What is MI?

advertisement
Module 1
The Spirit of Motivational Interviewing
(MI Spirit)
Pilot Training of MI & MET
for AUD Curriculum
Thai Motivational Interviewing Network (TMIN)
What is Motivational
Interviewing (MI)?
Motivation
Definition:
Motivation is the driving force which causes us
to achieve goals.
Motivation (แรงจูงใจ) มาจากคาในภาษาละตินว่า
movere หมายถึง “เคลื่อนไหว” (move)
ซึง่ จะทาให้ เราไปสูเ่ ป้าหมายได้
Motivational Interviewing : MI
Definition:
Motivational interviewing is a directive,
client-centered counseling style for eliciting
behavior change by helping clients to explore
and resolve ambivalence.
Compared with nondirective counseling,
it is more focused and goal-directed.
Motivational Interviewing : MI
MI เป็ นการให้ การปรึกษา
 ยึดหลักผู้รับการปรึกษาเป็ นศูนย์กลาง เพื่อที่จะทาให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
 เป็ นการช่วยให้ ผ้ รู ับการปรึกษาสารวจและจัดการกับ
ความรู้สกึ ก ้ากึง่ ลังเลใจ (Ambivalence) ในการที่จะ
เปลี่ยนแปลงตัวเอง
 ผู้ให้ การปรึกษาแบบ MI จะเป็ นผู้ชกั จูงและชี ้นาให้ ผ้ รู ับ
การปรึกษาไปถึงเป้าหมายของเขา
Client-Centered
 Humanistic - Carl Rogers
- genuineness
 Unconditional positive regard - acceptance,
and caring, but not approval of all behavior
 Accurate empathic understanding - empathy,
understanding of client’s frame of refer ability
to deeply grasp the client’s subjective world
& communicate this to the client
 Congruence
การยึดผ้ ูป่วยเป็ นศูนย์ กลาง
 ยึดแนวทฤษฎี Humanistic ของ Carl Rogers
 ความสอดคล้ องเหมาะสม จริ งใจ
ของตัวผู้ให้ การปรึกษา
 การยอมรับอย่างไม่มีเงื่อนไข ยอมรับในสิง่ ที่เขาเป็ น
 การเห็นอกเห็นใจ เข้ าใจผู้รับการปรึกษาอย่างถูกต้ อง
ลึกซึ ้ง
Skills used in Client-Centered
ทักษะที่ใช้ ในหลักของการยึดผู้ป่วยเป็ นศูนย์ กลาง
 Verbal - non verbal communication (+)
ทักษะการสื่อสารที่ใช้ ภาษาพูดและไม่ใช้ ภาษาพูด
ที่เป็ นไปในทางบวก
 Reflective listening ทักษะการฟั งอย่างตังใจแล้
้
ว
สะท้ อนความ
 Summarizing ทักษะการสรุปความ
 Supportive ทักษะการให้ กาลังใจ
 อื่นๆ
การชีน้ าไปส่ ูเป้าหมาย
(Goal-Directed)
The goals of MI is to move the pertinent in the
direction of making a positive change.
เป้าหมายของ MI ก็คือ การชักนาผู้รับการปรึกษาให้
ไปสูท่ ิศทางของการเปลี่ยนแปลงตนเองในทางที่ดขี ึ ้น
MI แตกต่างจากแนวคิดของ Rogers เนื่องจาก Rogers
ไม่มงุ่ เน้ นที่การชี ้นาผู้ป่วย
The Spirit of MI (ลักษณะเด่ นของ MI)
Three components ประกอบด้ วย 3 องค์ ประกอบ
 Evocative / Elicit การกระตุ้นให้ เกิดความคิดและตอบ
เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ ไปสูเ่ ป้าหมาย
 Collaborative ร่ วมมือกับผู้รับการปรึกษาในการเข้ าใจ
รายละเอียด และสิ่งที่เขาเป็ นพร้ อมทังคิ
้ ดหาวิธีจดั การแก้ ไข
 Autonomy สนับสนุนและให้ อิสระแก่ผ้ รู ับการปรึกษาให้ คิด
และตัดสินใจด้ วยตัวของเขาเอง
ผู้ให้ การปรึกษาเป็ นเพียงผู้คอยเสริม
ให้ กาลังใจและชื่นชมในสิ่งทีถ่ ูกต้ อง
Self Perception Theory
(ทฤษฎีการรั บรู้ ตนเอง)
 เป็ นทฤษฎีที่นามาใช้ ใน MI
 Perception (การรับรู้ ) เป็ นการแปลความจากการได้ รับสัมผัส
สิ่งเร้ า อวัยวะรับสัมผัส สมอง (แปลความ) รับรู้
 “As I hear myself talk, I learn what I believe”
“หากฉันได้ ยินสิ่งที่ฉนั คุยกับตนเอง ฉันก็ได้ เรี ยนรู้ในสิ่งที่ฉนั เชื่อ”
