,
ทรัพยากรทุน, QA (SSR)
SWOT
กลยุทธ์
โรงเรี ยนคุณภาพ
โรงเรี ยนปฏิ รูป
โรงเรี ยนที ่
หลากหลาย
รู ปแบบ
ผลสัมฤทธิ์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
ICT เพือ่ การบริหารจัดการศึกษา
ICT
เครือข่าย ICT
ห้ องปฏิบัติการ ICT
พัฒนาบุคลากร ICT
e - Learning
e - book
e - library
e - Management
e - Service
e - Education
e - Governmen
คากล่าว...ที่ไม่อยากให้ลืม....ก่อนจบ..
• ไม่ มีผู้บริหาร..เยีย่ ม..ในโรงเรียน..แย่
• ไม่ มีผู้บริหาร..แย่..ในโรงเรียน..เยีย่ ม
• ไม่ มีเทคโนโลยีใด...มาแทนครูได้
• อีก 10 ปี จะมีครูเทคโนโลยีมาแทนครูทไี่ ม่ ใช้
เทคโนโลยี
• หัวไม่ ส่าย...หางไม่ กระดิก
–ผู้บริหารคือผู้นาการเปลีย่ นแปลง
• เราจะร่ วมกัน......
...ปฏิรูปการศึกษารอบสอง
• ด้ วยหลักวิชาของวิชาชีพชั้นสู ง
• ด้ วยการทางานแบบมืออาชีพ
• โดยวัฒนธรรมที่เป็ นมาตรฐาน
• สู่ เป้ าหมายแห่ งความสาเร็จ
ด้วยความขอบค ุณ
ยินดี เต็มใจ
Have a Wonderful Time
Download