SIMULATION in EDUCATION - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

advertisement
SIMULATION in EDUCATION
Educational Simulation
จะไม่มโี รงเรียนในช่วงสิ้นศตวรรษที่ 21 แล้วจริงหรือ
การเรียนในอนาคต ครูคอื ใคร สอนอะไร อย่างไร ใครเป็ นผูเ้ รียน
ชัน้ เรียนจะถูกจัดให้อยูใ่ นโลกแห่งความเสมือนจริง..ใช่หรือไม่
การเรียนรูใ้ นอนาคต จะแตกต่างอย่างไรกับวิธกี ารเรียนรูใ้ นปั จจุบนั
SIMULATION in EDUCATION
ความหมายและความสาคัญของ Simulation
รูปแบบของ Simulation ที่นามาใช้ในการเรียนการสอน
แนวคิดและทฤษฏีในการออกแบบ Simulation
คุณสมบัติบางประการของ Simulation
When Where Why and How to use simulation?
การวิจยั ทางด้าน Simulation
สรุป การนา Simulation มาใช้ในการเรียนรู ้
SIMULATION in EDUCATION
Simulation ในภาษาลาติน
คือ
Simula
• reproduction of feature of something
หมายถึง การทาหรือสร้างขึ้นมาใหม่นนั้ เป็ นการ
Production
of
ลอกเลียนแบบจากวัตถุ หรือเป็ นสิง่ ที่ถูกประดิษฐ์ข้ นึ
Educational
Simulation
โดยรวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการคานวณทางสถิติ
เพือ่ สร้างรูปแบบ (Model) ที่ใช้คุณลักษณะต่าง ๆ ของ
ปรากฏการณ์ ระบบ หรือขัน้ ตอน ซึง่ ต้องใช้
คอมพิวเตอร์ในการกาหนดข้อมูลและการแก้ไขปั ญหา
SIMULATION in EDUCATION
Educational Simulation
กลุ่มที่ 1
แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม
teach about something
กลุ่มที่ 2 teach how to do something
Tom Over, 2002
SIMULATION in EDUCATION
การจาลองทางกายภาพ (Physical simulations) อธิบายเนื้อหา
เกี่ยวกับสิ่ งต่าง ๆ ที่สามารถสังเกตเห็นหรื อมองเห็นได้อย่างชัดเจน
Flight Simulator Cockpit
SIMULATION in EDUCATION
Hong Kong airport
Boeing 737
SIMULATION in EDUCATION
Knowledge
Learner
Simulation
Attributes
Attributes
Attributes
Encoding, Representing,
and Using Knowledge
Knowledge, Learner and Simulation Attributes
ร่วมกันส่งผลต่อการเรียนรู ้
Alessi (2000)
SIMULATION in EDUCATION
แสดงความสั มพันธ์ ของ Fidelity กับการเรียนรู้ ของนักเรียนในระดับความสามารถที่แตกต่ างกัน
SIMULATION in EDUCATION
ความจาเป็ นในการนา Simulation มาใช้ งานทางการศึกษา
Costs of failure are high
Learners need individual training
Many people must be trained
Tasks are complex and time is short
Instructional strategy is learning by experimentation
Skills to be taught are subtle or the knowledge complex
Virtual reality is the practical reality
Learner motivation is an instructional challenge
Lewis,Stern and Linn (1993
กลุ่มตัวอย่างที่ทดลองเป็ นนักเรียนระดับเกรด 8 จานวน 148 คน
อายุ 12-14 ปี ที่กาลังเรียนวิชาฟิ สิกส์ ในเรือ่ งกลศาสตร์ของไหล
ผูเ้ รียนจะใช้เวลาเรียนประมาณ 8 สัปดาห์
การทดลองจาลองการทดลองทางวิทยาศาสตร์ดว้ ยคอมพิวเตอร์
จาลองสถานการณ์
SIMULATION in EDUCATION
ผลการทดลอง มีผลการเรียนรูห้ ลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง
สามารถอธิบายความแตกต่างในเรือ่ งการไหลเวียนของความร้อน
แยกแยะความแตกต่างและอธิบายแนวคิดของฉนวนและตัวนาได้
SIMULATION in EDUCATION
Edward (1997)
พัฒนาComputer-based Simulation of Laboratory experiment
การวิจยั ใช้การฝึ กปฏิบตั ิในห้องทดลอง เพือ่ ศึกษาความเกีย่ วข้อง
ระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็ นสองกลุ่ม
กลุ่มทดลอง เรียนด้วยคอมพิวเตอร์จาลองสถานการณ์ กลุ่มควบคุม
เรียนจากการทดลองจริง
พบว่าการจาลองสถานการณ์เป็ นประโยชน์และง่ายต่อการฝึ กแต่จะไม่มี
ผลอย่างเต็มที่เท่ากับการฝึ กจริงในสถานการณ์จริง จากการประเมินผล
พบว่าคะแนนสอบจากการวัดความรูก้ ่อนและหลังเรียน ระหว่างกลุ่มไม่
แตกต่างกัน แต่คะแนนสอบหลังจากการเรียน กลุ่มที่เรียนด้วย
Simulationได้คะแนนเฉลีย่ 16.0 กลุ่มควบคุมได้คะแนนเฉลีย่ 15.2
SIMULATION in EDUCATION
Denardo (1994