 การได้ ยินสิ่งที่ตนเองพูด ทาให้ เข้ าใจว่า ตนเองคิดอย่างไร เชื่อ
อย่างไร อาจทาให้ เกิดการทบทวนตนเอง วิเคราะห์ข้อดีข้อเสีย
และมีความต้ องการอยากปรับเปลี่ยนถ้ าเป็ นข้ อเสีย
ทักษะที่ใช้ ประกอบทฤษฎีการรั บรู้ ตนเอง
 Verbal - non verbal communication (+)
ทักษะการสื่อสารที่ใช้ ภาษาพูดและไม่ใช้ ภาษาพูด
ที่เป็ นไปในทางบวก
 Reflective listening ทักษะการฟั งอย่างตังใจแล้
้
ว
สะท้ อนความ
 Summarizing ทักษะการสรุปความ
 Supportive ทักษะการให้ กาลังใจ
 อื่นๆ
การพัฒนาการรั บรู้ ตามทฤษฎีของ Piaget
 Assimilation รับรู้สงิ่ ใหม่เข้ ามา
 Accommodation ปรับขยายความคิดให้ มากขึ ้น
ประยุกต์ใช้ ให้ มีประโยชน์มากขึ ้น
 Adaptation นาความคิดความเข้ าใจไปใช้ ในการ
แก้ ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม
MI นามาประยุกต์ ว่า การรั บรู้ ตนเอง
จะก่ อให้ เกิดการพัฒนาตนเอง เปลี่ยนแปลงตนเอง
หรื อแก้ ปัญหาที่มีอยู่ให้ ดีขนึ ้ ได้
การรั บรู้ ตนเองตามแนวคิดของนักทฤษฎี
 Carl Rogers เชื่อว่ามนุษย์มีศก
ั ยภาพ มีความดีงาม
มีมโนภาพเกี่ยวกับตนเอง
 Frederick Solomon Peris นักจิตวิทยากลุม
่ เกสตอลท์
เชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติสาคัญหลายประการ เช่น
เมื่อเขาเกิดการรับรู้ เขาจะมีการตัดสินใจ
 เมื่อเขาเกิดการรับรู้ เขาจะรับผิดชอบตนเองอย่าง
มีประสิทธิภาพ
 เมื่อเขาเกิดการรับรู้ เขาจะมีแรงจูงใจพัฒนาชีวิต
ให้ เป็ นไปในทางที่ดีขึ ้น

Motivational interviewing
 Motivation to change is elicited from the client,
and not imposed from without.
กระตุ้นให้ ผ้ รู ับการปรึกษาเปลี่ยนแปลงตนเอง
 It is the client's task, not the counselor's,
to articulate and resolve his or her ambivalence.
ผู้รับการปรึกษาต้ องแก้ ไขความก ้ากึง่ ลังเลใจด้ วยตนเอง
Motivational interviewing
 Direct persuasion is not an effective method for
resolving ambivalence.
การชักชวนโดยตรงไม่ใช่วิธีการที่ได้ ผลในการแก้ ไข
ความก ้ากึง่ ลังเลใจ
 The counseling style is generally a quiet and
eliciting one.
รูปแบบการปรึกษาแบบ MI ควรเงียบและกระตุ้น
การชักชวนโดยตรง การเผชิญหน้ าและการโต้ แย้ ง
เป็ นทักษะที่ตรงข้ ามกับ MI
Motivational interviewing
 The counselor is directive in helping the client
to examine and resolve ambivalence.
ผู้ให้ การปรึกษาจะชี ้นา ช่วยเหลือให้ ผ้ รู ับการปรึกษา
ตรวจสอบหรื อแก้ ไขความก ้ากึง่ ลังเลของเขา
Motivational interviewing
 Readiness to change is not a client trait, but
a fluctuating product of interpersonal interaction.
ลักษณะผู้รับการปรึกษา ยังกลับไปกลับมา
ไม่พร้ อมจะเปลี่ยนแปลง ไม่ถึงกับต่อต้ าน
เป็ นเพียงเหมือนจะโต้ กลับ “พฤติกรรมเอาใจใส่ ”
ของผู้ให้ การปรึกษาผู้รับการปรึกษา
มักมองผู้ให้ การปรึกษาว่า
คาดหวังว่าจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนได้
Motivational interviewing
 The therapeutic relationship is more like a
partnership or companionship than
expert / recipient roles.
ความสัมพันธ์ของการรักษามีบทบาทของการร่วมกัน
แสดงความคิดเห็นมากกว่า ผู้รับการช่วยเหลือกับ
ผู้เชี่ยวชาญ
Summary
Motivational Interviewing is an interpersonal style,
not at all restricted to formal counseling settings.
It is a subtle balance of directive and
client–centered components.
MI ก็คือรูปแบบของแต่ละบุคคล
ไม่ใช่การปรึกษาที่มีรูปแบบตายตัวทังหมด
้
แต่เป็ นหลักของการชี ้นาและยึดผู้ป่วยเป็ นศูนย์กลาง
อย่างเหมาะสมชาญฉลาด
Download