ศึกษาการจาลองสถานการณ์ในการสอนสถาปัตยกรรมภายในคอมพิวเตอร์
พื้นที่การสอนระดับอุดมศึกษา การวิจยั เน้นจุดเด่นที่หลากหลาย
รวมถึงการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยน, เจตคติ, การรับรู้ และระดับความสามารถที่
แตกต่างของผูเ้ รี ยน 3 กลุ่ม
ขณะที่ระดับการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนก่อนเรี ยนสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
แตกต่างกัน เมื่อทาการทดสอบหลังการเรี ยนปรากฎว่าไม่แตกต่างกัน
แสดงให้เห็นว่าการจาลองสถานการณ์มีผลอย่างมากในการทาให้ผเู ้ รี ยน
มีความเท่าเทียมกัน ไม่สนใจความไม่เท่าเทียมกันที่มีอยูก่ ่อน
เป็ นประโยชน์มากกับผูเ้ รี ยนที่มีความรู้นอ้ ย ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ได้มาก
SIMULATION in EDUCATION
Prof. Jianwei Zhang และคณะ(2000)
การใช้ Simulation เป็ นฐานของการเรี ยนวิทยาศาสตร์ที่อยูใ่ นลักษณะของ
การเรี ยนรู้แบบค้นพบ ซึ่งใช้การทดลองสนับสนุนด้านความสามารถ
ในการให้เหตุผล ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ลอยกับของจม
SIMULATION in EDUCATION
Prof. Jianwei Zhang และคณะ(2000)
SIMULATION in EDUCATION
Prof. Jianwei Zhang และคณะ(2000)
Interaction of ES and reasoning ability on the principle knowledge test
SIMULATION in EDUCATION
However, research has
shown that:
* Simulations are most suitable for
students who already have some
experience and a basic conceptual
framework.
* Not all students find simulations
meaningful.
* Simulations produce the largest gains
in student reasoning ability when used
in the classroom, rather than in
computer labs.
SIMULATION in EDUCATION
Conclusion
Are simulations useful?
SIMULATION in EDUCATION
อนาคตของ
simulation
SIMULATION in EDUCATION
อนาคตของ simulation
Simulation จะมีอยู่ต่อไป และมีการพัฒนาให้ เกิด
ประสิ ทธิภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ มากขึน้
Simulation จะนามาใช้ งานมากขึน้ ทางระบบ online, internet
SIMULATION in EDUCATION
อนาคตของ simulation
Simulation จะถูกนามาใช้ ในการเรียนการสอน
และฝึ กอบรมในสาขาวิชาทีห่ ลากหลายมากยิง่ ขึน้ ไปอีก
นอกเหนือจากการให้ ผู้เรียนสารวจและเรียนรู้ปรากฏการณ์
ทางวิทยาศาสตร์ ด้วยตนเองในชั้นเรียน
SIMULATION in EDUCATION
อนาคตของ simulation
Simulation จะถูกนามาใช้ ในการเรียนรู้และสร้ าง
ความเข้ าใจในเนือ้ หาและแนวคิดทีส่ ลับซับซ้ อน และเป็ น
นามธรรม มากยิง่ ขึน้ ไปอีก
SIMULATION in EDUCATION
Conclusion
Simulation cannot fully replace actual
"hands-on" laboratory activities, but in
conjunction with such activities
simulations can foster conceptual
change and promote the building of
student knowledge.
SIMULATION in EDUCATION
SIMULATION in EDUCATION
Why simulation based learning?
• Simulations are highly effective at
skills training
• Simulations offer a safe environment
for experiment ation
• Simulations support the transfer of
training into increased job
performance
SIMULATION in EDUCATION
Conclusion
Are simulations useful?
The answer is “Yes”.
With the correct support, resources and
strategies, simulations are powerful
educational tools
SIMULATION in EDUCATION
จุดอ่ อนของ Simulation
Simulation มีราคาสูง โดยเฉพาะที่ตอ้ งสร้างเป็ น
พิเศษขึ้นมาใหม่
การจัดประสบการณ์ใน simulation อาจไม่
ครบถ้วนเหมือนสถานการณ์จริ ง ผูเ้ รี ยนอาจไม่ได้รับ
ประสบการณ์ที่สมบูรณ์
SIMULATION in EDUCATION
การใช้ งาน
Simulation
SIMULATION in EDUCATION
การใช้ งาน Simulation จะต้ อง
พิจารณา...
ความพร้ อมของ ผู้เรียน ผู้สอน งบประมาณ
สถานที/่ เนือ้ ที่/ชั้นเรียน เครื่องมือ อุปกรณ์
SIMULATION in EDUCATION
SIMULATION in EDUCATION
SIMULATION in EDUCATION
ประเภทของ Simulation
SIMULATION in EDUCATION
Download